Anda di halaman 1dari 14

45

บทที่ 4
การจัดการขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

วิธีการจัดการขอมูลทางพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร นั้นมีหลายวิธี ซึ่งขึ้นอยูกับ


เครื่องมือและอุปกรณของหนวยงานนัน้ ๆ หรืองบประมาณที่สามารถจัดซื้อ ลักษณะของการใชงาน
และชนิดของขอมูลที่จะนําเขาดวย ชนิดของขอมูล ไดแก แผนที่ที่มีอยูแลว เอกสารจากการสํารวจ
ภาคสนาม เอกสารที่เขียนดวยมือ ภาพถายทางอากาศ และภาพถายจากรีโมตเซ็นซิง (Remotely
Sensing) ขอมูลจากการสํารวจภาคสนาม
การนําเขาขอมูล หมายถึง การกําหนดรหัสใหแกขอมูล แลวบันทึกขอมูลเหลานั้นลงใน
ฐานขอมูล การสรางขอมูลตัวเลขที่ปราศจากที่ความผิดพลาด (Errors) เปนงานสําคัญและซับซอน
มากที่สุด
การนําเขาขอมูล เปนองคประกอบที่มีหนาที่ในการแปลงขอมูลที่มีอยูใหสามารถนํามาใช
ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรได ดังกระบวนการตอไปนี้
1) การนําเขาขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data)
2) การนําเขาขอมูลลักษณะอรรถาธิบาย (Attribute Data)
การนําเขาขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data)
ขั้นตอนการนําเขาขอมูลเชิงพื้นที่สามารถทําไดหลายหลายวิธี แตวิธีทนี่ ิยมทํากันไดแก
การดิจิไทซ (Digitize) และการกวาดตรวจ (Scan) ซึ่งทั้ง 2 วิธีตางก็มขี อดี และขอดอยตางกันไป
กลาวคือการนําเขาขอมูลโดยวิธีกวาดตรวจจะมีความรวดเร็วและ ถูกตองมากกวาวิธีการเขาขอมูล
แผนที่โดยโตะดิจไิ ทซและเหมาะสําหรับงานที่มีปริมาณมาก แตการนําเขาขอมูลโดยการดิจิไทซจะ
สิ้นเปลืองคาใชจายนอยกวาและเหมาะสําหรับงานที่มีปริมาณนอย
การใชเครื่องอานพิกัด (Digitizer) เปนการแปลงขอมูลเขาสูระบบโดยนําแผนที่มาตรึงบน
โตะ และกําหนดจุดอางอิง (Control point) อยางนอยจํานวน 4 จุด แลวนําตัวชี้ตําแหนง (Cursor)
ลากไปตามเสนของรายละเอียดบนแผนที่

รูปที่ 36 แสดงการตรึงแผนทีบ่ นเครื่องดิจิไทต

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


46

การนําเขาผานเครื่องดิจิไทต เปนการเขียนรหัสและพิมพรหัสเขาแฟมคอมพิวเตอร ซึง่


จะตองใชเวลาและคาใชจายสูง เราสามารถใชเครื่องดิจิไทตในการกําหนดรหัส (X,Y) ใหแกจุด เสน
และพื้นที่ โดยเครื่อง Digitizer นี้ที่ภายในอาจจะเปนแบบเสนลวดเสนเล็กๆ สานตัดกันในแนวฉาก
เปนตารางกริด หรือชนิดทีใ่ ชเฟสคลื่นไฟฟา มีขนาดตั้งแต A4 นิ้ว ถึงขนาด A0 ทั้งแบบวางบนโตะ
หรือแบบมีขาตั้งในตัว โดยเครื่อง Digitizer นี้จะมีสายเชือ่ มตอจากตัวเครื่องไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร ทําใหสามารถอานคาพิกัดของจุดที่อยูบนกระดานหรือเครื่องดิจิไทต จากนั้นคาเหลานี้
จะถูกสงไปยังเครื่องคอมพิวเตอรผานทางอุปกรณ ที่เรียกวา "เมาส" (Mouse) หรือ "พัค" (Puck)
โดยในเมาสจะมีขดลวดฝงอยูในกลองพลาสติกซึ่งมีชองพรอมกับกากบาทซึ่งออกแบบเพื่อใหมี
ความถูกตองแมนยําสูงขึ้นในการกําหนดพิกัดของจุดจะถูกดิจิไทซดว ยการวางเสนกากบาทเหนือจุด
ที่ตองการแลวกดปุมบนเมาส

รูปที่ 37 แสดงขั้นตอนการแปลงคาพิกัดบนกระดานดิจิไทต

การใชเครื่องกวาดภาพ (Scanner) หรือสแกนเนอร เปนเครื่องมือที่ใชหลักการวัดความเขม


ของแสงที่สะทอนจากลายเสนบนแผนที่ ทําใหไดผลลัพธเปนจุดภาพ (Pixel) ที่มีคาความสวาง
แตกตางกัน ซึง่ จะเก็บขอมูลในรูปของแรสเตอร (Raster format) โดยทําการเก็บขอมูลในรูปของ
ตารางกริดสี่เหลี่ยม ซึ่งคาความคมชัดหรือความละเอียดในการสแกนมีหนวยวัดเปน DPI : Dot Per

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


47

Inch คา DPI ยิ่งมากแสดงวาภาพนัน้ มีความละเอียดในการสแกนสูง หลังจากที่ทําการสแกนแลว


จะไดขอมูลในรูปแบบของภาพในรูปแบบตาง ๆ เชน Tiff , Jpg, Bmp ,Png ,Gif เปนตน จากนั้นจึง
ใชซอฟตแวรที่ชวยในการแปลงขอมูลแรสเตอร ใหเปนขอมูลเวกเตอร ที่เรียกวา Raster to Vector
Conversion หลังจากนัน้ จะตองทําการบันทึกคาพิกดั หรือทําการแปลงคาพิกัดใหสามารถอางอิงได
บนพื้นผิวโลก โดยการกําหนดจุดควบคุม และใชจดุ ควบคุมเหลานี้ในการแปลงคาพิกดั จากขอมูลที่
ไดจากการสแกนมาเปนพิกดั ภูมิศาสตรหรือพิกัดกริดยูทีเอ็ม

รูปที่ 38 แสดงการสแกนภาพ
โดยทั่วไปแลวกอนที่จะนําแผนที่มาสแกน มักจะตองทําการคัดลอกเฉพาะขอมูลที่ตองการ
จะนําเขาเทานัน้ เพื่อประหยัดเวลาในการแกไขขอมูล เพราะการสแกนไมสามารถเลือกใหสแกน
เฉพาะสิ่งที่เราตองการได เชน มักมีชื่อถนนติดเขามาในการสแกน ทําใหตองเสียเวลาในการแกไข
หรือทําการลบชื่อ หรือขอมูลอื่นๆ ที่ไมตองการออกไป
การนําเขาขอมูลลักษณะอรรถาธิบาย (Attribute Data)
ขอมูลเชิงอรรถาธิบายที่ผานการจําแนก หรือการจัดกลุมแลว จะสามารถนําเขาสูระบบ
ฐานขอมูลผานทางแปนพิมพ (Keyboard) เขาสูระบบฐานขอมูลของซอฟตแวรทางระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร หรืออาจจะนําเขาขอมูลผานโปรแกรมจัดการฐานขอมูลแบบ Relational data
base ทั่วๆ ไปบนเครื่อง PC เชน Dbase, FoxPro, MS-Access หรือ MS-Excel หลังจากนั้นจึงทําการ
เชื่อมโยงขอมูลเขาสูระบบฐานขอมูลของซอฟตแวรทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
การนําเขาขอมูลอรรถาธิบายสูระบบคอมพิวเตอร มีสิ่งที่จะตองทําความรูจักดังนี้
- แฟมขอมูล (File) หมายถึงการนําเอาระเบียนแตละระเบียนของขอมูลชนิดเดียวกันจะสามารถ
นํามารวมกันเปน แฟมขอมูลหรือไฟล
- เขตขอมูล (Field) หมายถึงกลุมของตัวอักขระที่รวมกันขึ้นมานีว้ า เขตขอมูลหรือฟลด เชน
เขตขอมูล รหัสอําเภอ เขตขอมูล รหัสตําบล เปนตน
- ระเบียน (Record) หมายถึง การนําเขตขอมูลหลายเขตขอมูล มารวมกันเปนระเบียนหรือเร
คอรด เชนระเบียนนักศึกษา ประกอบดวยเขตขอมูลรหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา รหัสคณะ และรหัส
สาขาวิชา เปนตน

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


48

รูปที่ 39 แสดงตัวอยางเขตขอมูล ระเบียนขอมูล และแฟมขอมูล

ความสัมพันธของขอมูลในตาราง แบงไดออกเปน3 ชนิด คือ


1) ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง (A one to one relationship) หมายถึงในแตละแถวของเขต
ขอมูลที่หนึ่ง (Field 1) มีความสัมพันธกับแถวของเขตขอมูลที่สอง (Field 2) เพียงอันเดียว
เทานั้น เชนนิสิตหนึ่งคนมีอาจารยที่ปรึกษาไดเพียงหนึ่งคนเทานั้น

รูปที่ 40 แสดงความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง

2) ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหลาย (A one to many relationship) หมายถึงในแตละแถวของ


เขตขอมูลที่หนึ่ง (Field 1) มีความสัมพันธกับแถวของเขตขอมูลที่สอง (Field 2) มากกวา
หนึ่งอัน เชน อาจารยที่ปรึกษาหนึ่งคนมีนสิ ิตในที่ปรึกษาไดหลายคน

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


49

รูปที่ 41 แสดงความสัมพันธแบบหนึ่งตอหลาย

3) ความสัมพันธแบบหลายตอหลาย (A many to many relationship) หมายถึง ขอมูลของเขต


ขอมูลที่หนึ่ง (Field 1) มีความสัมพันธกับแถวของเขตขอมูลที่สอง (Field 2) มากกวา 1 อัน
และ เขตขอมูลที่สอง (Field 2) ก็มีความสัมพันธกับแถวของเขตขอมูลที่หนึ่ง (Field 1) ได
มากกวาหนึ่งอันเชนกัน เชน นิสิตลงทะเบียนไดหลายรหัสวิชาและรหัสวิชาก็รับนิสิตได
หลายๆ คน

รูปที่ 42 แสดงความสัมพันธแบบหลายตอหลาย

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


50

แบบจําลองฐานขอมูล (Database Models)


แบบจําลองฐานขอมูลเปนการจัดกลุมของโครงสรางทางแนวคิดที่ใชเปนตัวแทน
โครงสรางขอมูลและความสัมพันธขอมูลในฐานขอมูลแบงตามลักษณะของการใชงานไดเปน
• แบบจําลองเชิงสัมพันธ (Relational Database Model)
• แบบจําลองแบบลําดับชั้น (Hierarchical Database Model)
• แบบจําลองแบบเครือขาย (Network Database Model)

ฐานขอมูลแบบลําดับชัน้ (Hierarchical Database Model)


• เปนลักษณะของฐานขอมูลที่มีความสัมพันธของขอมูลเปนแบบ หนึ่งตอหนึ่ง หรือ หนึ่งตอ
กลุม แตจะไมมีความสัมพันธแบบกลุมตอกลุม
• ลักษณะโครงสรางของฐานขอมูลแบบลําดับขั้นตอน จะมีลักษณะคลายตนไม (Tree
Structure) โดยจะมีระเบียนที่อยูแถวบน เรียกวา ระเบียนพอแม (Parent Record) ระเบียน
ในแถวถัดมาเรียกวา ระเบียนลูก (child record) ซึ่งระเบียนพอแมสามารถมีลูกไดมากกวา 1
ระเบียน แตระเบียนลูกจะมีพอ แมได 1 ระเบียนเทานั้น ตัวอยางของฐานขอมูลแบบนี้ ไดแก
การขายสิ้นคาของพนักงานใหแกลูกคาแตละคน จะเห็นวาพนักงานขายแตละคนมีลูกคา
หลายคน และลูกคาแตละคนสามารถซื้อสิ้นคาไดหลายอยาง

แผนผังฐานขอมูลแบบลําดับชั้น

ลักษณะเดนฐานขอมูลแบบลําดับชัน้
• เปนระบบฐานขอมูลที่มีโครงสรางซับซอนนอยที่สุด
• มีคาใชจายในการจัดสรางฐานขอมูลนอย
เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ
51

• ลักษณะโครงสรางเขาใจงาย
• เหมาะสําหรับงานที่ตองการคนหาขอมูลแบบมีเงื่อนไขเปนลําดับ
• ปองกันระบบความลับของขอมูลไดดี เพราะตองอานแฟมที่เปนตนกําเนิดกอน

ฐานขอมูลแบบเครือขาย (Network Database Model)


• ขอมูลภายในฐานขอมูลชนิดนี้จะมีความสัมพันธแบบใดก็ได เชน หนึ่งตอหนึ่ง หนึ่งตอ
กลุม หรือ กลุมตอกลุม ก็ได
• ฐานขอมูลแบบเครือขาย (Network Data Model)โครงสรางของขอมูลมีความสัมพันธแบบ
รางแหตางจากแบบลําดับชั้นตรงที่เอ็นทิตีระดับลางสามารถเชื่อมโยงกับเอ็นทิตีระดับบน
ไดหลายๆ เอ็นทิตี

แผนผังฐานขอมูลแบบเครือขาย

ลักษณะเดนของฐานขอมูลแบบเครือขาย
• เหมาะสําหรับงานที่แฟมขอมูลมีความสัมพันธแบบเครือขาย
• มีโอกาสเกิดความซ้ําซอนของขอมูลนอยกวาแบบลําดับชั้น
• การคนหาขอมูลมีเงื่อนไขไดมากและกวางกวาแบบลําดับชั้น

ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database Model)


• จัดเก็บขอมูลในรูปแบบตาราง 2 มิติ คือ แถว(Row) และ คอลัมน (Column)
• ขอมูลในแตละ แถว เรียกวา Tuple
• ขอมูลในแตละ คอลัมน เรียกวา Attribute
• ตารางที่ใชเก็บขอมูล เรียกวา Relation

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


52

• ใชเขตขอมูล หรือ ฟลด (Field) ที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา แอททริบิวตี้ Attribute เปนตัวเชื่อม


ความสัมพันธระหวาง Relation

แผนผังฐานขอมูลเชิงสัมพันธ

คีย (KEY) คือ สิ่งที่ใชในการกําหนดความเปนเอกลักษณของแถวในความสัมพันธ ทําใหการเขาถึง


ขอมูลบนฐานขอมูลเปนไปไดอยางรวดเร็วทําใหสามารถแยกแยะขอมูลในฐานขอมูลใหเปนไป
อยางถูกตอง
• คียหลัก (Primary Key) คือ คียที่ใชในการอางถึง Entityในฐานขอมูลซึ่งจะตองไมมกี ารซ้ํา
• คียนอก (Foreign Key) คือ คียเดีย่ วหรือคียผ สม ซึ่งเปนคียทั่วไปของความสัมพันธหนึง่ แต
เปนคียหลักของอีกความสัมพันธหนึ่ง เปนตัวที่ใชในการเชื่อมตอระหวางความสัมพันธ

ลักษณะเดนของฐานขอมูลเชิงสัมพันธ
• เหมาะสําหรับงานเลือกดูขอมูลแบบหลายฟลดขอมูล
• ปองกันขอมูลถูกทําลายหรือแกไขไดดี
• การเลือกดูขอมูลทําไดงาย

ระบบการจัดการฐานขอมูล
Database Management System : DBMS หมายถึงซอฟตแวรที่ทําหนาทีเ่ ปนตัวกลาง
ระหวางผูใ ช และโปรแกรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของในการจัดการ การเรียกใชฐานขอมูล เชน
– MySQL/SQL
เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ
53

– Oracle
– Sybase
– Microsoft Access
การเลือก Database Management System
• ขึ้นกับขนาดของขอมูล
• จํานวนผูใชในระบบ
• ประสิทธิภาพของ DBMS (ความเร็วในการ
ประมวลผล)
• การเขากันไดของระบบที่ใชอยู ทั้งHardware
&OS
• ระบบรักษาความปลอดภัย
• ราคาของ DBMS

สวนประกอบ DBMS
ภาษา SQL (Structared Query Language) เปนภาษาที่มีรปู แบบเปนภาษาอังกฤษ งายตอการ
เรียนรูและการเขียนโปรแกรม เปนภาษาทีใ่ ชอยูใน DBMS หลายตัว มีความสามารถใชในการนิยาม
โครงสรางตารางภายในฐานขอมูล การจัดการขอมูล รวมไปถึงการควบคุมสิทธิการใชงาน
ฐานขอมูล SQL จะประกอบดวยภาษา 3 รูปแบบ คือ
– ภาษาคํานิยามของขอมูล (Data Definition Language : DDL)
– ภาษาการจัดการขอมูล (Data Manipulation Language : DML) เปนภาษาที่ใชในการจัดการ
ขอมูลภายในระบบฐานขอมูล
– ภาษาทีใ่ ชในการควบคุมขอมูล (Data Control Language : DCL) เปนภาษาที่ใชในการ
ควบคุมความถูกตองและความปลอดภัยของขอมูล
ภาษาสําหรับนิยามขอมูล (Data Definition Language)
• เปนภาษาที่ใชนิยามโครงสรางฐานขอมูล เพื่อทําการสราง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก
โครงสรางของฐานขอมูลตามที่ไดออกแบบไว โครงสรางของฐานขอมูล เรียกวา สคีมา
(Schema) DDL เปนภาษาทีใ่ ชในการสรางสคีมานั่นเอง
• ตัวอยางของภาษา DDL เชน
• คําสั่งการสราง (Create) ไดแก การสรางตาราง และ การสรางดัชนี
• คําสั่งเปลี่ยนโครงสรางตาราง (Alter)
• คําสั่งยกเลิก (Drop)ไดแก การยกเลิกโครงสรางตาราง , การยกเลิกโครงสรางดัชนี

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


54

ภาษาสําหรับจัดการขอมูล (DML)
DML เปนภาษาที่ใชจดั การขอมูลในตารางฐานขอมูล ตัวอยาง ภาษา DML เชน
• คําสั่งเรียกคนขอมูล (Select)
• คําสั่งเพิ่มระเบียนขอมูล (Insert)
• คําสั่งปรับปรุงระเบียนขอมูล (Update)
• คําสั่งลบระเบียนขอมูล (Delete)

ภาษาควบคุม (Control Language)


ภาษาควบคุมเปนภาษาทีใ่ ชควบคุมระบบรักษาความปลอดภัยของฐานขอมูล ประกอบดวยคําสั่ง 2
คําสั่ง ไดแก
• คําสั่ง Grant เปนคําสั่งที่ใชในการกําหนดสิทธ ใหกับผูใชแตละคนวามีสิทธในการ
ดําเนินการกับฐานขอมูลไดเพียงใด
• คําสั่ง Revoke จะเปนคําสั่งใหยกเลิกสิทธตาง ๆ ของผูใช

การออกแบบฐานขอมูล (Database Design)


วัตถุประสงคการออกแบบฐานขอมูล คือการสรางฐาน ขอมูลที่มีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนอง
ความตองการของผูใชงาน ซึ่งวิธีการออกแบบฐานขอมูล มี 2 วิธี คือ
1. วิธีอุปนัย
• การออกแบบฐานขอมูลจากลางขึ้นบน
• โดยการเก็บรวบรวมขอมูลหรือโปรแกรมที่มีการใชงานอยูแลวมาเชื่อมโยงเขาดวยกัน
2. วิธีนิรนัย
• การออกแบบฐานขอมูลจากบนลงลาง
• โดยการสัมภาษณ, รวบรวมเอกสารที่ใชภายในระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบฐานขอมูล
• การรวบรวมและวิเคราะหความตองการในการใชขอมูล
• การเลือกระบบจัดการฐานขอมูล
• การออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด
• การนําฐานขอมูลที่ออกแบบเขาสูระบบจัดการฐานขอมูล
• การออกแบบฐานขอมูลในระดับกายภาพ
• การนําฐานขอมูลไปใชและประเมินผล

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


55

ฟงกชนั่ หลักที่ตองมีในฐานขอมูล
ฟงกชั่นหลักไดแกการนําเขาหรือสรางขอมูล การจัดการขอมูลเชน การเรียงลําดับ แกไข
ลบ เพิ่มเติม รวมทั้งตองมีการจัดการและวิเคราะห แปลงรูปแบบขอมูล และสามารถเรียกคนขอมูล
เขียนโปรแกรมเพิ่มเติมได นอกจากนีฐ้ านขอมูลที่ดีจะตองมีการจัดทํา Metadata ไวดว ย

Metadata
Metadata หมายความถึงขอมูลที่บอกรายละเอียดของขอมูล หรือขอมูลที่ใชอธิบายขอมูล
ถาเราแปรขอมูลเหลานี้ใหเปนรูปดิจิตอลแลว ทุกสิ่งทุกอยางจะมีสภาพเหมือนกัน แยกไมคอยออก
วาอะไรเปนอะไร Metadata เปรียบเสมือนเปนปายหรือฉลากสําหรับอธิบายวาขอมูลแตละรายการ
คืออะไร โดยเราไมตองเสียเวลาเปดดูกอน (ตัวอยาง เชน กระปองนม ที่มีฉลากภายนอกบอกใหเรา
ทราบวา สิ่งที่บรรจุอยูในกระปองเปนนมผง หรือนมขนหวาน หรือนมสด ผลิตโดยโรงงานใด ผลิต
เมื่อไร หมดอายุเมื่อไร ราคาเทาไร และผลิตเพื่อผูบริโภคกลุมใด) เชนเดียวกัน ขอมูลที่อยูในรูป
ดิจิตอล ในระบบ GIS ก็เชนกันจําเปนตองมีการบอกถึงรายละเอียดของขอมูลเพื่อใหเราทราบวา
ขอมูลนี้ไดมาอยางไร ใชคาพิกัดแบบไหน ใครเปนผูจัดทํา เปนตน
GIS & Metadata
เนื่องจากการขยายตัวและความกาวหนาในการพัฒนาของเทคโนโลยี และ ระบบ
สารสนเทศมีเพิ่มมากขึ้น ทําใหจํานวนขอมูลนั้นถูกสรางขึ้นอยางมหาศาล มีขอมูลที่มากมาย
หลากหลาย และมีความซับซอนของขอมูลมากขึ้น จนใหยากตอการเขาใจหรือตีความขอมูลบาง
ชนิด ทําใหเปนเหตุผลหลักที่จะตองจัดทํา Metadata ของขอมูลในระบบ GIS เนื่องจากเปนระบบที่
มีการแบงปนขอมูล (Data Sharing) สามารถเลือกใชขอมูลที่ตองการได เพื่อใหผูใชขอมูลที่มี
ขอจํากัดดานทรัพยากร เวลา และงบประมาณ สามารถเขาถึงขอมูลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดย

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


56

ใชเวลานอยทีส่ ุด และประหยัดคาใชจายมากที่สุด โดยใช Metadata เปนตัวชวยในการเลือกใชขอมูล


ชนิดตางๆ ไดเปนอยางดี

เครื่องมือสําหรับจัดการ Metadata ในระบบGIS


• มีเครื่องมือในการจัดสราง Metadata จากตัวขอมูล GIS
• มีเครื่องมือในการตรวจสอบ โครงสราง หรือรายการตางๆ กับขอมูลในระบบ GIS ให
สอดคลองกับระบบมาตรฐานที่ใชงานกันทั่วไป
• มีเครื่องมือสําหรับสืบคนขอมูล Metadata ตามเงื่อนไขทีผ่ ูใชกําหนด
• มีเครื่องมือสําหรับการเผยแพร Metadata บนอินเตอรเน็ต และระบบเครือขายภายในองคกร

ตัวอยางของการแสดงรายละเอียดของ Metadata ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร แสดงอยู


ในตารางที่ 3

Data set Description


Title ชื่อเรื่องของชุดขอมูล
Reference Date ชวงเวลาอางอิงของชุดขอมูล (เริ่มทํา/ทําเสร็จ)
Usage การใชงานชุดขอมูล (ใชในโครงการ......)
Keywords คําสําคัญของชุดขอมูล
Maintenance การดูแลรักษาชุดขอมูล (ปรับปรุงทุก 3 ป)
Responsibility ผูรับผิดชอบชุดขอมูล
Geographic Location ตําแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตรของชุดขอมูล
Languages ภาษาของชุดขอมูล (ไทย/อังกฤษ)
Topic Category หัวขอการอธิบายชุดขอมูล
Spatial Resolution ความละเอียดของชุดขอมูล (มาตราสวน)
Quality คุณภาพชุดขอมูล (ขึ้นอยูกับความละเอียดของขอมูล)
Related Resources ทรัพยากรที่เกี่ยวของ (โฮมเพจ/เอกสารประกอบ)
Abstract describing the dataset บทคัดยอ
Distribution การเผยแพร (format ขอมูล ขนาดขอมูล)
Coordinate Reference System ระบบพิกัดอางอิง (Indian 1975 /WGS 84)
Lineage Statement ประวัติความเปนมา (ขอมูลนี้ไดมาอยางไร สํารวจ/ดิจิไทต/สแกน)
Metadata file (header) แฟมคําอธิบายขอมูล
ตารางที่ 3 แสดงขอมูล Metadata

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


57

การจัดการขอมูล (Data management) เปนองคประกอบที่มีหนาที่ในการจัดเก็บและแกไข


ขอมูลจากฐานขอมูล รวบทั้งการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลอีกดวย โดยมีวิธกี ารที่
หลากหลายในการจัดการและเชื่อมโยงขอมูล เพื่อสะดวกในการใชงานและการปรับปรุงขอมูล
การแกไขขอมูล (Data Editing) ขอมูลที่ผานการนําเขายอมตองมีขอผิดพลาดเกิดขึน้ เชน
ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดิจิไทตขอบเขตของรูปปดแตไมปด (Gap) หรือ ขอผิดพลาดที่
เกิดจากการลากเสนถนนไมบรรจบกัน(Undershoot) หรือลากออกไปเกิน (Overshoot) เปนตน ซึ่ง
การแกไขขอมูลเหลานี้ซอฟตแวรดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตรจะสามารถตรวจสอบไดวามี
ความผิดพลาดเกิดขึ้น ณ บริเวณใด โดยอาจจะแกไขใหโดยอัตโนมัติ หรือ อาจตองใชคนชวยในการ
แกไขเพื่อใหมคี วามถูกตองมากยิ่งขึ้น

รูปที่ 43 แสดงความผิดพลาดที่เกิดจากการดิจิไทตแบบตางๆ

สรุปความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการดิจิไทตมีดังนี้
-ลากเสนไมเชือ่ มตอกันที่จุดตอ
-ลากเสนเกินจุดตอหรือลากเสนไมถึงจุดตอ
-ลากเสนซ้ําซอนที่ตําแหนงเดิม
-ลืมบันทึกคาพิกัดของเสนหรือจุด
-ใหคาของขอมูลไมถูกตอง

การแสดงผลขอมูล (Data display) เปนองคประกอบที่มีหนาที่ในการนําเสนอผลลัพธที่ได


ตอผูใช ซึ่งอาจอยูในรูปแบบของแผนที่ ตาราง กราฟ หรือ คําบรรยาย และสามารถแสดงในรูปแบบ
สําเนาถาวร (Hard copy) เชน การแสดงผลผานทางเครื่องพิมพ (Printer) หรือเครื่องวาด (Plotter)

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


58

โดยการพิมพลงบนกระดาษ หรือ แผนฟลมสไลด หรือ อาจแสดงผลในรูปแบบสําเนาชั่วคราว (Soft


copy) เชน แสดงผลบนหนาจอคอมพิวเตอร หรือ แสดงผลในรูปของแฟมขอมูล (File) เปนตน
ขอมูลตาง ๆในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เมื่อทําการแสดงผลลงบนแผนที่ จะประกอบ
ไปดวยจุด เสน พื้นที่หรือรูปปด และ ตัวอักษร

- จุด (Point)

- เสน (line)

- พื้นที่ (Area หรือ Polygon)

- ตัวอักษร (Text)

สิ่งที่เราใชในการอธิบาย หรือใชแทนลักษณะของสิ่งที่ปรากฏ ไดแก สี ,สัญลักษณ,


ขอความบรรยาย, กราฟและตาราง

- สี (Color)

- สัญลักษณ (Symbol)

- ขอความบรรยาย (Annotation)

- กราฟ และ ตาราง (Chart and Table)

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ

Anda mungkin juga menyukai

  • Gis1 3
    Gis1 3
    Dokumen22 halaman
    Gis1 3
    Kasu_777
    Belum ada peringkat
  • Gis1 1
    Gis1 1
    Dokumen12 halaman
    Gis1 1
    Kasu_777
    Belum ada peringkat
  • Gis1 2
    Gis1 2
    Dokumen10 halaman
    Gis1 2
    Kasu_777
    Belum ada peringkat
  • Gis1 5
    Gis1 5
    Dokumen12 halaman
    Gis1 5
    Kasu_777
    100% (1)
  • Latex
    Latex
    Dokumen67 halaman
    Latex
    Pornthep Kamonpetch
    Belum ada peringkat