Anda di halaman 1dari 12

59

บทที่ 5
การวิเคราะหขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
การวิเคราะหขอ มูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรนั้น เปนการนําหลักการหรือวิธีการตางๆ
มาประยุกตใชในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูล หรือคาของขอมูลที่มีอยูใหสามารถนําไป
ผสมผสานกับขอมูลอื่นๆ ในขบวนการของการวิเคราะหขอมูล เพื่อความสะดวกรวดเร็วและความ
ถูกตองของผลลัพธที่ตองการไดดยี ิ่งขึ้น โดยทั่วไปแลวในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรนั้น จะตองมี
การจัดการขอมูล ประเมินขอมูล ปรับปรุงขอมูลใหมีความถูกตอง เพื่อสามารถนําขอมูลนั้นไปนํา
วิเคราะหได ซึง่ ซอฟตแวรดานระบบสารสนเทศที่มีขายกันอยูทั่วไปนั้นก็มีมีฟงกชันในการวิเคราะห
ในรูปแบบทีห่ ลากหลายแตกตางกัน ทําใหผูใชสามารถเลือกใชงานไดตามความตองการ แต
โดยทั่วไปสามารถจําแนกฟงกชันในการวิเคราะหขอมูลไดเปน 3 สวนหลัก ๆ คือ การวิเคราะห
ขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data analysis) การวิเคราะหขอ มูลอรรถาธิบาย (Attribute data analysis)
และการวิเคราะหขอมูลเชิงพืน้ ที่รวมกับขอมูลอรรถาธิบาย (Integrated Analysis of the Spatial and
Attribute Data)

การวิเคราะหขอ มูลเชิงพื้นที่ (Spatial data analysis) เปนการวิเคราะหขอมูล และประเมินความ


ถูกตองของขอมูลเชิงพื้นที่ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
-การแปลงเชิงเรขาคณิต (Geometric transformation) เปนการกําหนดคาพิกัดใหกับชั้น
ขอมูลที่อยูในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรใหสามารถอางอิงตําแหนง ซึง่ กันและกัน และสามารถ
ซอนทับกันไดกับชั้นขอมูลอื่นๆ ที่อยูในพืน้ ที่เดียวกันไดอยางสนิท สําหรับวิธีในการกําหนดคา
พิกัดหรือตําแหนงนัน้ สามารถทําได 2 วิธี คือ การใชตําแหนงสัมพัทธ เปนการกําหนดตําแหนงโดย
ใชตําแหนงของวัตถุเปนตัวอางอิง เชน สามแยก มุมอาคาร เปนตน และ การใชตําแหนงสมบูรณ คือ
ใชตําแหนงทีส่ ามารถอางอิงไดตามคาพิกดั ภูมิศาสตร หรืออางอิงดวยระบบพิกัดยูทีเอ็ม เปนตน
-การแปลงเสนโครงแผนที่ (Map projection transformation) เนื่องจากมีวิธีการแปลงจาก
รูปทรงกลมของโลกลงบนระนาบ อยูห ลายวิธี ทําใหผูใชตองเลือกเสนโครงแผนที่ที่มีอยู
หลากหลายนัน้ ใหเหมาะสมกับพื้นทีแ่ ละวัตถุประสงคของการทํางาน แตในการวิเคราะหขอมูลใน
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรจําเปนจะตองใชขอมูลที่มีเสนโครงแผนที่ชนิดเดียวกันเพื่อให
สามารถซอนทับกันไดสนิท ดังนั้นในการทํางานทุกครั้งจะตองตรวจสอบชั้นขอมูลวาใชเสนโครง
แผนที่ชนิดใด ถาเปนคนละชนิดกันจะตองมีการแปลงใหเสนโครงแผนที่เปนชนิดเดียวกันกอน
เสมอ

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


60

-การเกลี่ย (Conflation) เปนการทําใหวัตถุหรือรายละเอียดที่ปรากฏอยูบ นแผนที่ 2 แผน


สามารถทับกันไดสนิท ฟงกชันการเกลี่ยนี้เปนการลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากความผิดพลาดที่
เกิดขึ้นระหวางการนําเขาขอมูล หรือความแตกตางกันของตนฉบับของแผนที่ที่นําเขา ทําใหแผนที่
นั้นซอนทับกันไมสนิท สําหรับวิธีการเกลี่ยนั้นจะตองมีแผนที่ตนฉบับ เปนแผนที่ตงั้ ตน ที่จะใช
เปนมาตรฐานใหกับแผนที่แผนอื่นๆ ตอไป โดยแผนทีต่ ั้งตนนี้จะมีรายละเอียดพื้นฐาน เชน
ขอบเขตการปกครอง ถนน แมน้ํา เปนตน สวนแผนที่อื่นๆ ก็จะมีรายละเอียดเฉพาะเรื่องตาม
ตองการเพิ่มเขาไปจากแผนทีต่ ั้งตน ดังนัน้ เมื่อวางซอนทับกันก็จะมีรายละเอียดพื้นฐานทับกันสนิท
สวนรายละเอียดเฉพาะเรื่องก็จะไมทับกัน
-การเทียบขอบ (Edge matching) เปนกระบวนการในการปรับตําแหนงรายละเอียดของ
แผนที่ 2 ระวางที่อยูติดกันใหสามารถเชื่อมตอกันไดสนิท ซึ่งความผิดพลาดที่ทําใหแผนที่ 2 ระวาง
ที่อยูติดกันไมสามารถเชื่อมตอกันไดอาจเกิดจากการนําเขาหรือการผลิตแผนที่ในชวงเวลาตางกัน
หรือ อาจเกิดจากการยืดหดตัวของแผนที่
-การแกไขปจจัยทางภูมิศาสตร (Editing geographic element) เปนฟงกชั่นในการ เพิ่ม
(Add) ลบ (Delete) เคลื่อนยายตําแหนง (Move) ของรายละเอียดที่ปรากฏบนแผนที่ ซึ่งไมสามารถ
ทับกันสนิท เชน มีเศษแทรก (Silver) มีการนําเขาเกิน (Overshoot) การนําเขาขาด (Undershoot)
เปนตน

การวิเคราะหขอ มูลอรรถาธิบาย (Attribute data analysis) เปนการแกไขตรวจสอบ และวิเคราะห


ขอมูลเชิงคุณลักษณะที่อยูใ นฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ไดแก
-การแกไขขอมูลอรรถาธิบาย (Attribute editing) มีหนาที่ในการคนคืน พิจารณา และ
เปลี่ยนแปลงขอมูลอรรถาธิบาย ทั้งในการเพิ่มเติมขอมูลใหม และ ลบขอมูลเกา รวมทัง้ สามารถคน
คืนขอมูลอรรถาธิบายจากแฟมขอมูล (ตาราง) ไดอีกดวย
-การสอบถามขอมูลอรรถาธิบาย (Attribute querying)เปนการคนขอมูลที่อยูในแฟมขอมูล
(ตาราง) ตัวอยางเชน การหาพื้นที่ (Area) ที่มีขนาดมากกวา 10 ตารางเมตร หรือหาบอกุงที่มีความ
ยาวรอบบอ (Perimeter) มากกวา 5 ตารางเมตร หรือ การคนคืนขอมูลของดินที่มีหนวยของดิน(Soil
unit)เทากับ 5 เปนตน
-กระบวนการทางสถิติ (Attribute Statistic Function) เปนการคํานวณคาทางสถิติจาก
ตารางขอมูล เชน หาคาเฉลี่ย (Average) หาคากลาง (Mean), หาสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard
deviation), หาคาต่ําสุดและสูงสุด (Minimum, &Maximum) เปนตน

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


61

การวิเคราะหขอ มูลเชิงพื้นที่รวมกับขอมูลเชิงบรรยาย (Integrated Analysis of the Spatial and Non-


Spatial Data) เปนจุดเดนของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ที่ทําใหแตกตางจากระบบการทําแผนที่
อัตโนมัติ (Automatic Mapping หรือ Computer Aided Drafting System : AM/CAD) ซึ่งมี
รายละเอียดดังนี้
-การเรียกคนขอมูล การแบงกลุมขอมูล และการวัด ในกระบวนการนี้เปนการทํางาน
รวมกันกับขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงบรรยาย คือเมื่อเราทําการเปลี่ยนแปลงหรือดัดแปลงขอมูล
เชิงบรรยายแลว ทําใหตําแหนงที่ตั้งหรือขอมูลเชิงพื้นที่จะถูกสรางขึ้นมาใหมดว ย
1) การเรียกคนขอมูล (Data retrieval) เปนการคนคืนขอมูลจากฟงกชนั่ การคนหา(Search)
ซึ่งผลลัพธขอมูลจะไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใดๆ เลย การคนหาขอมูลสามารถแบงออกเปน
-การคนหาขอมูลมาตรฐาน (Standard Query Language-SQL)
-การคนหาทางเลือกจากฐานขอมูลโดยการใชพีชคณิตแบบบูลลีน (Boolean Algebra) เชน AND,
OR, NOR, NOT เปนตน
-การเรียกคนขอมูลจากการเลือกพื้นที่ที่ตองการ และแสดงผลลัพธที่ไดจากการสืบคนขอมูลใน
ตารางขอมูลอรรถาธิบาย ในแตละเรคอรดหรือผลลัพธทีไดจากการสอบถามจากแผนที่ที่ถูกเลือกใน
ฐานขอมูล
2) การแบงกลุมขอมูล (Classification) การแบงกลุมขอมูลอาจการจําแนกใหมหรือการให
รหัสใหม เพื่อเปนการกําหนดคาใหมใหกบั ขอมูลอรรถาธิบาย หรือ เปนการจัดกลุมขอมูลที่มี
ลักษณะคลายกันใหอยูดว ยกันและกําหนดเปนคาใหมขนึ้ มาเพื่อลดรายละเอียดของขอมูลใหนอยลง
เชน การจําแนกหนวยดินใหม หรือ การจําแนกประเภทการใชที่ดินใหม เปนตน โดยมีฟงกชั่นที่ใช
ดังนี้
• Reclassify การจัดกลุมขอมูลใหม โดยการใชขอมูลเชิงบรรยายอันใดอันหนึ่งหรือ
หลายอันรวมกัน เชน การจัดกลุมชุดดินโดยอาศัยชนิดของดินเทานัน้
• Dissolve การลบขอบเขตระหวางพืน้ ที่ที่เปนชนิดเดียวกันโดยการลบเสนรวม
ระหวางสอง โพลีกอน (Polygon)ที่เปนขอมูลกลุมเดียวกัน หรือขอมูลเชิงบรรยายที่
ถูกจัดกลุมใหเปนกลุมเดียวกัน
• Merge การรวมขอมูลพื้นที่เขาดวยกันใหเปนพื้นที่ขนาดใหญขึ้นโดยการใหรหัส
หรือคาใหมตามลําดับของเสนซึ่งมีขอบเขตเชื่อมตอกัน และใหคา ID ใหมทุกๆโพลี
กอน
3) การวางซอนทับขอมูล (Overlay Function) เปนการนําชั้นขอมูลตั้งแต 2 ชั้นขึ้นไปมาวาง
ซอนกัน แลวทําใหเกิดเปนชั้นขอมูลใหม 1 ชั้น โดยชั้นขอมูลใหมนี้จะมีทั้งขอมูลกราฟก(รูปหลาย

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


62

เหลี่ยมใหมๆ)และขอมูลอรรถาธิบายเกิดขึน้ (มีการเพิ่มเรคอรดและฟลดในตาราง) ซึ่งเปนการรวม


ขอมูลที่เกิดจากชั้นขอมูลตั้งตน โดยทัว่ ไปหลักการ ในการซอนทับขอมูล มีดังนี้
- การซอนทับขอมูลแผนที่จะอาศัยจุดพิกดั คารทีเซียน หรือที่รูจักกันวาพิกัดเอ็กซ วาย (x,y) และ
ขอมูลอรรถาธิบายจะถูกสรางขึ้นมาใหม หลังจากที่เราทําการ ซอนทับในระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร
- การซอนทับขอมูลดวยกระบวนการทางเลขคณิต (Arithmetic operation)เชน การบวก, ลบ,
คูณ, หาร ทางนิพจนตรรกะ (Logical Expression)เชน AND, OR, XOR เปนตน

Type In Theme Operated Theme Action


การทําพื้นที่กันชน ใชชั้นขอมูลเพียง 1 ชั้นขอมูล ไมมี ระบุระยะที่ตองการตีพื้นที่กันชน
(Buffer) One theme
การตัดขอมูลตามแบบ เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ปด พื้นที่รูปปด เลือกขอมูลที่เปนแบบเปน
(Clip) point line polygon polygon operated theme
การเชื่อมตอ/รวมแผนที่ เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ปด เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ เปนชั้นขอมูลที่อยูติดกันและมี
(Map join/Merge) point line polygon ปด point line polygon ชนิดขอมูลประเภทเดียวกัน
การละลายเสนรวม พื้นที่รูปปด ไมมี สามารถเลือก filed ที่ตองการ
(Dissolve) polygon นํามาใชละลายได
การขจัดขอมูล พื้นที่รูปปด พื้นที่รูปปด ตองเลือกกลุมขอมูลที่ตองการ
(Eliminate) polygon polygon ขจัดกอน
การลบขอมูล (Erase) เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ปด พื้นที่รูปปด ผลลัพธเปนขอมูลประเภท
point line polygon polygon เดียวกับ in theme
การปรับปรุงขอมูล พื้นที่รูปปด พื้นที่รูปปด ไมมีการสรางพื้นที่รูปปดใหมใน
(Update) polygon polygon บริเวณที่ซอนทับ
การหาระยะทางระหวาง เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ปด เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ ดูขอมูลใน Filed Distance
ขอมูล2ชั้นขอมูล (Near) point line polygon ปด point line polygon
การซอนทับขอมูลแบบ เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ปด พื้นที่รูปปด ยึดขอมูลตั้งตนเปนหลัก
ยึดขอมูลตั้งตนเปนหลัก point line polygon polygon สรางพื้นที่รูปปดใหมใน บริเวณที่
(Identity) ซอนทับกัน
การซอนทับขอมูลแบบ เปนไดทั้งจุด เสน พื้นที่ปด พื้นที่รูปปด เลือกเฉพาะสวนที่ทับกัน
เลือกเฉพาะสวนที่ทับกัน point line polygon polygon สรางพื้นที่รูปปดใหมใน บริเวณที่
(Intersect) ซอนทับกัน
การซอนทับขอมูลแบบ พื้นที่รูปปด พื้นที่รูปปด เลือกทั้งสองสวนมีการสรางพื้นที่
เลือกทั้งสองสวน polygon polygon รูปปดใหมใน บริเวณที่ซอนทับ
(Union) กัน

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


63

ตารางที่ 4 แสดงรูปแบบของการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis)

1. การหาแนวระยะหางพื้นที่กันชนดวยคําสั่ง Buffer –
คําสั่ง Buffer เปนการหาระยะทางใหหางจากรูปแบบภูมศิ าสตร (Features) ที่กําหนด โดยที่
การจัดทํา Buffer เปนการวิเคราะหพื้นทีเ่ พียง 1 Theme และเปนการสรางพื้นที่ลอมรอบ Graphic
Features (point, line and polygon) ของ 1 theme ที่ไดคัดเลือกไวบางสวน หากไมไดเลือกจะทํา
buffer ทั้ง theme ผลที่ไดรับคือ theme ใหม ที่มีขนาดความกวางของพืน้ ที่จากตําแหนงที่เลือก
เทากับขนาดของ Buffer ที่ไดกําหนดมีหนวยเปนเมตร

1 Kilometer

รูปที่ 44 การหาแนวระยะหางดวย Buffer

2. การตัดขอบเขตขอมูลตามแบบดวยคําสั่ง Clip
คําสั่ง Clip เปนการตัดขอมูลแผนที่ออกจาก Theme เปาหมาย (Theme to be clipped) .ให
ไดตาม แผนทีต่ นแบบ หรือพื้นที่ที่ใชตดั (Theme to clip)

รูปที่ 45 การตัดตามขอบเขตขอมูลดวยคําสัง่ Clip

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


64

3. การหาพื้นทีซ่ อนทับแบบ Union –


Union เปนฟงกชั่นทางคณิตศาสตรที่เกิดจากการสนใจในพื้นที่ของวัตถุที่ซอนกัน มากกวา
2 พื้นที่ โดยที่เปนการรวมแผนที่จํานวน 2 พื้นที่ขึ้นไปเขาดวยกัน โดยสรางขึ้นมาเปนแผนที่ชุดใหม

รูปที่ 46 การหาพื้นที่ซอนทับดวย Union

4. การหาพื้นทีซ่ อนทับแบบ Intersect


Intersect เปนฟงกชั่นในการซอนทับ (Overlay) ขอมูลระหวาง theme 2 themes โดย Theme
ผลลัพธ (Out-Theme) จะอยูใ นขอบเขตของพื้นที่ของทั้ง 2 theme (เลือกจากขอมูลทีท่ ับกันทั้ง 2
Theme) ทั้งนี้ in-theme เปนไดทั้ง point, line และ polygon สวน Intersect-Theme จะตองเปน
polygon เทานัน้

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


65

รูปที่ 47 การหาพื้นที่ซอนทับแบบ Intersect

5. การหาพื้นทีซ่ อนทับขอมูลแบบ Identity –


Identity เปนฟงกชั่นในการซอนทับ (Overlay) ขอมูลเชิงพื้นที่ 2 themes โดยยึดขอบเขต
ของแผนที่ตนฉบับ (In-Theme) เปนหลัก โดยผลลัพธที่ไดจะรักษาขอมูลเชิงคุณลักษณะของทั้ง 2
themes เขาไวดวยกันแตจะยึดรูปรางตามแผนที่ตนฉบับ ซึ่งขอมูลจากแผนที่ตนฉบับ (In-Theme)
เปนไดทั้ง point, line, polygon และ multi-point แต identity-theme จะตองเปนเฉพาะ polygon
theme เทานั้น

รูปที่ 48 การหาพื้นที่ซอนทับแบบ Identity

6. การเชื่อมตอขอมูลแผนทีด่ วย MapJoin และ Merge


คําสั่ง Mapjoin และ Merge เปนการรวม Graphic Features จากหลาย theme เขาเปน
Theme เดียว Mapjoin สามารถดําเนินการทั้งขอมูลที่เปน point, line และ polygon เพื่อเปนการ
เชื่อมตอแผนที่ที่มีพิกัดภูมิศาสตรอยูในพืน้ ที่ใกลเคียงกัน หรือเชื่อมตอกัน

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


66

รูปที่ 49 การเชื่อมตอขอมูลแผนที่ MapJoin และ Merge

7. การรวมขอบเขตขอมูลดวย Dissolve –
Dissolve ใชฟง กชันนี้เพื่อรวมขอมูลพื้นที่ (polygon) ที่มีขอมูลคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
(Attribute) ที่เหมือนกันและอยูติดกันเขาดวยกัน เพื่อลดความซ้ําซอนของ Theme ใหนอยลง ซึ่งเปน
การเอาเสนขอบเขตของพื้นที่ที่มีคาเหมือนกันในหนึ่งหรือหลาย Fields ออกไป

รูปที่ 50 การรวมขอบเขตขอมูลดวย Dissolve

8. การลบแลวรวมขอมูลดวยEliminate-
Eliminate เปนคําสั่งที่ใชรวม Polygon ที่ไดถูกเลือกไวแลว (เชน Polygon ที่มีขนาดเล็ก)
โดยการเรียกคน (Query) หรือเลือกโดยตรง จาก Polygon ขางเคียง จากนั้นทําการลบสวนของ
Polygon ที่ถูกเลือก โดยสวนใหญใชในการลบขอมูลที่ไดจากการจําแนกประเภทการใชที่ดิน

รูปที่ 51 การลบแลวรวมขอมูลดวยEliminate

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


67

9. การลบขอมูลดวย Erase Cover


การลบขอมูลจากแผนที่ (Graphic feature) จากแผนที่ที่ตงั้ ตน (in-theme) โดยการใชอีก
แผนที่หนึ่งเปนแมแบบหรือแมพิมพ (operate-theme) ที่มีพื้นที่ซึ่งซอนทับกัน อาจเปน Polygon,
line, point คลายกับการ Clip แตการ Erase cover เปนการเหลือขอมูลที่อยูนอก operate-theme

รูปที่ 52 การลบขอมูลดวย Erase Cover

10. การปรับแกขอมูลพื้นที่บางสวน Update


เปนการแทนทีพ่ ื้นที่ใน Theme หนึ่งโดย Theme อื่นๆ โดยการซอนทับระหวาง in-Theme
กับ Update-theme (เฉพาะขอมูลที่เปนพื้นที่ polygon) out-theme จะประกอบดวย Field ทั้งหมดของ
2 Theme ซึ่งคําสั่ง Update นีจ้ ะตางจาก Union ตรงที่ไมมีการสราง polygon ใหมในบริเวณที่มกี าร
ซอนทับกันของขอมูล in theme กับ operate theme จึงเปรียบเสมือนการวางซอนกับขอมูลเดิม

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


68

รูปที่ 53 การปรับแกขอมูลพื้นที่บางสวน Update

11. การหาระยะทางระหวางขอมูลของ 2 Themes ดวยคําสั่ง Near


Near เปนคําสั่งที่ใชในการคํานวณระยะทางจากแตละ Feature ใน 1 theme ไปยัง feature ที่ใกลที่สุด
ใน Theme อื่น (ไมสามารถเลือก Feature เปาหมายได) ระยะทางจะถูกบันทึกไวใน field ชื่อ
Distance

รูปที่ 54 การหาระยะทางระหวางขอมูลของ 2 Themes ดวยคําสั่ง Near

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


69

เอกสารอางอิง
ภาษาไทย
สรรคใจ กลิ่นดาว. 2542. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร: หลักการเบื้องตน. สํานักพิมพ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ
ธวัช บุรีรักษ และ บัญชา คูเจริญไพบูลย. การแปลความหมายในแผนที่และภาพถายทาง
อากาศ. สํานักพิมพอักษรวัฒนา
สมพร สงาวงศ. 2543. รีโมทเซนซิงเบื้องตน. ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ฉัตรชัย พงศประยูร การตัง้ ถิ่นฐานมนุษย ทฤษฎีและแนวปฏิบัต.ิ โรงพิมพ จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย 2536 , 232 หนา
รอยโท ศรายุทธ อยูสําราญ วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543
วรเดช จันทรศร และ สมบัติ อยูเมือง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรในการบริหารภาครัฐ.
หางหุนสวนจํากัด สหายบล็อกและการพิมพ 2545, 181 หนา
ศรีสอาด ตั้งประเสริฐ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการประเมินคาทรัพยากรที่ดนิ .
โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว 2537, 395 หนา
สุวิทย วิบูลยเศรษฐและไพบูลย เรืองศิริ “เทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอม” เอกสารสรุปผลการประชุมทางวิชาการ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. นครราชสีมา เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2540 หนา 238 - 239
สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม,
"จากหวงอวกาศสูพื้นแผนดินไทยฉบับยอ" , 2538
เอกสารแนะนําจีพีเอส, บริษทั อีเอสอารไอ (ประเทศไทย)จํากัด

ภาษาอังกฤษ
Bruce Davis,1996. Reprinted from : GIS A Visual Approach

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ


70

Graeme F Bonham-Carter , 2002. Geographic Information Systems for Geoscientists:


Modelling with GIS, 398 p
International Institute for Aerospace Survey and Earth Sciences. 2001. Principles of
Geographic Information Systems- An introductory textbook. ITC, Enschede, The Netherlands.
Michael F Worboys ,1997. GIS A Computing Perspective , Taylor&Francis Publishers,
375p
Yue-Hong Chou ,1997. Exploring Spatial Analysis in Geographic Information Systems,
OnWord Press, 474 p

ขอมูลออนไลน
http://www.colorado.edu/geography/gcraft/notes/mapproj/mapproj.html
http://www.gis2me.com
http://www.gisthai.org
http://www.en.rit.ac.th/cpe/project/GPS/chapter2.html
http://www.esri.com
http://www.tiac.or.th/tiacthai/Dublin/metadata.htm
http://www.watleo.uwaterloo.ca/~piwowar/geog255/Geog255.html

เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 451453 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร I อ.สุจิตรา เจริญหิรัญยิ่งยศ

Anda mungkin juga menyukai