Anda di halaman 1dari 37

หัวใจพุทธศาสนา

หัวใจพุทธศาสนาคืออะไร วากันไปหลายอยาง ถูกทั้งนั้น อันไหนก็ได


พระพุทธเจาทรงแสดงหลักการที่เรียกกันวา " หัวใจพระพุทธศาสนา " เปนคําไทยที่เราพูดกันงาย ๆ
ถาพูดเปนภาษาบาลีคือ " โอวาทปาฎิโมกข "
หลักที่ถือวาเปนหัวใจพระพุทธศาสนา คือคําไทยที่สรุปพุทธพจนงาย ๆ สั้น ๆ วา
" เวนชั่ว ทําดี ทําใจใหบริสุทธิ์ "
ภาษาพระ หรือ ภาษาบาลีวา
" สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสปู สมฺปทา
สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธานสาสนํ "
แปลใหเต็มเลยวา " การไมทําความชั่วทั้งปวง การทําความดีใหเพรียบพรอม การชําระจิตของตน
ใหบริสุทธิ์ผองใส นี้เปนคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย "
คําลงทายวา " นี้เปนคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย " ทําใหเราคิดวานี่แหละเปนคําสรุป แสดงวา
เนื้อแทของพระพุทธศาสนาอยูที่นี่ เราก็เลยเรียกวา " หัวใจ " มาเปนจุดเริ่มตน
แตกระนั้นชาวพุทธผูไดฟงพระสอนมามาก ๆ พระอาจารยหรือพระเถระผูใหญบางทาน พูดถึง
หลักการอื่นวา อันโนนสิ อันนี้สิ เปนหัวใจพระพุทธศาสนา บางทีโยมก็ชักงง จึงขอยกเอาเรื่องนี้มาพูดวา
อะไรกันแนที่เรียกวาเปน หัวใจพระพุทธศาสนา
บางทานบอกวา " อริยสัจสี่ " เปนหัวใจพระพุทธศาสนา เพราะวาคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหมด
รวมอยูในอริยสัจสี่
เมื่อพระพุทธเจาตรัสรูแลว เสด็จไปแสดงปฐมเทศนา พระธรรมจักกัปปวัตตนสูตร
….พระองคตรัสพุทธพจนตอนหนึ่ง มีความวา ตราบใดที่เรายังไม ( จตูสุ อริยสจฺเจสุ ติปริวฎฎํ ทวาทสา
การํ ยถาภูตํ ญาณทสฺสนํ ) มีญาณทัศนะที่มีปริวัฎ ๓ มีอาการ ๑๒ ในอริยสัจสี่ เราก็ยังปฏิญาณไมไดวา
ไดตรัสรู ตอเมื่อเรามีญาณทัศนะนั้น จึงปฏิญาณไดวา ตรัสรู หมายความวา ตรัสรูอ ริยสัจสีค่ รบ ๓ ดาน
คือรูวาคืออะไร แลวก็รูวาหนาที่ตออริยสัจสี่แตละอยางนั้นคืออะไร และรูวาไดทําหนาที่ตออริยสัจนั้นแลว
เวียนไปทุกขอเรียกวา ๓ ปริวัฎ อธิบายวา รูในอริยสัจสี่แตละอยางเริ่มตั้งแตรูวาทุกขคืออะไร เราจะตอง
ทําอะไรตอทุกข แลวก็รูวาหนาที่ตอทุกขนั้นเราไดทําแลว ถายังไมรูอริยสัจดวยญาณทัศนะครบทั้ง ๓ ในแต
ละอยาง (รวมทั้งหมดเปน ๑๒ เรียกวามีอาการ ๑๒) ก็ยังไมสามารถปฏิญาณวาไดตรัสรูเปนสัมมา
สัมพุทธะ
ตอเมื่อไดตรัสรูอริยสัจ โดยมีญาณในอริยสัจแตละขอครบทั้ง ๓ รวมเปน ๑๒ จึงปฏิญาณไดวา
เปนสัมมาสัมพุทธะ
เปนอันวา พระพุทธเจาตรัสรูอ ริยสัจสี่ และการตรัสรูอริยสัจสี่ทําใหเปนพระพุทธเจา อริยสัจสี่จึง
เปนหัวใจของพระพุทธศาสนา
บางทานไปจับเอาที่พระไตรปฎกอีกตอนหนึ่ง ซึ่งพระพุทธเจาตรัสไวกระทัดรัดมากวา
" ปุพฺเพจาหํ ภิกฺขเว เอตรหิ จ ทุกขฺเจว ปฺญาเปมิ ทุกขสฺส จ นิโรธํ " ภิกษุทั้งหลายทั้งในกาล
กอนแลบัดนี้ เราบัญญัติแตทุกขและความดับทุกขเทานั้น ถาจับตรงนี้ก็แสดงวาพระพุทธเจาทรงสอน
ทั้งหมดนั้น หลักการของพระพุทธศาสนาก็มีเทานี้ คือ ทุกขและความดับทุกข
ทานพุทธทาสกลาวถึงหลักอีกขอหนึ่งใหถือวาเปนหัวใจพระพุทธศาสนา คือ
" สพฺเพ ธฺมมา นาลํ อภินเิ วสาย " แปลวา " ธรรมทั้งปวง ไมควรยึดมั่น " คําวา " นาลํ "
แปลวาไมควร หรือ ไมอาจ ไมสามารถ คําวา " ไมควร " ในที่นี้หมายความวา เราไมอาจไปยึดมั่นมันได
เพราะมันจะไมเปนไปตามใจเราแนนอน เมื่อมันไมอาจจะยึดมัน่ เราก็ไมควรจะยึดมั่นมัน อันนี้ทานถือวา
เปนหัวใจพระพุทธศาสนา เมื่อไดพังอยางนี้ ก็ทําใหเราสงสัยกันวาจะเอาหลักอันไหนดีเปนหัวใจ
พระพุทธศาสนา ก็เลยขอใหความเห็นวาอันไหนก็ได

แตตองระวัง อันไหนก็ได จะทําใหพุทธศาสนางอนแงน


ชาวพุทธตองมีหลักที่แนชัด ใหปฏิบัติเด็ดแนวเปนหนึ่งเดียว
แตการพูดวา " อันไหนก็ได " ก็ไมดีเหมือนกัน เพราะทําใหชาวพุทธเหมือนวาไมมีอะไรลงตัว
แนนอน แลวกลายเปนคนที่เอาอยางไรก็ได โงนเงนงอนแงน หรือ แกวงไปแกวงมา เหมือนไมมีหลัก
ก็จะกลายเปนไมไดเรื่อง เราตองชัดเจนวา ที่อันไหนก็ไดนั้น ทั้งหมดคืออันเดียวกัน เพราะการพูดถึงหลัก
คําสอนเหลานี้นั้น เปนการพูดโดยจับแงมุมตาง ๆ กันของคําสอน ซึ่งทั้งหมดอยูในระบบเดียวกัน โยงถึงกัน
มีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
ถาพูดวาหัวใจพระพุทธศาสนาคือ " เวนชั่ว ทําดี ทําใจใหผองใส " หัวใจที่วานี้เปนหลักในเชิง
ปฏิบัติเปนเรื่องการดําเนินชีวิตวา เราจะไมทําชั่ว ทําดี และทําใจใหผองใส
ทีนี้ลองไปดูหลักอริยสัจสี่ ซึ่งมี ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค จะเห็นวาขอที่ ๔ คือ " มรรค "
เปนขอปฏิบัติ
มรรคมีองค ๘ มีสมั มาทิฏฐิเปนตน และสัมมาสมาธิเปนขอสุดทาย องคทั้ง ๘ นี้ ก็จาํ ยาก จึงยอ
งาย ๆ เหลือ ๓ เทานั้น คือ ศีล สมาธิ ปญญา
ศีล คือ เวนชั่ว สมาธิ คือ ทําความดีใหถึงพรอม ปญญา คือ ชําระจิตใจใหผองใส พอ
แยกแยะอยางนี้แลวก็เห็นวา เวนชั่ว ทําดี ทําใจใหบริสุทธิ์ ที่วาเปนหัวใจพระพุทธศาสนา นั้น ก็อยูใน
มรรค นี่เองเปนอริยสัจ ขอที่ ๔ คือ ขอสุดทาย
ทุกข คือตัวปญหา เปนสิ่งที่เราไมเอา ยังไมตองปฏิบัติ เราตองรูใหชัดวาอะไรเปนปญหาที่เรา
จะตองพนไป สมุทัย คือตัวเหตุแหงทุกข ตองสืบสาวใหรูตามหลักความจริงที่เปนไปตามเหตุปจจัยวา
ทุกขเกิดจากเหตุ และเหตุนั้นคืออะไร เหตุนั้นเรารูวาจะตองกําจัด แตเรายังไมไดทําอะไร จากนั้นเราก็รูวา
เมื่อกําจัดเหตุแหงทุกขได เราจะเขาถึงจุดหมายคือ นิโรธ แตทั้งหมดนี้จะสําเร็จไดดวยการลงมือทําในขอ
สุดทายคือ มรรค ฉะนั้น ทุกข สมุทัย นิโรธ สามอยางนี้เราเขาใจวามันคืออะไร เราจะตองทําอะไรตอมัน แต
เราปฏิบัติมันไมได สิ่งที่จะปฏิบัติไดคือ ขอที่ ๔ ไดแก มรรค เมื่อเราปฏิบัติตาม มรรค เราก็กําจัด สมุทัย
แกเหตุแหงทุกขไดเราก็พนทุกข หมดปญหา และเราก็บรรลุนโิ รธ เขาถึงจุดหมายไดสามารถทําใหสําเร็จ
งานสําหรับ ๓ ขอแรกทั้งหมด เปนอันวา สิ่งที่เราตองปฏิบัติมีอยูขอเดียวคือ ขอ ๔ แตเราตองรู ๓ ขอ
ขางตนดวย
ถึงตอนนี้กลับไปดูหลัก เวนชั่ว ทําดี ทําใจใหบริสทุ ธิ์ จะเห็นวาเปนหลักในภาคปฏิบัติทั้งหมด
ของพระพุทธศาสนา ซึ่งอยูใน มรรค คือ ขอที่ ๔ ของอริยสัจ เพราะมรรคเปนฝายลงมือทํา ลงมือ
ปฏิบัติ ในแงของหลักความจริงตามสภาวะวาเปนอยางไร จุดหมายคืออยางไร ก็อยูในขอ ๑ - ๒ - ๓ ของ
อริยสัจ
เพราะฉะนั้น อริยสัจ กวางกวาและครอบคลุมหลัก เวนชั่ว ทําดี ทําใจใหบริสุทธิ์ดวย สําหรับชาว
พุทธทั่วไป เริ่มตนก็ใหเห็นกอนวาจะปฏิบัติอะไร เมื่อปฏิบัติไปไดระดับหนึ่งก็จะตองรูหลักความจริงทั่วไป
ดวย มิฉะนั้นการปฏิบัติก็ไปไมตลอด ถึงตอนนั้นตองรูหลักอริยสัจสี่
อยาลืมวา ไดหลักแนชัดแลวนะ เริ่มดวย " เวนชั่ว ทําดี ทําใจใหบริสุทธิ์ผองใส " นี่แหละเปนหัวใจ
พระพุทธศาสนาไวกอน แลวกาวตอไปใหครบ อริยสัจทั้ง ๔ ใหไดจึงจะเปนชาวพุทธที่แทจริงและสมบูรณ

วากันไป กี่หลักกี่หัวใจ ในที่สุดก็หลักใหญเดียวกัน


ทีนี้ลองเทียบหลักอื่นอีก พระพุทธเจาตรัสไว " ทั้งในกาลกอนและบัดนี้ เราบัญญัติแตทุกขและ
ความดับทุกขเทานั้น " อันนี้คือ อริยสัจ ๔ แบบสั้นที่สุด ยอเปน ๒ คู คือ
ทุกข และ สมุทัย เหตุแหงทุกข อันนี้ ๑ คู
นิโรธ ความดับทุกข และ มรรค ทางใหถึงความดับทุกขก็ ๑ คู
ยังมีอีก คือเมื่อพระพุทธเจาตรัสรูแลว ตอนจะออกประกาศพระพุทธศาสนา พระองคทรงพระดําริ
ซึ่งมีความตอนนี้ในพระไตรปฎกบอกวา " อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม " ธรรมทีเ่ ราบรรลุน้ี ทุรนุโพโธ เปน
ของที่รูตามไดยาก กลาวคือ หนึ่ง …. อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท สอง….. นิพพาน แลวพระองคก็ตรัส
เลาตอไปวา พระองคทรงดําริวา หมูสัตวทั้งหลาย มักหลงระเริงกันอยูในสิ่งที่ลอใหติด ยากที่จะเขาใจ
หลักการทั้ง ๒ นี้ จึงนอมพระทัยไปในทางที่จะไมทรงสั่งสอน
แตถาเราโยงดูก็บอกไดวาสาระไมไปไหน ที่แทก็อันเดียวกันนัน่ แหละ อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท
เปนเรื่องทุกขและสมุทัย แทนที่จะจับที่ปรากฏการณคือ ทุกข ก็จับที่กระบวนการของกฎธรรมชาติ เริ่มที่
ขอสมุทัย ดูเหตุปจจัยที่เปนไปจนปรากฏทุกขเปนผลขึ้น จึงรวมทั้งขอทุกขและสมุทัย ดังจะเห็นไดวาเวลา
ตรัส ปฏิจจสมุปบาท พระพุทธเจาทรงสรุปวา " เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนธสฺส สมุทโย โหติ "
แปลวา " สมุทัย คือการเกิดขึ้นพรอมแหงทุกข จึงมีดวยประการฉะนี้ " หมายความวา จากความเปนไป
ตามกระบวนการของกฎธรรมชาติน้ี จึงเกิดมีทุกขขึ้น
เพราะฉะนั้น ขอวา อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท ก็คือตรัสเรื่อง ทุกข และ สมุทัย
จากนั้นอีกอยางที่ตรัสไว คือ นิพพาน ซึ่งก็คือขอนิโรธ ซี่งเราจะตองบรรลุถึงดวยการปฏิบัติตามมรรค การ
ที่จะบรรลุนิพพานที่เปนจุดมุงหมาย ก็เรียกรอง หรือ เปนเงื่อนไขอยูในตัวใหตองปฏิบัติตามมรรค ดังนั้น
การตรัสถึง นิพพาน คือขอนิโรธ ก็โยงเอามรรคเขามาพวงไวดวย
พูดใหลึกลงไป ขอแรก อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท ก็คือ สังขตธรรม พรอมทั้งกระบวนความ
เปนไปของมันทั้งหมด สวนขอหลัง นิพพาน ก็คือ อสังขตธรรม ที่พนไปจากสังขตธรรม นั้น
อริยสัจนั้นเปนวิธีพูด หรือ วิธีแสดงกฎธรรมชาติในแงที่เกี่ยวของกับมนุษยที่จะนําไปใชประโยชนใน
การดําเนินชีวิต หรือ แกปญหาชีวิตของตน พระพุทธเจาตรัสวางไวในรูปที่ใชการไดเรียกวา ทุกข สมุทัย
นิโรธ มรรค แตความจริงในกฎธรรมชาติก็คือ อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท และสภาวะที่เปนจุดหมาย
คือ นิพพาน ก็มีเทานี้ เพราะฉะนั้นจึงบอกวา ไมไปไหน
สวนอีกหลักหนึ่งคือ " สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินเิ วสาย " แปลวา ธรรมทั้งปวงไมควรยึดมั่น
คือ เราไมอาจจะยึดมั่นถือมั่นไวได เปนการสรุปหัวใจของการปฏิบัติที่โยงไปหาความจริงของธรรมชาติ หรือ
สภาวธรรม วา สิ่งทั้งหลายหรือปรากฏการณทั้งหลายทั้งปวง หรือสิ่งที่แวดลอมชีวิตของเรา หรืออะไรก็
ตามที่เราเกี่ยวของ มันไมไดอยูใตอํานาจความปรารถนาของเรา แตมนั เปนไปตามกฎธรรมชาติ เปนไปตาม
เหตุปจจัย หรือ มีอยูดํารงอยูตามสภาวะของมัน เพราะฉะนั้นเราจึงไมสามารถยึดมั่นถือมั่นมันได เรา
จะตองวางใจปฏิบัติตอมันใหถูก
หลักนี้เปนการโยงธรรมดาธรรมชาติหรือความเปนจริงของสิ่งทั้งหลาย มาสูทาทีปฏิบัติของมนุษย
ตอสิ่งเหลานั้น ซึ่งรวมสาระสําคัญวา เราตองรูทันวาสิ่งเหลานี้มันไมเปนไปตามใจปรารถนาของเรานะ มัน
เปนไปตามเหตุปจจัยของมัน เราจะไปยึดมั่นถือมั่นตามใจของเราไมได แตตองปฏิบัติดวยปญญา คือดวย
ความรูเทาทันและใหตรงตามเหตุปจจัย เมื่อละความยึดมั่นไดก็สงบเย็น นิพพาน คือขอนิโรธ
ตกลงวา การกลาวถึง หัวใจพระพุทธศาสนา กันหลายแบบหลายแนวนั้น ทั้งหมดก็เปนอันเดียวกัน
ซึ่งในที่สุดหลักใหญที่ครอบคลุม ก็คือ อริยสัจสี่ นี่แหละ ไมไปไหน
ที่พูดมาในตอนนี้ทั้งหมด ก็เปนการแยกแยะและเชื่อมโยงใหเห็นชัดเจนลงไปวา หลักหัวใจ
พระพุทธศาสนา ที่พูดกันหลายอยางนั้น ที่จริงก็อันเดียวกัน ตางกันโดยวิธีพูดเทานั้น และขอย้ําวา
อยามัวพูดวา อยางนั้นก็ได อยางนี้ก็ได ขอใหจับหลักลงไปใหชัด และปฏิบัติใหมั่นใหเด็ดเดี่ยวแน
ลงไป อยางที่วาแลวขางตน
อริยสัจ คือ ธรรมที่นําเสนอเปนระบบปฏิบัติการ
ใหมนุษยบริหารประโยชนจากความจริงของธรรมชาติ
อริยสัจนั้น แทจริงเปนหลักของเหตุและผล ธรรมดาเราจะพูดเหตุกอนแลวจึงพูดถูกผลใชไหม ให
สังเกตวาพระพุทธเจากลับทรงยก ผล ขึ้นแสดงกอน แลวแสดง ผล ทีหลัง ทําไมจึงเปนเชนนั้น
ตามปกติพระพุทธเจาก็ตรัสเหตุกอนผล แตในกรณีนี้กลับแสดงผลกอนเหตุ เพราะเปนเรื่องวิธีสอน
ซึ่งตองเริ่มดวยสิ่งที่มองเห็นอยู เริ่มที่ปญหากอน โดยชี้ปญหาวาเปนอยางนั้นอยางนี้ ทําความเขาใจปญหา
แลวจึงคนหาสาเหตุ เสร็จแลวชี้ถึงจุดมุงหมาย หรือ สิ่งที่ตองการ แลวบอกวิธีปฏิบัติที่จะใหเขาถึงจุดหมาย
วิธีสอนอยางนี้เปนที่เราใจดวย พอพูดถึงปญหาโดยเฉพาะปญหาของตัวเอง หรือปญหาที่เกี่ยวกระทบถึงตัว
คนก็สนใจอยากจะรู อยากจะแกปญหานั้น แลวจึงสืบวาปญหานี้เกิดจากเหตุอะไร เมื่ออยากกําจัดเหตุ
แลว พอพูดถึงจุดหมายวาดีอยางไร คนก็อยากจะไปถึงจุดหมายนั้น แลวจึงบอกวิธีปฏิบัติ ถาเราไปบอกวิธี
ปฏิบัติกอน วิธีปฏิบัติอาจยากมาก คนก็ทอใจ ไมอยากทํา ไมอยากไป แตถาชี้จุดหมายใหเห็นวาดีอยางไร
ใจเขาจะใฝปรารถนา ยิ่งเห็นวาดีเทาไร ประเสริฐอยางไร เขายิ่งอยากไปและเต็มใจที่จะทํา เราจึงคอยบอก
วิธีปฏิบัติ ตอนนี้เขาสนใจ ตั้งใจเต็มที่แลว เขายินดีพรอมที่จะทําสุดแรงของเขา
ในการปลุกระดมก็ใชวิธีนี้จึงจะไดผล แมจะไมสุจริต เขามุงแตจะใหสําเร็จ เพราะเปนวิธีที่ไดผลคือ
ตอนตนพูดชี้ปญหากอน….. " เวลานี้มันแย มีปญหาทั้งนั้น มีความยากจน มีความเดือนรอน อะไร ๆ ก็ไมดี
มันเลวรายอยางนั้น ๆ " ถาจะปลุกระดมตองชี้เรื่องที่ไมดีใหเห็นออกมาชัด ๆ วาเยอะแยะไปหมด รายแรง
อยางไร ชี้ทุกขใหชัดกอนวานาเกลียดนากลัวรายแรงจนคนไมพอใจมาก อยากจะแกไข ทีนี้ก็ชี้สาเหตุวา นี่
ตัวการ ตัวรายอยูนี่ เปนเหตุใหเกิดปญหา ถึงตอนนี้คนก็กาวไปอีกขั้นหนึ่ง ใจก็เกิดพลัง เกิดความตื่นเตน
เกิดเรี่ยวแรงกําลังขึ้นมาวาตองจัดการ กําจัดมันละนะ เราเห็นตัวการแลว พอคนกระหายอยากจะจัดการ
แลว ก็ชี้เปาหมาย จุดหมายนั้นตองชี้ใหเห็นเดนชัดวาดีที่สุด ใจคนก็พุงเปาพรอมเต็มที่ พอบอกวิธีปฏิบัติวา
" ตองทําอยางนี้ ๆ ๆ ๆ " ตอนนี้วิธีปฏิบัติถึงจะยากก็ไมกลัวแลว ไมวา จะยากอยางไร ก็เอาทั้งนั้น ระดมกําลัง
เต็มที่ มรรคมาไดเลย
รวมความวา อริยสัจเปนหลักที่เชื่อม ระหวางความจริงของธรรมชาติ กับปฏิบัติการของมนุษย

ถึงจะเลาเรียนจบหลัก ถาไมรูจักหนาที่ตออริยสัจ ก็ปฏิบัตไิ มถูก และไมมที างบรรลุธรรม


เราจะรูอริยสัจอยางเดียวไมได ตองรูหนาที่อริยสัจและปฏิบัติหนาที่ตออริยสัจใหสําเร็จดวย การ
เรียนอริยสัจโดยไมรูหนาที่ตออริยสัจอาจจะทําใหเขาใจสับสน
พระพุทธเจาตรัสกิจ หรือ หนาที่ตออริยสัจสี่ไวครบถวนแลวแตละอยาง ๆ
๑. หนาทึ่ตอทุกข คือ " ปริญญา " แปลวา กําหนดรู รูเทาทัน จับตัวมันใหได
พระพุทธเจาตรัสวา " ทุกขัง ปริญเญยยัง " ภาษาพระแปลกันวา " กําหนดรู " ทุกขนั้นเปนสิ่งที่จะตอง
รูเทาทัน ปริญเญยยัง เปนคุณศัพท ถาใชเปนคํานามก็เปน ปริญญา เปนชื่อของการสําเร็จการศึกษา
ทุกขนั้นเปนตัวปญหา เปนปรากฏการณ ทานเปรียบเหมือนกับ " โรค " ในทางรางกายของเรา เมื่อเรามีโรค
เราก็จะแกไขบําบัดหรือกําจัดโรค แตพอเอาเขาจริง เรากําจัดโรคไมได เราตองเรียนรูจักโรค เหมือนหมอจะ
แกไขโรค ตองกําหนดรูใหไดวา เปนโรคอะไร เปนที่ไหนตรงไหน และรูรางกายซึ่งเปนที่ตั้งของโรคดวย
ทํานองเดียวกัน ทุกข จึงไมใชเรียนเฉพาะปญหา แตเรียนชีวิตซึ่งเปนที่ตั้งแหงปญหาดวย ปญหาเกิดที่
ไหน มันเกิดที่ชีวิต หรือ เกิดในโลก เราก็ตองรูจักโลก รูจักชีวิตและดูที่ชีวติ (นามรูป / ขันธ ๕ )
๒. หนาที่ตอ สมุทัย คือ " ปหานะ " แปลวา ละ หรือ กําจัด พอรูโรควาเปนโรคอะไร จับไดแลว
ตองสืบหาสาเหตุของโรค ตองจับใหได เหมือนกับแพทยที่วินิจฉัยโรคใหได สืบหาตัวสาเหตุของโรค อาจจะ
เปนเชื้อโรค หรือ ความบกพรองของอวัยวะ ไมใชเชื้อโรคอยางเดียว เมื่อมีโรคก็ตองมี สมุฏฐาน หรือ
สมุทัย นี่แหละเปนตัวที่ตองแกไข หรือ กําจัด
๓. หนาที่ตอ นิโรธ เรียกวา " สัจฉิกิริยา " แปลวา ทําใหประจักษแจง คือ บรรลุถึงนั่นเอง เรา
ตองมีเปาหมายวาเราจะเอาอะไร และทําไดแคไหน จุดหมายอะไรที่ตองการ กําหนดใหไดและรูความ
เปนไปไดในการแกไข คนที่ไมมีความชัดเจนวาตองการอะไร มีความเปนไปไดอยางไร ก็จะทําอะไรไม
สําเร็จ แพทยก็ตองวางเปาหมายในการรักษาโรควาเปนไปไดแคไหน เอาอะไรเปนจุดหมายในการรักษา
แลวทําใหได ใหบรรลุจดุ หมายนั้น
๔. หนาที่ตอ มรรค เรียกวา " ภาวนา " แปลวา บําเพ็ญ คือ ปฏิบัติ ลงมือทํา ทําใหเกิด ทําให
มีขึ้น พอวางเปาหมายเสร็จก็มาถึงขั้นลงมือปฏิบัติ จะผาตัดใหยา และใหคนไขปฏิบัติตัวบริหารรางกาย
อยางไร วิธีรักษาทั้งหมดมาอยูในขอ ๔ คือ มรรค เปนขั้นที่ตองลงมือทํา ซึ่งเปนเรื่องใหญมีรายละเอียด
มากมาย
เพราะฉะนั้น อริยสัจสี่ จึงเปนวิธีการวิทยาศาสตร จะใชในการสอนก็ได ในการรักษาโรคก็ได
แพทยก็ใชวิธีการนี้
สรุปความวา พระพุทธศาสนาสอนเรื่องทุกขไวสําหรับปญญารู แตสอนเรื่องสุขสําหรับใหเรามีชีวิต
เปนจริงอยางนั้น พูดอยางสั้นวา พุทธศาสนาสอนใหรูทันทุกข และใหการอยูเปนสุข หรือใหสั้นกวานั้น
อีกวา พุทธศาสนาสอนใหเห็นทุกข แตใหเปนสุข คือ ทุกขสําหรับเห็น แตสุขสําหรับเปน
เพราะฉะนั้น ตองมองพระพุทธศาสนาวาเปนศาสนาแหงความสุข ไมใชศาสนาแหงความทุกข
แกนแทของพระพุทธศาสนา

เพราะไดพูดแลววา อริยสัจสี่ครอบคลุมหลักการของพระพุทธศาสนาทั้งหมด ไมวาจะเปน


• หลัก " เวนชั่ว ทําดี ทําใจใหบริสุทธิ์ "
• หลัก " ธรรมทั้งปวงไมควรยึดมั่นถือมั่น "
• หลัก " เราบัญญัติแตทุกขและความดับทุกข " หรือ
• หลัก " อิปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท กับ นิพพาน "
ทุกหลักรวมอยูในหลักอริยสัจสี่ ทั้งนั้น
ขอย้าํ วา " อริยสัจสี่ " คือหลักที่โยงความจริงในธรรมชาติมาสูการใชประโยชนของมนุษย เพราะ
ลําพังกฎธรรมชาติเอง ตามธรรมดาถาเราไมรวู ิธีปฏิบัติ ไมรูจุดเริ่มตน ไมรูลําดับ เราก็สับสน
พระพุทธเจาทรงตองการใหเราไดประโยชนจากกฎธรรมชาติโดยสะดวก จึงนํามาจัดรูป ตั้งแบบ
วางระบบไวให เรียกวา อริยสัจสี่ โดยลําดับใหเห็นชัดเจน เปนทั้งวิธีสอน วิธีแกปญหา และวิธีลงมือทํา
เมื่อทําตามหลักอริยสัจสี่ ความจริงของธรรมดาที่ยาก ก็เลยงายไปหมด

ความจริงมีอยูตามธรรมดา พระพุทธเจามีปญญา ก็มาคนพบและเปดเผย


จุดเริ่มตนนี้ชัดอยูแลวในพุทธพจนวา " อุปปฺ าทา วา ภิกขฺ เว ตถาคตานํ อนุปปฺาทา วา ตถาคตานํ
ฐิตา ว สา ธาตุ …." มีเนือ้ ความวา " ตถาคตคือพระพุทธเจา จะเกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้นก็ตาม ความจริงก็
คงอยูเปนกฎธรรมดา เปนความแนนอนของธรรมชาติ วาดังนี้ ๆ "
นี่คือการมองความจริงตามแบบของพระพุทธศาสนา พุทธพจนนี้เปนหลักพื้นฐาน เราควรเริ่มตน
ดวยหลักนี้ นั่นคือพระพุทธศาสนามองสิ่งทั้งหลายเปนเรื่องของธรรมชาติและกฎธรรมชาติ เปนความจริงที่
เปนอยูอยางนั้นตามธรรมดาของมัน ไมเกี่ยวกับการเกิดขึ้นของพระพุทธเจา
ในพุทธพจนนี้ พระพุทธเจาตรัสตอไปวา " ตถาคตมารูความจริง คนพบความจริงนี้แลว จึงบอก
กลาว เปดเผย แสดง ชี้แจง ทําใหงาย วาดังนี้ ๆ " พุทธพจนนบ้ี อกฐานะของพระศาสดาวา ฐานะของ
พระพุทธเจา คือผูคนพบความจริง แลวนําจริงนั้นมาเปดเผย แสดงใหปรากฏ พระพุทธเจาไมใชเปนผู
บัญญัติ หรือเปนผูสราง ผูบันดาลขึ้นมาจากความไมมี พระองคเพียงแตแสดงความจริงที่มีอยู การที่
พระองคบําเพ็ญบารมีทั้งหลายเพือ่ ตรัสรูเขาถึงความจริงที่มีอยูเปนธรรมดาตลอดเวลา ไมมีใครเสกสรรค
บันดาล ( ไมมีผูสราง เพราะถามีผูสราง ก็ตองมีผูที่สรางนั้น ถามีผูสรางมีไดเอง ก็แนนอนวา สภาวธรรม ก็
มีอยูไดโดยไมตองมีผูสราง ) มันไมอยูใตอํานาจบังคับบัญชาของใคร ไมมีใครบิดผันเปลี่ยนแปลงมันได
ผูใดมีปญญาจึงจะรูเขาใจและใชประโยชนมันได
เพราะฉะนั้น การรูความจริงของธรรมชาติจึงเปนเรื่องสําคัญยิ่ง เราก็จะปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลายได
ถูกตองเหมือนในทางวิทยาศาสตรฝายวัตถุ ที่คนพบความจริงคือกฎธรรมชาติบางอยาง เมื่อคนพบแลวก็
นําเอากฎธรรมชาติสวนนั้นมาใชทําอะไรตาง ๆ ได เชน การสรางสิ่งประดิษฐตาง ๆ ตั้งแตเรือกลไฟ
รถยนต รถไฟ เรือบิน คอมพิวเตอร ทางวิทยาศาสตรเอาแตความจริงในโลกวัตถุ สวนพระพุทธศาสนามอง
ความจริงของโลกและชีวิตทั้งหมดวาเปนเรื่องของธรรมชาติที่มีอยูและเปนไปตามธรรมดา เมือ่ พระพุทธเจา
มาคนพบแลวก็ทรงทําใหเขาใจงายขึ้นโดยวิธีจุดรูปรางระบบแบบแผนใหเรียนรูไดสะดวกและวางเปน
กฎเกณฑตาง ๆ นี่คือการจับเอาหลักความจริงทั้งหลายมาจัดเปนระบบขึ้นเพื่อใหงายตอความเขาใจของ
เรา
ทีนี้ความจริงของสิ่งทั้งหลาย หรือ กฎธรรมชาติเปน อนิจจัง ไมเที่ยง ไมคงที่ เกิดแลวดับไป
เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา เปน ทุกขัง คงอยูในสภาพเดิมไมได และเปน อนัตตา ไมเปนตัวตนของใครที่จะ
ไปสั่งบังคับใหเปนไปตามปรารถนาได เราจะยึดถือครอบครองไมได เพราะมันเปนไปตามเหตุปจจัยของมัน
หรือดํารงอยูตามสภาวะของมัน แตแทจริงแลวตัวตนอยางนั้นไมมี มีแตเพียงภาพปรากฎชั่วคราว สวนตัว
จริงที่อยูเบื้องหลังคือกระบวนการแหงความสัมพันธกันของสิ่งทั้งหลายที่คืบเคลื่อนไปเรื่อย ๆ ภาพตัวตนที่
ปรากฏนั้นก็จะเปลี่ยนแปลงไป
ดังนั้นตัวตนที่แทยั่งยืนตายตัวที่จะยึดถือครอบครองบังคับบัญชาอะไร ๆ ได จึงไมมี
( คําวา อัตตา คือตัวตนที่เที่ยงแทยั่งยืนตายตัวตลอดไป ) มีแตภาพรวมของปรากฏการณที่เกิดจาก
ความสัมพันธของสิ่งทั้งหลายในกระบวนการของมัน เรียกวาเปนเพียง สภาวธรรม ไมเปนตัวตนของใคร
นี้คือความเปนจริงของกฎธรรมชาติ ซึ่งพระพุทธเจาไดทรงสอนเรื่อง " ไตรลักษณ " เปนหลักที่เดน
วาสิ่งทั้งหลายนี้ อนิจฺจํ ไมเที่ยง เกิดขึ้นแลวดับหาย มีความเปลี่ยนแปลง ทุกฺขํ คงอยูในสภาพเดิมไมได
อยูในภาวะขัดแยง ถาเราไปเกี่ยวของดวยความอยาก มันก็ฝนความปรารถนา แลวก็ อนตฺตา ไมเปน
ตัวตนของใครได ใครจะยึดถือครอบครองสั่งบังคับไมได เพราะมันเปนไปตามเหตุปจจัยของมัน หรือ ดํารง
อยูตามสภาวะของมัน

เมื่อคนไมรูทันความจริงของธรรม เขาก็นําทุกขในธรรมชาติมาสรางใหเปนทุกขของ
ตน
สําหรับ ทุกฺขํ ในไตรลักษณนี้ เรามักมองคําวาทุกขเปนความเจ็บปวด ที่จริงทุกขเปนสภาพตาม
ธรรมดาของสิ่งทั้งหลาย หรือ สภาวะตามธรรมชาติ คืออาการที่สิ่งทั้งหลายไมสามารถคงอยูในสภาพเดิม
บางทีแปลวา stress หรือ confict คือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุปจจัย หรือ องคประกอบ
ตาง ๆ ที่เกิดดับบีบคั้นขัดแยงกันอยูตลอดเวลา แลวทุกขก็เปนภาพรวมที่เกิดจากความสัมพันธระหวางสิ่ง
เหลานั้น เมื่อองคประกอบแตละอยางเกิดขึ้นดับไป เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา องครวมนั้นไมสามารถคง
สภาพเดิมได เกิดการขัดแยงเปนความกดดันภายในแลวคงอยูไมได
สภาพที่ขัดแยง ฝน กดดัน คงอยูไ มไดทั้งหมดนี้ เรียกวา " ทุกข " ซึ่งเปนสภาวะธรรมชาติในสิ่ง
ทั้งหลาย เมื่อเราใชศัพทนี้กับภาวะในใจคน มีความหมายวา เปนภาวะที่จิตถูกกดดันบีบคั้น ก็มี
ความหมายคลาย ๆ กับทุกขในใจเรา คือภาวะที่ถูกบีบคั้น กดดัน ขัดแยง ไมสบาย ทนไมไหว ที่นี้ในสิ่ง
ทั้งหลายทุกขคือภาวะที่ตองผันแปรเปลี่ยน เกิดความขัดแยง กดดัน ทนอยูไมได
สวน อนตฺตา คือไมเปนตัวตนที่ยั่งยืนมั่นคงตลอดไป เปนเพียงภาพรวมของปรากฏการณแหง
กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงนั้น
เรื่องนี้ทํานองเดียวกับกฎทางวิทยาศาสตร ซึ่งมีอยูตามธรรมดาในธรรมชาติ ไมวาใครจะรูหรือไม
ใครมีปญญาสามารถคนพบแลวเอามาบอกกัน เรื่อง อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา พระพุทธเจาตรัสวาเปนความจริง
ที่มีอยูตามธรรมดาของมัน ไมเกี่ยวกับพระพุทธเจาจะเกิดหรือไมเกิด พระพุทธเจาทรงเปนผูมาคนพบ
เปดเผย อธิบาย วางเปนระบบไว ตรงนี้แหละมาโยงกับอริยสัจ คือสิ่งทั้งหลายทั้งโลกรวมทั้งชีวิตคนเรา
เปนไปตามกฎธรรมชาติ มีความไมเที่ยง เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีความกดดันขัดแยงภายใน
คงสภาพเดิมไมได เปนไปตามเหตุปจจัยที่สัมพันธกัน อยางรางกายเรานี้ก็เปลี่ยนไป ตอนเปนเด็กหนาตา
อยางหนึ่ง อายุมากขึ้นก็เปลี่ยนไปอีกอยางหนึ่ง
เมื่อสิ่งทั้งหลายเปน อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา มนุษยเขาไปเกี่ยวของคือจะปฏิบัติ หรือ สัมพันธกับ
ธรรมชาติ กับโลก กับชีวิต ที่เปนไปตามกฎธรรมชาติดวย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน
อวิชชา คือ ภาวะทีข่ าดความรู ความเขาใจ
ตัณหา คือ ความอยาก ความปรารถนาตอสิง่ ตาง ๆ โดยไมมคี วามรูค วามเขาใจ
อุปาทาน คือ การเขาไปยึดมั่น ถือมั่น ใหเปนอยางที่ตัวตองการเอาความปรารถนาของ
ตนเปนตัวกําหนด
ถามนุษยเขาไปสัมพันธกับสิ่งทั้งหลาย หรือพูดงาย ๆ วาสัมพันธกับโลกและชีวิต ดวยอวิชชา
ตัณหา อุปทาน ก็จะเกิดปญหาขึ้นกับชีวิตของตัวเองทันที ทุกขที่เปนอยูในธรรมชาติตามธรรมดาของมัน
คือเปนความขัดแยง คงอยูไมได ในสิ่งที่จะตองเปลี่ยนแปลงคืบเคลื่อนนั้น ก็จะเกิดเปนสภาวะที่กดดัน
ขัดแยงขึ้นในจิตใจของมนุษย ตอนนี้ ทุกขในธรรมชาติที่มีอยูตามธรรมดา กลายมาเปน ทุกข ปรุงแตงในใจ
เรา ที่จริงทุกขมีอยูตามธรรมดาในธรรมชาติ แตเมื่อเราไปสัมพันธปฏิบัติตอมันไมถูก จึงเกิดเปนทุกขในใจ
ของเราขึ้นมาและเมื่อสืบคนดู ก็จะรูวา อวิชชา ตัณหา อุปาทาน เปนตัวกําหนดความสัมพันธของเราใน
กรณีนี้ ตัวนี้แหละที่ทานวาเปน "สมุทัย " คือเหตุแหงทุกข ตอนนี้สมุทัยมาแลว
สมุทัยนี้ ถาตรัสแคบทบาทหนาโรง ก็เอาตัณหาเปนตัวแสดง แตถาตรัสแบบเต็มโรง ทรงยกเอา
อวิชชาเปนตัวกํากับหลังโรง ขอใหดูเวลาตรัสวา อะไรคือสมุทัย พระพุทธเจาตรัสไว ๒ แบบ
แบบที่ ๑ ตรัสวา สมุทัย ไดแก ตัณหา คืออธิบายงาย ๆ วา " สิ่งทั้งหลายมันไปเปนไปตามใจ
อยากของคุณหรอก เมื่อคุณสัมพันธกับมันดวยความอยาก คุณก็ตองเปนทุกขเอง " แตเบื้องหลังตัณหา
คือความอยาก ความตามใจตัวนี้ ตัวการที่แทคือความไมรูเทาทันความจริง ซึ่งเปนเงื่อนไขเปดชองใหปจจัย
ตาง ๆ เขามาหนุนกันในการที่จะใหปญหานั้นเกิดขึ้นเพราะฉะนั้น
แบบที่ ๒ จึงตรัสแบบกระบวนการที่เริ่มตนจาก อวิชชา วาเปนปจจัยพื้นฐานของปญหา หรือ
ทุกข สมุทัยที่แทจริงเปนกระบวนธรรม ( ธรรมปวัตติ ) ตามกฎปฏิจจสมุปบาทวา อวิชชฺ า ปจฺจยา
สงฺขารา….. ซึ่งประมวลวาทั้งหมดนี้ คือ สมุทัยแหงทุกข
ตอนนี้จะเห็นไดวา กฎธรรมชาติมาสัมพันธกับมนุษยแลว ตอนแรกอาตมาพูดเริ่มจากฎธรรมฃาติ
กอนวา ความจริงของธรรมชาติ มันมีอยูตามธรรมดาของมัน สิ่งทั้งหลายดําเนินไปตามกฎธรรมชาตินั้น
เปน อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา ตอนนี้มาถึงคนที่เขาไปเกี่ยวของกับสิ่งเหลานั้นโดยมี อวิชชา ตัณหา อุปาทาน
เปนตัวกําหนด ก็จะเกิดปญหา มีทุกขขึ้นมา
อันนี้คืออริยสัจขอที่ ๑ และขอที่ ๒ คือการสัมพันธกับสิ่งทั้งหลายซึ่งมีศักยภาพที่จะใหเกิดทุกข
ดวย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ซึ่งเปนสมุทัยคือตัวเหตุ แลวเกิดทุกขในตัวคนขึ้นมา คือกาวจากทุกขในสิ่ง
ทั้งหลายที่มีอยูตามธรรมชาติ มาเปนทุกขในใจของเรา
นี่คือวิธีพูดแบบยอนกลับโดยเอากฎธรรมชาติเปนจุดเริ่มตนโดยเริ่มที่ สมุทัย คือมนุษยไป
สัมพันธกับสิ่งทั้งหลายไมถูกตอง โดยสัมพันธดวย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ก็เกิดเปน ทุกข ขึ้นมา

เมื่อมีปญญารูความจริง ก็เลิกพึ่งพิงตัณหา หันมาอยูดวยปญญา ที่เอาประโยชนไดจากธรรม


ในทางตรงขาม ถาเรารูทันความจริงของโลกและชีวิต แลวเปลี่ยนวิธีสัมพันธเสียใหม เราไมสัมพันธ
ดวย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน แตเปลีย่ นจากอวิชชาเปน วิชา และสัมพันธกับสิ่งทั้งหลายดวย ปญญา
สมุทัยก็หายไป กลายเปนนิโรธ
ดังนั้น วิธีแกไขคือการพัฒนามนุษยใหมีปญญา จนกระทั่งหมดอวิชชา ตัณหา อุปาทาน
เพราะฉะนั้นจึงตองทําใหเกิดวิชาเพื่อใหสามารถดํารงชีวิตโดยอาศัยตัณหานอยลงตามลําดับ จนกระทั่ง
อวิชชา หมดไป เมื่อหมดอวิชชาแลว คือ นิโรธ ไมมีทุกขเกิดขึ้นอีก
การที่จะมีปญญา จนหมดอวิชชา ตัณหา อุปาทาน นั้นมนุษยตองพัฒนาตัวเอง ซึ่งคือ มรรค
นั่นเอง มรรค คือกระบวนวิธีพัฒนามนุษยไปสูการมีปญญา จนกระทั่งไมตองอาศัยอวิชชา ตัณหา
อุปาทานในการดําเนินชีวิต แตเปนอยูดวยปญญา
เพราะฉะนั้นพระพุทธศาสนาสอนเรื่องธรรมชาติกับการที่มนุษยไปสัมพันธกับธรรมชาติ คือ
๑. ความจริงของธรรมชาติ หรือ กฎธรรมชาติ
๒. การรู เขาใจความจริงนั้น แลวนํามาใชประโยชนของตัวชีวิตเองที่จะใหชีวิตเราหมดปญหา
อยางแทจริง
พูดอีกอยางหนึ่งวา พุทธศาสนามีเทานี้คือ
๑. ความจริงของธรรมชาติ หรือกฎธรรมชาติ เราตองเรียนรูและใชประโยชนโดยปฏิบัติใหถูกตอง
๒. มนุษยเปนผูเรียนรูเขาใจความจริงนี้ และใชประโยชนจากความรูนั้น เราตองศึกษาธรรมชาติ
ของมนุษยดวย

ธรรมชาติของมนุษยนั้นพิเศษในแงดี คือ มนุษยเปนสัตวที่ศึกษาใหมีปญญาได


เราตองศึกษาธรรมชาติของมนุษย คือ นอกจากรูธรรมชาติของสิ่งทั้งหลาย ทั้งโลก ทั้งระบบ ก็มารู
ธรรมชาติของตัวมนุษยเองดวย ซึ่งตองพูดเปน ๒ ระดับ
ระดับที่ ๑ มนุษยเปนเพียงสวนหนึ่งของระบบธรรมชาติทั้งหมด เพราะฉะนั้น ชีวิตมนุษยจึงตอง
เปนไปตามกฎธรรมชาติเชนเดียวกับธรรมชาติอยางอื่น ๆ ถาเราแยกเปนโลกและชีวิต ชีวิตเราเปนไปตาม
กฎธรรมชาติใหญ อันเดียวกับกฎธรรมชาติที่ครอบงําโลกคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ตองเปลี่ยนแปลงไปคง
อยูสภาพเดิมไมไดและปรากฎรูปขึ้นมาตามกระบวนการของเหตุปจจัยที่สัมพันธกันนั้น นี่คือธรรมชาติของ
มนุษยดานหนึ่งที่เปนชีวิต เปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ
ระดับที่ ๒ ธรรมชาติพิเศษที่เปนสวนเฉพาะจุดสําคัญของมนุษยที่จะกาวไปสูขั้นที่สามารถ
แกปญหาไดหรือไม คือ มนุษยสามารถมีปญญาที่จะมีชีวิต โดยไมพึ่งพาอวิชชา ตัณหา อุปาทาน ได
หรือไม ธรรมชาติของมนุษยตรงนี้ถือเปนฐานของพระพุทธศาสนาเลยทีเดียว ธรรมชาติสวนพิเศษของ
มนุษย คือเปนสัตวที่ฝกได พูดอยางสมัยใหมก็ใชคําวา " เปนสัตวที่พัฒนาได " ไมจมอยูกับที่ แต
เปลี่ยนแปลงไดในเชิงคุณภาพ หรือเรียกวาเปนสัตวพิเศษก็ได คําวา " ฝก " นี้พูดอยางสมัยใหมคือคําวา
เรียนรูและพัฒนา พูดตามหลักคําแท ๆ คือ ศึกษา หรือ สิกขา พูดรวม ๆ กันไปวา เรียนรูฝกหัดพัฒนา
หรือ เรียนรูฝกศึกษาพัฒนา พูดสั้น ๆ วา มนุษยเปนสัตวที่ฝกไดและตองฝก ถือเปนแงเดนคือ พอฝก
เริ่มเรียนรู คราวนี้มนุษยก็เดินหนา มีปญญาเพิ่มพูนขึ้น พูดได สื่อสารได มีความคิดสรางสรรคประดิษฐ
อะไร ๆ ไดสามารถพัฒนาโลกของวัตถุ เกิดเทคโนโลยีตาง ๆ มีความเจริญทั้งในทางนามธรรม วัตถุธรรม
ศิลปวิทยาการ เกิดเปนวัฒนธรรม อารยธรรม จนกระทัง่ เกิดเปนโลกของมนุษยซอนขึ้นมาทามกลางโลก
ของธรรมชาติ พระพุทธศาสนาจับความจริงของธรรมชาติขอนี้เปนหลักสําคัญ จึงใหกําลังใจกับมนุษยวา
มนุษยที่ฝกแลวนั้น เลิศประเสริฐจนกระทั่งแมแตเทวดาและพรหมก็นอมนมัสการ ดังคาถาวา
" มนุสฺสภูตํ สมฺพุทฺธํ อตฺตทนฺตํ สมาหิตํ
เทวาป นํ นมสฺสนฺติ … …… … … … "
แปลวา " พระพุทธเจา ทั้งที่เปนมนุษยนี่แหละ แตทรงฝกพระองคแลว มีพระหฤทัยที่อบรมมา
อยางดี แมเทพทั้งหลายก็นอมนมัสการ " คาถานี้เปนการเตือนมนุษยและใหกําลังใจวา ความดีเลิศ
ประเสริฐของมนุษยนั้น อยูที่การเรียนรูฝกศึกษาพัฒนาตนขึ้นไป มนุษยจะเอาดีไมได ถาไมมีการเรียนรู
ฝกฝนพัฒนาตน เพราะฉะนั้น เราจึงพูดเต็มวา " มนุษยเปนสัตวประเสริฐดวยการฝก " และฝกไดไมมี
ที่สิ้นสุด
สัตวอื่นแทบไมตองฝก เพราะมันอยูไดดวยสัญชาตญาณ พอเกิดมาปบเรียนรูจากพอแมนิดหนอย
เดี๋ยวเดียวมันก็อยูรอดได เรียนรูไดนิดเดียว แคกินอาหารเปน แตตอจากนั้นฝกไมได เรียนรูไมได อยูไดดวย
สัญชาตญาณตลอดชีวิต เกิดมาอยางไรก็ตายไปอยางนั้น หมุนเวียนกันตอไป
ฉะนั้นความประเสริฐเลิศของมนุษยจึงอยูที่การฝกฝนพัฒนาตนได และฝกไดไมมีที่สิ้นสุด เปน
ความเลิศประเสริฐที่สัตวทั้งหลายอื่นไมมี สัตวอื่นอยางดีฝกไดบางเล็กนอย เชน ชาง มา เปนตน
• มันฝกตัวเองไมได ตองใหมนุษยฝกให
• ฝกไดในขอบเขตจํากัด เรียนรูไดไมมาก

บนฐานแหงธรรมชาติมนุษยผูเปนสัตวตองศึกษา
พระพุทธเจาทรงตั้งหลักพระรัตนตรัยขึ้นมา
หลักพระพุทธศาสนาตรงนี้สําคัญที่สุด เพราะมนุษยฝกตนเอง และเมื่อฝกแลวประเสริฐสุด การที่
ยก พระรัตนตรัย ขึ้นมาตั้งเปนหลัก เพราะความจริงขอนี้คือ
ก ) พระพุทธเจาทรงเปนตนแบบ โดยเปนสรณะเปนเครื่องเตือนใจใหระลึกวา ตัวเรานี้เปน
มนุษยผูหนึ่ง พระพุทธเจาเมื่อกอนที่จะทรงฝก พระองคก็เปนมนุษยอยางพวกเรานี้ เราจึงมีศักยภาพที่จะ
ฝกใหประเสริฐอยางพระพุทธเจาได พระพุทธเจาทรงเปนผูประเสริฐเลิศสูงสุด ตรัสรูสัจธรรม มีพระ
คุณสมบัติสมบูรณทุกประการเพราะไดทรงฝกดังที่เรียกวาทรงบําเพ็ญบารมีมากมายจนเต็มสมบูรณ เรา
จึงตั้ง " พุทธะ " ขึ้นมาเปนแมแบบวา ดูสิ มนุษยผูฝกดีถึงที่สุดแลว พัฒนาดีแลว มีปญญารูสัจธรรม
บริสุทธิ์หลุดพน เปนอิสระ อยูเหนือโลกธรรม มีความสุข มีชีวิตที่ดีงาม มีคุณธรรม ความดีงามที่สมบูรณ
เปนที่พึ่งของขาวโลก เลิศประเสริฐขนาดนี้ พอระลึกไดอยางนี้ก็เกิดศรัทธาที่เรียกวา ตถาคตโพธิสัทธา
คือ
เชื่อในปญญาตรัสรูของพระพุทธเจา ซึ่งมีความหมายตอไปอีกวา เชื่อในปญญาที่ทําใหมนุษยกลายเปน
พุทธะ เพราะฉะนั้นการที่ถือเอา พระพุทธเจาเปนสรณะ นั้น ความหมายอยูที่นี่ คือ
๑. ทําใหเกิดศรัทธาที่โยงตัวเราเขาไปหาพระพุทธเจาวา จากความเปนมนุษยอยางเรานี้ พระองค
ไดบําเพ็ญบารมีฝกฝนพระองคจนเปนพระพุทธเจา เราก็เปนมนุษยเชนเดียวกัน ถาเราฝกตนจริงจังใหถึง
ที่สุด เราก็จะเปนอยางพระองคได ทําใหเราเกิดความมั่นใจวา เรามีศกั ยภาพที่จะฝกใหเปนอยาง
พระพุทธเจาได
๒. เตือนใจใหระลึกถึงหนาที่ของตนเองวา เราเปนมนุษยซึ่งจะดีเลิศประเสริฐได ดวยการฝกฝน
พัฒนาตน การฝกฝนพัฒนาตนเปนหนาที่แหงชีวิตของเรา หรือ ของชีวิตที่ดี เราตองฝกศึกษาพัฒนาตนอยู
เสมอ
๓. ใหเกิดกําลังใจวา การฝกฝนพัฒนาตนนี้ พระพุทธเจาไดทรงทํามาจนสําเร็จผลสมบูรณแลว
พระองคทําได แสดงวาเราก็สามารถทําได แมการฝกศึกษาบางครั้งจะยากมาก อาจทําใหเรายอทอ แตเมื่อ
ระลึกถึงพระพุทธเจาวา พระองคเคยประสบความยากลําบากมากกวาเรานักหนา พระองคก็กาวฝาผาน
ลุลวงไปได เราก็จะเกิดกําลังใจที่จะฝกฝนตนตอไป
๔. ไดวิธีลัดจากประสบการณของพระองค พระพุทธเจาทรงปฏิบัติลําบากยากเย็นยิ่ง ลองผิดลอง
ถูก บําเพ็ญบารมีกวาจะเปนพุทธะได เมื่อพระองคตรัสรูแลว ทรงประมวลประสบการณของพระองคมาวาง
เปนหลักสอนเราใหเขาใจงายขึ้น เทากับบอกวิธีลัดใหเรา ซึ่งเราเอามาใชไดทันที ไมตองลําบากอยาง
พระองค
การระลึกถึงพระพุทธเจาเปนสรณะไดประโยชนถึง ๔ ประการ เราจึงตั้งพระพุทธเจาเปน
องคแรกของรัตนตรัย เปนสรณะขอที่ ๑
ข ) เมื่อระลึกถึงพระพุทธเจาเปนแมแบบแลว ก็คิดจะฝกศึกษาพัฒนาตน ตองรูหลักรูความจริง
ของกฎธรรมชาติคือ ธรรมะ และตองปฏิบัติตามธรรมนั้น ฉะนั้นพระพุทธเจาจึงเปนจุดเริ่มที่นําเราเขาไปสู
ธรรมะ พูดงาย ๆ วา จากพุทธะโยงไปหา " ธรรมะ " คือตัวความจริงของธรรมชาติที่มนุษยตองรูและ
นํามาใชปฏิบัติ
ค ) การจะรูธ รรมและปฏิบตั ติ ามธรรมใหเปนอยางพระพุทธเจานั้น มนุษยทั่วไปไมไดฝกตนมา
มากมายถึงชั้นที่จะรูและทําไดเองอยางพระสัมมาสัมพุทธเจา และไมจําเปนตองฝกถึงขนาดนั้น เพราะเรา
มีพระพุทธเจาที่ทรงรูธรรม รูทางและบอกวิธีใหแลว เราก็ฟงคําสอนจากพระองคและปฏิบัติตามโดยถือเอา
พระองคเปนแบบอยาง แมพระองคปรินิพพานแลว เราก็ฟงคําสอนของพระองคจากพระสงฆที่รักษาสืบ
ตอคําสอนของพระองคมาถึงพวกเรา ตามปกติมนุษยทั่วไปจะปฏิบัติธรรม ฝกตนใหกาวหนาโดยลําพัง
ตนเองไดยาก ตองอาศัยบุคคลและสภาพแวดลอมตาง ๆ ชวยเกื้อหนุนไดดีที่สุด คือ ชุมชนที่จัดตั้งไวอยางดี
ที่เรียกวา " สังฆะ " ในชุมชนแหงสังฆะ นอกจากมีผูไดฟง ไดรู ไดฝกปฏิบัติธรรมมากอน เชน ครู อาจารย
ที่จะเปนกัลยาณมิตรชวยแนะฝกสอนเราแลว ระบบความเปนอยู วิถีชีวิต การสัมพันธกับเพื่อนรวมชุมชน
การจัดสรรสิง่ แวดลอม บรรยากาศของชุมชน ทุกอยางชวยเกื้อหนุนใหเราฝกตนกาวไปในการรูและปฏิบัติ
ธรรมไดอยางดีที่สุด เมื่อเรากาวหนาไปแลวก็เปนกัลยาณมิตรเกื้อหนุนผูอื่นดวย
อนึ่ง มนุษยถึงจะมีศักยภาพที่จะเปนอยางเดียวกับพระพุทธเจา แตระหวางปฏิบัติเราจะมี
พัฒนาการในระดับตาง ๆ ไมใชอยู ๆ ก็เปนพุทธะไดทันที มนุษยที่ปฏิบัติโดยมีพัฒนาการในระดับตาง ๆ ก็
รวมกันเปนชุมชนที่ดีงาม ประเสริฐ คือ สังฆะ ถาเรียกตามภาษาปจจุบันคือ " สังคมอุดมคติ " ซึ่งมนุษยทุก
คนควรมีสวนอาศัยและรวมสรางชุมชนนี้ขึ้นมาใหได ดวยการฝกพัฒนาตัวเองของแตละคนขึ้นไป
เพราะฉะนั้น หลักพระรัตนตรัย คือ หลักอุดมคติ ที่เปนจุดหมาย เปนอุดมการณ
เปนหลักสําหรับชาวพุทธ ซึ่งตองถือวา
๑. เตือนใจระลึกถึงศักยภาพของตัวเองและปฏิบัติหนาที่การพัฒนาตนเองใหเปนอยาง พุทธะ
๒. เตือนใจระลึกวาการพัฒนาตนใหสําเร็จ ตองรูเขาใจและปฏิบัติใหถูกตองตามหลักความจริง
ของกฎธรรมชาติ คือ ธรรมะ
๓. เตือนใจระลึกวา เราแตละคนจะรวมอาศัย รวมสรางสังคมอุดมคติ ดวยการมี / เปน
กัลยาณมิตรและเจริญงอกงามขึ้นในชุมชนแหง อารยชน หรือ อริยบุคคล ที่เรียกวา สังฆะ
นี่คือ หลักพระรัตนตรัย จะเห็นวาทัง้ ๓ หลักโยงถึงกันหมด

ความจริงแหงธรรมดาของโลกและชีวิตที่ตองรูใหทันและวางทาทีใหถูก
ธรรมชาติของมนุษยซึ่งเปนสัตวที่ฝกได พัฒนาได จะเปนนิวตันก็ได เปนไอนสไตนก็ได หรือจะเปน
กวีที่เกงกาจ เปนนักการศึกษา ฯลฯ เปนไดหมด จนกระทั่งประเสริฐสุด เปนพุทธะก็ได เมื่อมนุษยผูฝกตน
ได จะพัฒนาตนสําเร็จ ตองรูเขาใจความจริงของกฎธรรมชาติ และปฏิบัติใหถูกตามกฎนั้น ในบรรดากฎ
ธรรมชาติทั้งหลาย กฎใหญคือความเปนไปตามเหตุปจจัย ซึ่งเปนอยางหนึ่งในหลักใหญที่สุด
ที่พระพุทธเจาตรัสไว ๒ หลัก คือ
๑. หลัก ไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
๒. เบื้องหลังความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือกฎธรรมชาติแหงความเปนไป
ตามเหตุปจจุบัน ไดแก อิทัปปจจยตา
ฉะนั้นตอจาก ไตรลักษณ พระพุทธเจาทรงสอนเรื่อง ปฏิจจสมุปทา หรือ ที่เรียกเต็มวา
อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท คือ ความเปนไปตามเหตุปจจัยของสิ่งทั้งหลาย
ถาเราเขาถึงกระบวนการของเหตุปจจัย หลักการตาง ๆ โยงถึงกันแจมแจงหมดและเขาสูการ
ปฏิบัติการที่จะฝกตนได ถารูแค อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เรายังทําอะไรไมได แครูทันวาสิ่งทั้งหลายเกิดดับ
เปลี่ยนแปลง ไมเที่ยง ไมคงที่ คงอยูสภาพเดิมไมไดเปนไปตามเหตุปจจัย ก็ไดแครูและวางใจแตยังทําไมได
แตพอรูวา กฎแหงเหตุปจจัยที่อยูเบื้องหลัง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือ อิทัปปจจยตา ก็มาลงมือทําคือเอา
มาใฃในการฝกฝนพัฒนาตนของมนุษยซึ่งเปนการเชือมระหว ่ างธรรมชาติพิเศษของมนุษยกับธรรมชาติ
สามัญของสิ่งทั้งหลาย พระพุทธศาสนามองชีวิตของมนุษยวาเกิดจากองคประกอบตาง ๆ มาประชุมกัน
โดยสัมพันธกันเปนระบบกระบวนการ เราจะเขาใจตองแยกดูองคประกอบ ตอนแรกก็แยกชีวิตออกกอน
สําหรับมนุษย
การแยกอยางงายที่สุดคือ รูปธรรม ( กาย ) กับ นามธรรม ( ใจ )
เมื่อแยกละเอียด ดานรูปธรรม หรือรางกาย ประกอบดวยธาตุตาง ๆ มาประชุมกันเขา มี
มหาภูตรูป ๔ อุปาทายรูป ๒๔ และในแตละอยางก็แยกยอยออกไปอีก
สวนดานนามธรรม หรือ ทางใจ ก็แยกออกเปน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
• เวทนา แยกยอยเปน เวทนา ๓ หรือ เวทนา ๕ หรือ เวทนา ๖
• สัญญา แยกยอยเปน สัญญา ๖
• สังขาร แยกยอยออกเปนตาง ๆ เชน สัญเจตนา ๖ เจตสิก ๕๐
• วิญญาณ แยกยอย เปน ๖ เปน ๘๙ หรือ เปน ๑๒๑
ซึ่งเปนการจําแนกแยกแยะในระบบ ขันธ ๕ อยางนี้เปนระบบแยกซอย เปนการศึกษาธรรมชาติของชีวิต
มนุษย เหมือนนักวิทยาศาสตรแยกแยะองคประกอบดานรูปธรรม แตในที่นี้แยกออกเปนแบบงาย ๆ คือ
กาย กับ ใจ
ชีวิตมนุษยไมไดอยูนิ่งเฉย ตองเคลื่อนไหว ที่เรียกวา ดําเนินชีวิต แมรถยนตซึ่งไมมีชีวิตก็มีการ
เคลื่อนไหว เมื่อแยกองคประกอบมันออกมาดู ก็ศึกษาตอนมันวิ่งแลน วามันทํางานอยางไร โดยศึกษา
ความสัมพันธระหวางองคประกอบยอยขณะทํางาน
ชีวิตของเราก็เชนกัน เมื่อแยกสวนออกดูองคประกอบตอนอยูนิ่งเฉย ก็ตองศึกษาขณะที่มันดําเนิน
ไป หรือขณะทํางาน เหมือนแพทยศึกษาชีวิตดานกาย ตองศึกษา anatomy คือกายวิภาค แยก
องคประกอบใหเห็นอวัยวะตาง ๆ วามีอะไรบาง เปนอยางไร แลวก็ศึกษา physiology คือสรีรวิทยา ใหรูวา
อวัยวะตาง ๆ ทํางานอยางไร และสัมพันธกันอยางไร ทั้งเปนกระบวนการและเปนระบบ ในทางธรรมก็เริ่ม
ดวยแยกองคประกอบที่อยูนิ่ง ๆ เปน กาย กับ ใจ ตอจากนั้นก็แยกใหเห็นการทํางานเปนกระบวนการวา
องคประกอบทั้งหลายสัมพันธเปนปจจัยแกกันอยางไร การแยกองคประกอบแบบนี้จะเห็นไดในหลัก
ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งมีองคประกอบ ๑๒ สวน เปนปจจัยแกกันหมุนเวียนไปเปนวงจร

จะพัฒนาศักยภาพของคนใหมีชีวิตแหงปญญา
ก็ตองรูจักธรรมชาติของชีวิตซึ่งจะทําหนาที่ศึกษา
ระบบการทํางานของชีวิตมนุษยพิเศษตางออกไปจากระบบการทํางานของรถยนต คือ แมรถยนต
จะเคลื่อนไหวได แตไมมีชีวิต ไมมีเจตจํานงหรือเจตนา จะเคลื่อนไหวไปทางไหน ตองมีคนมาขับขี่บังคับ
ลําพังตัวมัน องคประกอบทั้งหลายทั้งระบบทํางานเคลื่อนไหวอยูอยางนั้น ๆ เทาเดิม แตระบบการทํางาน
ของมนุษยไมอยูในวงจรเทาเดิม มนุษยมีเจตนจํานงหรือมีเจตนา มีคุณสมบัติพิเศษเชนปญญาเปนตน ทํา
ใหการเคลื่อนไหวของชีวิตมนุษยมีการปรับตัว ปรับปรุงพัฒนาระบบการทํางานของตัวมันเอง และจัดการ
กับสิ่งอื่นภายนอกไดดวย
การทํางานขององคประกอบทั้งหลายของชีวิตมนุษย มีลักษณะพิเศษเรียกงาย ๆ วา เปน
ระบบการเปนอยู หรือ การดําเนินชีวิต ซึ่งเราตองศึกษาใหเห็นองคประกอบเหลานั้นทํางานสัมพันธกัน
ในการที่มันจะเปนอยู เจริญงอกงาม พัฒนาไป และจัดการกับสิ่งอื่น ๆ ภายนอกใหไดผลดียิ่งขึ้น
ชีวิตมนุษย ที่เปนอยูหรือดําเนินไปทั้งระบบนี้ แยกองคประกอบได ๓ สวนใหญ คือ
๑. การเคลื่อนไหวติดตอสัมพันธกับโลกภายนอก โดยใช ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ และการ
แสดงออกทางกายวาจา จะใชคาํ ภาษาสมัยใหมวา " พฤติกรรม " ก็มีความหมายแคบไป ขอแตงคําใหมวา
พฤติสัมพันธ
๒. เบื้องหลังการติดตอสัมพันธและพฤติกรรมที่แสดงออก มีกระบวนการทํางานของจิตใจ เริ่ม
ตั้งแตเจตจํานง (ความตั้งใจ) เพราะการติดตอสัมพันธและพฤติกรรมที่แสดงออกของมนุษยเกิดจากเจตนา
คือมีความตั้งใจ จงใจ และแรงจูงใจ เปนตัวกําหนดอีกชั้นหนึ่งวาจะตั้งใจอยางไร แรงจูงใจนี้มีทั้งฝายชั่ว
และดี เชน ความรัก ความโกรธ ความอยากรู ความลุม หลง ความเคารพ ความริษยา ความสุข ความทุกข
ใจ ซึ่งเปนตัวกําหนด หรือ ชักจูงความตั้งใจนั้น เชน เพราะอยากไดสุข จึงเคลื่อนไหว
ทําพฤติกรรมแบบนี้ เพราะอยากหนีทุกข จึงเคลื่อนไหวทําพฤติกรรมแบบนี้ โดยมีปจจัยขับเคลื่อนอยู
เบื้องหลัง คือกระบวนการของจิตใจ เปนดานที่ ๒ ในกระบวนการทํางานของชีวิต เรียกสั้น ๆ วา จิตใจ
๓. การเคลื่อนไหวติดตอสัมพันธทําพฤติกรรมนั้น คนตองมีความรู รูเทาไรก็ตั้งใจเคลื่อนไหว
ทําพฤติกรรมไดเทานั้น ถารูมากขึ้นการตั้งใจเคลื่อนไหวทําพฤติกรรมก็จะซับซอนและไดผลสําเร็จมาก
ยิ่งขึ้น ถาไมรูเลยความตั้งใจทําพฤติกรรมก็สงเดชเรื่อยเปอย ฉะนั้นความรูจึงเปนองคประกอบที่สําคัญ
มาก เปนแดนใหญดานหนึ่งของชีวิต ไดแก ปญญา ถาเราพัฒนาปญญา เราก็ขยายมิติและขอบเขตทั้ง
ดานจิตใจและพฤติกรรมออกไปทั้งหมด
พฤติกรรมมนุษยที่พัฒนาออกเปนกลุมเปนหมูรวม ๆ กัน เปนวัฒนธรรมและอารยธรรมนั้น เกิด
จากเจตจํานงตามอํานาจแรงจูงใจ เชนความปรารถนาทีจ่ ะเอาชนะธรรมชาติ ทําใหอารยธรรมตะวันตก
เจริญมาอยางที่เปนอยูในปจจุบันนี้ นี่คือเจตจํานงดานจิตใจ แตเจตจํานงนั้นเกิดขึ้นไดภายใตเงื่อนไขของ
ความรูความเขาใจอะไรอยางไร มีความเชื่อ ยึดถือ และคิดไปไดอยางนั้นแคนั้น แลวตั้งเจตจํานงตาง ๆ ที่
จะทําพฤติกรรมภายในขอบเขตเทานั้น เพราะฉะนั้น แดนปญญา คือ ความรู จึงยิง่ ใหญมาก
ลักษณะสําคัญของกระบวนการดําเนินชีวิตของมนุษย คือการพัฒนาศักยภาพการดําเนินชีวิต
ใหสามารถอยูรอดไดอยางดีงาม มีความสุขยิ่งขึ้น หรือ พัฒนาขึ้นไปสูความเปนสัตวที่ประเสริฐยิ่งขึ้น
จนถึงความเปนพุทธะ ในที่สุด
ตกลงวา ชีวิตของมนุษยที่เปนกระบวนการเคลื่อนไหวดําเนินไปทามกลางสิ่งแวดลอม แยกเปน ๓
ดาน คือ
๑. พฤติสัมพันธ๒. จิตใจ ๓. ปญญา
นี่คือการแยกองคประกอบของชีวิตแบบหนึ่งตามหลักพระพุทธศาสนา เรามักติดอยูแคการแยก แบบกาย
กับใจ ซึ่งเปนการแยกเพื่อความรูเขาใจ แตเอามาใชปฏิบัติไดนอย ถาเราจะนําพระพุทธศาสนามาใชใน
ระดับปฏิบัติการ ในการทํากิจกรรมตาง ๆ โดยเฉพาะการพัฒนามนุษยและสังคม ตองกาวมาถึงการแยกใน
ระดับกระบวนการดําเนินชีวิต คือแยกเปน ๓ ดาน หรือ ๓ แดน อยางนี้
ถึงตอนนี้เราไดครบแลว ในตัวอยางเรื่องรถยนตที่แยกแยะ ๒ ระดับคือ แยกตอนจอดอยูนิ่ง ๆ ให
เห็นวามีองคประกอบอะไรบาง และแยกตอนทํางานคือวิ่งแลนวา มันทํางานอยางไร แตในเรื่องชีวิตมนุษย
เราแยกสวน หรือ องคประกอบ ๓ ระดับ คือ
๑. แยกองคประกอบตามสภาพหรือในภาวะอยูนิ่งเฉย (เชนแยกเปน รูป+นาม, กาย+ใจ,
ขันธ ๕)
๒. แยกใหเห็นการทํางานของสวนตาง ๆ ในระบบวงจรความสัมพันธ
(เชน แยกแบบปฏิจจสมุปบาท )
๓. แยกใหเห็นระบบและกระบวนการดําเนินชีวิตที่ องคประกอบ ๓ ดานมารวมกันขับเคลื่อน
ชีวิตใหเปนอยูไดดียิ่งขึ้น ๆ ไปสูจุดหมายที่จะเปนชีวิตที่สมบูรณ (แยกเปน ๓ ดาน หรือ ๓ แดน คือ ดาน
สัมพันธภายนอก ดานจิตใจ และดานปญญา)

แกนธรรมเพื่อชีวิต

การดําเนินชีวิตทั้งสามดาน เปนปจจัยเกื้อหนุนกันในการศึกษา
เมื่อรูธรรมชาติของสิ่งทั้งหลาย และธรรมชาติของมนุษยแลว ก็เอาความรูในความจริงของ
ธรรมชาตินน้ั มาใชประโยชน
สาระของพระพุทธศาสนา คือการนําเอาความรูใ นธรรมชาติและกฎธรรมชาติมาใชประโยชน
สนองจุดหมายที่เราตองการ คือการพัฒนามนุษยจนสามารถเปนอยู โดยไมตองพึ่งพา อวิชชา
ตัณหา อุปาทาน
กระบวนการของชีวิตที่เคลื่อนไหว นั้นแยกเปน ๓ ดาน คือ พฤติสัมพันธ ที่เรียกโดยอนุโลม
วา พฤติกรรม จิตใจ และปญญา เราพัฒนาชีวิตทั้ง ๓ ดาน ใหทําอะไรตออะไรไดสําเร็จตาม
ตองการ จนมีชีวิตที่สมบูรณ ขอสําคัญที่สุดตองพัฒนาปญญาขึ้นไป เพราะในที่สุด
ทุกอยางจะอยูในขอบเขตของปญญา อยางที่วา รูเทาใด ทําไดเทานั้น
แตในทางกลับกัน คนจะพัฒนาปญญาไมได ถาไมมีการสื่อสัมพันธ การทําพฤติกรรม และ
การทํางานของจิตใจมาเกื้อหนุน
หลักการมีอยูวา องคประกอบทั้ง ๓ ดานแหง กระบวนการดําเนินชีวิตของมนุษย ตอง
พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แมวาจุดยอดจะอยูที่การพัฒนาปญญา แตปญญานัน้ จะเกิดขึน้ มาลอย ๆ
ไมได ตองอาศัยจิตใจ พรอมดวยพฤติกรรมการเคลื่อนไหวและการใชอินทรียสัมพันธ
ปญญาอาศัยพฤติสัมพันธ ( อินทรียสัมพันธ และพฤติกรรม ) เชน อยางงาย ๆ เราจะได
ความรู เราตองอาศัย ตา หู จมูก ลิ้น กายของเรา สื่อความรูจากโลกภายนอกเขามา เราตอง
เคลื่อนไหว เดินไปหาขอมูล ใชมือหยิบ ฉวย คน แยก เลือก เก็บขอมูล ตองใชวาจาพูดสอบถาม
รูจักปรึกษา เริ่มตั้งแตรูจักตั้งคําถาม ถาถามไมเปน พูดกับเขาไมรูเรื่องวาถามอะไร หรือถามดวย
คําพูดไมดี เขาก็เกลียดเอา ไมรวมมือ ไมอยากตอบ เพราะฉะนั้นจึงตองพัฒนาพฤติกรรมใหรูจักพูด
รูจักตั้งคําถามใหชัดเจน รูจักพูดใหนาฟง ใชถอยคําสละสลวย พัฒนาพฤติกรรมใหสัมพันธกับเพื่อน
มนุษยอยางไดผลดี ใหเขามีไมตรีชื่นชม เต็มใจที่จะรวมมือ
ปญญาอาศัยจิตใจ เชน จิตใจตองเขมแข็งอดทน มีความเพียรพยายาม แนวแนมั่นคง มีสติ
มีสมาธิ ถาจิตใจเกียจคราน ทอถอย ไมสู พอเจอปญหาก็ถอย ความคิดไมกาว ปญญาก็ไมพัฒนา
แตถาใจสูเขมแข็ง เดินหนาตอไปก็สามารถพัฒนาปญญาได หรือถาไมมีสมาธิ ใจฟุงซาน คิดอะไร
สับสนไมชัดเจน ตองใหใจมีสมาธิดวยจึงจะเกื้อหนุนตอการพัฒนาของปญญา
จิตใจเปนฐานของพฤติกรรม อยางที่พูดแลววา การเคลื่อนไหวทําพฤติกรรมของคนเรา เกิด
จากความตั้งใจ มีเจตนา ซึ่งประกอบดวยแรงจูงใจและความตั้งใจที่ดี พฤติกรรมที่แสดงออกไปก็จะ
ดี
จิตใจก็ตองอาศัยพฤติกรรม เปนเครื่องมือสนองความตองการของจิตใจอยากไดโนนไดนี่
อยากเห็น อยากดู อยากฟง หรือเกลียดชัง อยากหนี อยากทําลาย อยากไปใหพนจากสิ่งนั้นสิ่งนี้ ก็
อาศัยพฤติกรรม ตองสําเร็จดวยพฤติกรรมทั้งนั้น ปญญาเปนตัวชี้นํา บอกทาง ใหแสงสวาง กํากับ
ควบคุม ดูแล จัดปรับ แกไข ขยายขอบเขต พัฒนา และทําหนาที่ปลดปลอยชวยใหเกิดอิสระภาพ ทั้ง
แกพฤติกรรม และแกจิตใจ
ปญญาชี้นําพฤติกรรม ควบคุม กํากับ ขยายขอบเขต และปลดปลอยพฤติกรรม อยางที่พูดไป
แลววา พฤติกรรมจะทําอะไรไดแคไหน ก็ไดแคเทาที่มีปญญารูเทาใด ถาไมรูเลย ก็ติดขัด ถารูเขาใจ
พฤติกรรมก็เดินหนาตอไป ยิ่งรูเขาใจมองเห็นกวางไกลลึกซึ้ง พฤติกรรมก็ยิ่งกวางขวาง ซับซอน และ
ทําไดผลมากขึ้น ๆ
ปญญาบอกทางแกจิตใจ รวมทั้งชี้นํา กํากับ จัดปรับ แกไข ขยายขอบเขต ตลอดจน
ปลดปลอยจิตใจใหเปนอิสระ เชน พอเจออะไร ถาไมรูเรื่อง ก็ติดขัดอัดอั้นตันทันที ทําอะไรไมถูก เกิด
ทุกขเปนปญหา แตพอปญญามา รูวาสิ่งนั้นคืออะไร เปนอยางไร จะปฏิบัติอยางไรเอามาใชทําอะไรได
ก็โลง โปรงสบายใจ หมดปญหา ไมบีบคั้นติดขัดคับของใจ เพราะฉะนั้น ปญญามา ก็ทําจิตใจใหเปน
อิสระ มีความสุขโลงโปรง แกปญหาได เรียกวาเปนตัวปลดปลอย คือ liberate จิตใจ
เพราะฉะนั้น ชีวิตทั้ง ๓ ดานของมนุษย คือ พฤติกรรม จิตใจ ปญญา จึงคืบเคลื่อนไป
ดวยกันเปนระบบแหงกระบวนการ ที่อาศัยซึ่งกันและกัน มนุษยจึงตองพัฒนาไปดวยกันพรอมทั้ง ๓
อยาง

บนฐานแหงหลักความสัมพันธของชีวิตสามดาน
ทรงตั้งหลักไตรสิกขาใหมนุษยพัฒนาอยางบูรณาการ
เมื่อรูเขาใจหลักความสัมพันธเปนปจจัยแกกันของชีวิต ๓ ดานแลว ก็นําหลักนั้นมาใชในการ
พัฒนาชีวิต เริ่มตั้งแต พัฒนาพฤติกรรม ใหดีขึ้น โดยฝกดวยความตั้งใจ และมีความเขาใจ ใหเกิด
พฤติกรรมที่ดีงาม เกื้อกูลขึ้นมาติดตัว หรือ ประจําตัว เรียกวา ศีล ในการฝกใหเกิดศีลเราจะใช "
วินัย " เปนตัวกําหนดรูปแบบ เวลานี้สับสนกันระหวางคําวา วินัย กับ ศีล บางครั้งใชเปนอัน
เดียวกัน หรือไมก็แยกหางกันไปคนละเรื่องเลย
ขออธิบายวา วินัย คือการจัดตั้งวางระบบระเบียบแบบแผน รวมทั้งตัวลายลักษณอักษรที่
เปนขอกําหนดวา เราจัดวางระเบียบแบบแผนกําหนดพฤติกรรมกันไวอยางไร สวนคุณสมบัติของคน
ที่ตั้งอยูในวินัยนั้นเรียกวา ศีล ก็แคนี้เอง
วินัยก็คือการจัดตั้ง วางระบบ กําหนดระเบียบแบบแผนในสังคมมนุษย ถาเราไมมรี ะบบ
ระเบียบแบบแผน พฤติกรรมของมนุษยวุนวายมาก เราจึงใชวินัยเปนตัวกําหนด หรือ จัดระบบ
พฤติกรรม เมื่อพฤติกรรมของคนเปนไปตามวินัยที่จัดตั้งวางกําหนดไว ก็เรียกวา ศีล วินัยนั้นอยูขาง
นอก เปนเครื่องมือฝกคนใหมีพฤติกรรมที่ถูกตองเหมาะสม เปนตัวหนังสือ เปนวาระแหงความเปน
ระเบียบ เปนระบบแบบแผนที่กําหนดการฝก ตลอดจนเปนการปกครอง คือ การจัดการดูแลควบคุม
คนใหปฏิบัติ หรือฝกตนตามระเบียบที่จัดตั้งไว เมื่อคนปฏิบัติตามวินัยจนกลายเปนคุณสมบัติในตัว
เขาแลว เราเรียกวา ศีล เพราะฉะนัน้ คําวา " มีวินัย " ที่ใชกันในสมัยนี้ ก็คือ " ศีล " นั่นเอง
การฝกพฤติกรรม และการติดตอสัมพันธกับโลกภายนอกของมนุษยใหเปนไปในทางที่ดีงา
เกื้อกูล จนเกิดเปนคุณสมบัติขึ้นในตัวของเขา เรียกสั้น ๆ วา " ศีล " คือ การมีพฤติกรรมและการสือ่
สัมพันธที่พึงปรารถนา เรียกเต็มวา " อธิศีล สิกขา " เปนอันวา ศีล คือกระบวนการฝกพฤติกรรม
และการติดตอสัมพันธของมนุษย กับสิ่งแวดลอมหรือโลกภายนอก
การพัฒนาดานจิตใจ มีคุณสมบัติมากมายที่พึงตองการ เชน เมตตา กรุณา ศรัทธา
กตัญูกตเวที ความเคารพ ความเพียร ความเขมแข็ง อดทน มีสติ มีสมาธิ ความราเริงเบิกบาน
ผองใส ความสุข ฯลฯ เรียกวา " อธิจิตตสิกขา " แตเรียกใหสั้นและงายโดยเอาคุณสมบัติแกนสําคัญ
มาเปนตัวแทน จึงเรียกการพัฒนาดานจิตทั้งหมดวา " สมาธิ "
ทําไมจึงวา "สมาธิ" เปนคุณสมบัติแกน เปนตัวแทน ที่ใชเรียกชื่อการพัฒนาดานจิตทั้งหมด
ตอบวา ในการพัฒนาจิตของคนนี้ มีคุณสมบัติสําคัญอยูอยางหนึ่ง ถาขาดไปเสีย คุณสมบัติอยางอื่น
ก็จะตองตั้งอยูไมไดและการพัฒนาดานจิตใจก็จะดําเนินไปไมได
เหมือนกับวาเรามีของมากมายจะจัดเก็บตั้งมันไว หรือเราจะทํางานกับมัน หรือจะใหของ
เหลานั้นเจริญงอกงามขึ้นไป หรืออะไรแลวแต มีสิ่งจําเปนอยางหนึ่ง คือฐานที่ตั้ง หรือที่รองรับที่มั่นคง
เชน จะวางของบนโตะ โตะก็ตองมั่น ถาโตะสั่นไหว ของอาจจะลมหรือหลนหายไปเลย หรือจะทํางาน
กับของเหลานั้น ก็ไมสะดวกหรือไมสําเร็จ แตถาโตะที่ตั้งที่วางหรือที่รองรับนั้นมั่นคงไมหวั่นไหว ของนั้น
ก็ตั้งอยู จัดทําอะไรกับมัน หรือจะใหเกิดการเคลื่อนไหวงอกงามเจริญขึ้น ก็ทําได
ในทางจิตใจก็เหมือนกัน คุณสมบัติที่เปนแกนในการพัฒนาจิตใจ คือภาวะที่จิตใจอยูตัวไดที่
ซึ่งชวยใหคุณสมบัติอื่น ๆ ตั้งอยูได เจริญงอกงามได ตลอดจนชวยใหปญญาทํางานไดดี คุณสมบัติ
ตัวแกนนี้เรียกวา สมาธิ แปลวา จิตตั้งมั่น จิตอยูกับสิ่งที่ตองการไดตามตองการ ถาจิตไมเปนสมาธิ
ไมอยูกับสิ่งที่ตองการ หรืออยูกับสิ่งที่ตองการไมได เชน อยูกับหนังสือ อยูกับงานไมไดเลยเดี๋ยวไป ๆ
สมาธินี่แหละเปนตัวแทนของกระบวนการพัฒนาจิต เพราะฉะนั้นจึงเอาคําวา สมาธิ มาเรียก
แทนการพัฒนาคุณสมบัติดานจิตทั้งหมด เรียกวาเปนวิธีเรียกแบบตัวแทน แตตัวแทนนี้เปนตัวแกน
ดวย
สวนการพัฒนาปญญา เรียกชื่อเต็มวา " อธิปญญาสิกขา " แตนิยมเรียกสั้น ๆ วา
" ปญญา " คือกระบวนการพัฒนาความรูค วามเขาใจ
เปนอันวา การพัฒนามนุษยอยูที่ ๓ ดาน หรือ ๓ แดน ซึ่งดําเนินไปดวยกันอยาง
เกื้อหนุนแกกันเปนระบบแหงบูรณาการ
การฝกฝนพัฒนามนุษย เริ่มตั้งแต การเรียนรูตาง ๆ นี้ ศัพทบาลีเรียกวา " สิกขา " ฉะนั้นการ
ฝก ๓ ดานที่พูดมาแลวจึงเปนสิกขา ๓ ดาน คําวา ๓ นั้น ภาษาบาลีคือ " ติ " ถาเปนสันสกฤต
ก็คือ " ไตร " ฉะนั้นจึงเปน ไตรสิกขา
ไตรสิกขาก็แยกเปน ศีล สมาธิ ปญญา คือกระบวนการพัฒนาพฤติกรรม พัฒนาจิตใจ
และพัฒนาปญญา เพื่อใหชีวิตมนุษยดําเนินไปสูความสมบูรณ คือภาวะที่เปนผูมีวิชาแลว มีชีวิต
เปนอยูดวยปญญา ไมตองมีชีวิตอยูโดยพึ่งพาอาศัย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน และไมตกอยูใต
อํานาจครอบงําของมันอีกตอไป คือพน ทุกข โดยกําจัด สมุทัย ได บรรลุจุดหมาย คือ นิโรธ เพราะ
ปฏิบัติตาม มรรค ไดครบถวน จะเห็นวาอริยสัจสี่มาครบหมดเลยทีเดียว

เมื่อพัฒนาดวยไตรสิกขา ชีวิตก็เปนอริยมรรค เพราะชีวิตที่ดี คือชีวิตที่ศึกษา


ชีวิตตองเปนอยูดําเนินไปตลอดเวลา การที่ตองเคลื่อนไหวพบประสบการณใหม ๆ
ซึ่งตองรูจัก ตองเขาใจ ตองปฏิบัติ หรือ จัดการอยางใดอยางหนึ่ง หรือ หาทางแกไขใหผานรอด หรือ
ลุลวงไป ทั้งหมดนี้เรียกสั้น ๆ คือ สิกขา หรือ การศึกษา
เพราะฉะนั้น การที่ชีวิตเปนอยูได ตองศึกษา หรือสิกขา ตลอดเวลา พูดสั้น ๆ วา ชีวิตคือ
การศึกษา หรือ ชีวิตที่ดี คือชีวิตที่มีการเรียนรู หรือมีการฝกฝนพัฒนาไปดวย พูดอีกอยางหนึ่งวา
การดําเนินชีวิตที่ดีจะเปนชีวิตแหงการสิกขาไปในตัว
เราเคยไดยินฝรั่งบางพวกพูดวา ชีวิตคือการตอสู ชีวิตเปนความฝน แตถาพูดตามหลัก
พระพุทธศาสนา " ชีวิตคือการศึกษา " ถาใชภาษาฝรั่งก็ตองพูดวา To live is to learn หรือ
Life is Learning ตรงนี้เปนการประสานระหวางการพัฒนามนุษยหรือการเรียนรู ฝกฝนพัฒนา
มนุษย ที่เรียกวา สิกขา / ศึกษา กับการดําเนินชีวิตที่ดีของมนุษยที่เรียกวา มรรค ใหเปนอัน
เดียวกัน คือการดําเนินชีวิต ชนิดที่มีการศึกษาพัฒนาชีวิตไปดวยในตัว จึงจะเปนชีวิตที่ดี
ศีล สมาธิ ปญญา คือการพัฒนาพฤติกรรม จิตใจและปญญา หรือ การศึกษา ๓ ดานที่พูด
ไปแลว เมื่อขยายออกเปน ขอปฏิบัติ ก็มาเปน มรรคมีองค ๘ นั่นเอง เมื่อสรุปก็เปน ๓ คือ ศีล
สมาธิ ปญญา
ฉะนัน้ ศีล สมาธิ ปญญา ๓ อยาง ของไตรสิกขา กับมรรคมีองค ๘ ประการ
จึงตรงกัน กลาวคือ
ดานศีล กระจายออกเปน สัมมาวาจา สัมมากัมนันตะ และ สัมมาอาชีวะ คือ การใชกาย
วาจาใหถูกตองดีงาม ทั้งในการกระทําทั่วไป ในการสื่อสัมพันธ และในการเลี้ยงชีพใหถูกตอง
ดานจิตใจ มีมากมาย แตตัวนําสําคัญมี ๓ คือ
• มีความเพียรพยายาม เรียกวา สัมมาวายามะ
• มีสติเปนตัวคอยจับกําหนดใหทํางานได เปนตัวเตือนไมใหเผลอพลาด และให
เดินหนา ตลอดเวลา เรียกวา สัมมาสติ
• มีสมาธิ ใหจิตแนวแน มีความสงบ ดําเนินไปอยางมั่นคง เรียกวา
สัมมาสมาธิ
ดานปญญา แยกเปน ๒ คือ
• มีความเห็น ความเขาใจถูกตอง เรียกวา สัมมาทิฏฐิ
• มีความดําริถูกตอง วางแนวทางความคิดที่จะนําชีวิตไปในทางที่ถูกตอง เรียกวา
สัมมาสังกัปปะ
พอเริ่มกระบวนการโดยมี ความรู ความเขาใจ ทําใหวางแนวความคิดถูกตอง ทั้งเจตจํานง
ความเพียรพยายาม และสติที่กํากับมาสนองแนวความคิดนี้ พฤติกรรมก็มาสนองเจตนํานงและ
ความเพียรพยายามนั้น การดําเนินชีวิตจึงไปดวยการเรียนรู ปฏิบัติตอประสบการณและสถานการณ
ตาง ๆ อยางถูกตองไดผลดี ไตรสิกขา ก็มาประสานกับ มรรค
ไตรสิกขา คือการพัฒนามนุษยใหดําเนินชีวิตดีงามถูกตอง ทําใหมีวิถีชีวิตที่เปน มรรค เปน
ทางดําเนินชีวิต หรือ วิถีชีวิตที่ถูกตองดีงามของมนุษย ตองเรียนรูฝกฝนพัฒนาตน คือ สิกขา มรรคกับ
สิกขาจึงประสานเปนอันเดียวกัน เมื่อมองในแงอริยสัจสี่ ก็เปน อริยมรรค คือ วิถีชีวิตอันประเสริฐ
เมื่อเปนมรรค ก็ดําเนินกาวหนาไปสูจุดหมาย โดยกําจัดสมุทัยใหหมดไป ชวยใหเรามีชีวิตที่พึ่งพา
อวิชชา ตัณหา อุปาทาน นอยลงไป ไมอยูใตอํานาจครอบงําของมัน พรอมกับที่เรามีปญญาเพิ่มขึ้น
และดําเนินชีวิตดวยปญญามากขึ้น ทุกขก็นอยลงไป สุขจะมากขึ้นตามลําดับ จนกระทั่งในที่สุดพอ
สมุทัยหมดทุกขก็หมด ก็บรรลุหมายเปน นิโรธ โดยสมบูรณ
จุดเริ่มของการศึกษา มีชองทางชีวิตเตรียมไวให แตตองใชเปน จึงจะเกิดการ
พัฒนา
เรื่องไมจบเทานี้ เมื่อแยกแยะออกไป ก็ถึงองคประกอบที่เราตองการสุดยอดคือ ปญญา
ซึ่งมนุษยจะตั้งจิตจํานงในใจ และจะทําพฤติกรรมไดแคไหน ก็อยูในขอบเขตของปญญา และปญญา
เปนตัวแกปญหาที่แทจริง แตปญญาจะเกิดขึ้นมาไดอยางไร เราตองรูกระบวนการพัฒนาของปญญา
การที่จะเขาใจเรื่องนี้ ก็ตองยอนกลับไปพูดเรื่องธรรมชาติของมนุษยใหมอีก
หันมาดูที่ตัวมนุษยเองวา มนุษยเรียนรูไดอยางไร และพรอมกันนั้น มนุษยสัมพันธกับโลก
และสิ่งแวดลอมอยางไร ก็ตองดูที่เครื่องมือสื่อสัมพันธระหวางมนุษยกับสิง่ แวดลอม ซึ่งมี ๒ ประเภท
คือ
๑. มนุษยสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดวยสิ่งที่เรียกวา อินทรีย หรือ อายตนะ ๖ อยาง คือ ตา หู
จมูก ลิ้น กาย ใจ อินทรียเหลานี้เปนทาง หรือ ประตูเขามา ของความรูขอมูลตาง ๆ ที่เรียกวา การรับรู
เพราะฉะนั้น อินทรียพวกนีท้ ั้งหมดเรียกวา ทวาร ๖ ซึ่งแปลวาประตูหรือชองทาง
การที่เรียกวา อายตนะ เพราะเปนแดนตอระหวางชีวิตของเรากับโลก และที่เรียกวา อินทรีย
เพราะทํางานเปนใหญในหนาที่ของตัว เชน ตาเปนอินทรียในการเห็น หูเปนอินทรียในการฟง และ
เชื่อวาทวาร เปนประตู หรือ ชองทางเชื่อมตอระหวางชีวิตกับโลก เปนชองทางเขามาของขอมูลตาง
ๆ เปนทางสัมพันธซึ่งมี ๖ อยาง คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ
๒. เราติดตอสัมพันธกับโลกภายนอก ดวยพฤติกรรมที่แสดงออกทาง ประตู หรือ ทวาร ๓
คือ กาย วาจา ใจ เราสัมพันธกับโลกภายนอก โดย
• เคลื่อนไหวจับโนนจับนี่ ดวยกาย
• ติดตอสัมพันธสื่อสารกับโลกมนุษยภายนอก ดวยวาจา คือถอยคําพูดจา
• และมีเจตจํานงตั้งเจตนา ดวยใจ วาจะเอาอยางไรกับมัน
สรุปวา การเกี่ยวของสัมพันธกับสิ่งแวดลอมในโลก ทัง้ หมดมีชองทางติดตอ คือ ทวาร ๒
ชุด
• ทวารประเภทชองทางที่จะรู ๖ ทาง คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ
• ทวาร ประเภทชองทางที่จะทํา ๓ ทาง คือ กาย วาจา ใจ
การเกี่ยวของกับโลกหรือสิ่งแวดลอมในดานการกระทํานี้เรียกวา กรรม ซึ่งแยกเปนการ
กระทําทางกายเรียกวา กายกรรม
การกระทําทางวาจาเรียกวา วจีกรรม
การกระทําทางใจเรียกวา มโนกรรม
เมื่อจับหลักนี้ได เราก็เขาสูกระบวนการพัฒนามนุษยที่จะตองอาศัย ประตู หรือ ทวารทั้ง ๙ (๖+๓)
เริม่ ดวยทวารชุด ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ทีเ่ รียกวา อินทรีย หรือ อายตนะ ๖ นัน้ เรา
ใชมันเพื่ออะไร ทําหนาที่อะไร ถาเราไมรูหนาที่ หรือ การทํางานของมัน เราก็ใชสะเปะสะปะ เรื่อย
เปอย ใชไมเปน ไมมีประสิทธิภาพ เราก็ไมพัฒนา แตถาเรารูเขาใจและใชมันใหถูกตอง เราก็จะ
พัฒนาไดอยางดี
โดยสรุป หนาที่ของอินทรีย คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ แยกได ๒ อยาง คือ
๑) หนาที่รู คือรับรูขอมูลขาวสาร เชน ตาดู รูวาเปนอะไร เปนนาฬิกา กลองถายรูป
ดอกไม ใบไมสีเขียว สีแดง สีเหลือง รูปรางยาวสั้นใหญเล็ก หูไดยินเสียงดัง เบา เปนถอยคํา สื่อสาร
วาอยางไร เปนตน ทําใหได data และ information
๒) หนาที่รูสึก หรือ รับความรูสึก พรอมกับรับรูขอมูลเราก็มีความรูสึกดวย บางทีตัวเดนกลับ
เปนความรูสึก เชน เห็นแลวรูสึกสบาย หรือ ไมสบาย ถูกตาไมถูกตา สวยหรือนาเกลียด ถูกหูไมถูกหู
เสียงนุมนวลไพเราะ หรือ ดังแสบแกวหู รําคาญ เปนตน
จะเห็นวา อินทรีย หรือ อายตนะ หรือทวาร ๖ นี้ ทําหนาที่ ๒ อยางพรอมกัน ทั้งรับรู
ขอมูลดวย และรับความรูสึกดวย พรอมกัน
• การรับดานรูขอมูล เรียกวา ดานศึกษา
• การรับดานความรูสึก เรียกวาดานเสพ
เปนอันวา อายตนะทําหนาที่ ๒ อยาง คือ ศึกษา กับ เสพ
ในการดําเนินชีวิตของมนุษยนั้น ถาจะใหมนุษยพัฒนา มนุษยจะตองใชอินทรียเพื่อรู หรือ
ศึกษาใหมาก สวนมนุษยที่ไมพัฒนา จะใชอินทรียเพื่อเสพเปนสวนใหญ บางทีแทบไมใชเพื่อ
การศึกษาเลย เอาแตหาเสพสิ่งชอบใจ ไมชอบใจ ถูกหู ถูกตา เอาสวยงาม สนุกสนานบันเทิงเขาวา
กุญแจสําคัญที่จะตัดสินวามนุษยจะใหชีวิตของตัวเองเปนอยางไร จะพัฒนาหรือไม จะชวยให
โลกหรือสังคมไปทางไหน ก็อยูที่การใชอินทรียนี้แหละ คนที่ไมพัฒนาก็จะ ใชอินทรียเพือ่ เสพสนอง
ความรูสึก อยูกับความรูสึกสบายไมสบาย สุขทุกข ชอบใจ ไมชอบใจ แลวก็วนเวียนอยูอยางนั้น สุข
ทุกขของเขาอยูที่ความชอบใจ ไมชอบใจ เจอสิ่งชอบใจก็เปนสุข เจอสิ่งไมชอบใจก็เปนทุกข แลวก็
หาทางหนีสิ่งที่ไมชอบใจ หาแตสิ่งชอบใจ วนเวียนอยูแคนี้
แตถา ใชอินทรียเพื่อศึกษาสนองความตองการรู ก็จะใชตา หู ไปในทางการเรียนรู และ
พัฒนาไปเรื่อย ๆ ปญญาจะเกิด รูวาอะไรเปนอะไร แลวตอไปก็ถึงจุดแยก คนที่อยูกับการใชอินทรีย
เพื่อเสพความรูสึก ความสุขของเขาก็จํากัดอยูกับสิ่งที่ชอบใจ แตคนที่ใชอินทรียเพื่อศึกษา จะพัฒนา
ความสุขใหขยายขอบเขตกวางขวางออกไป พรอมกับแรงจูงใจที่เกิดขึ้นใหม
เมื่อคนเริ่มศึกษา การพัฒนาก็เริ่มทันที ความตองการอยางใหมก็มี ความสุขอยาง
ใหมกม็ า
ตอนนี้พึงทราบวามีแรงจูงใจ ๒ แบบ
• แรงจูงใจแบบที่ ๑ คือแรงจูงใจในการเสพ เรียกวา ตัณหา ซึ่ง มากับเรื่องของความรูสึก
• แรงจูงใจแบบที่ ๒ คือแรงจูงใจในการศึกษา (และสรางสรรค) เรียกวา ฉันทะ
ซึ่งมากับเรื่องของความรู
ตัณหา เปนความตองการประเภทความรูสึก คือมีปฏิกิริยาสนองตอบตอสิ่งที่ชอบใจไมชอบ
ใจ
ถาชอบใจสิ่งใดก็จะเกิด ตัณหา ปรารถนาจะไดเสพสิ่งนั้นอีก ถาไมชอบใจก็จะเกิด วิภวตัณหา
อยากจะหนี อยากจะหลบ อยากจะทําลาย คนที่เปนนักเสพก็วนเวียนอยูกับแรงจูงใจที่เรียกวา ตัณหา
แตพอเราใชอินทรียเพื่อศึกษา ก็เกิดการเรียนรู พอไดความรูมาก็เกิดความอยากรูยงขึิ่ ้นไปวา
อะไรเปนอะไร พอไดสนองความอยากรูก็เกิดความสุข
จากการสนองความตองการในการรู ความสุขจะพัฒนาขึ้น ตอนนี้จะมีความสุขจาการสนอง
ความใฝรู ยิ่งกวานั้น พอรูวาอะไรเปนอะไร เขาจะเริ่มแยกไดวา เออ…สิ่งนี้มันอยูในภาวะที่ควรจะเปน
ไหม ปญญาที่รูทแี่ ยกไดจะทําใหเกิดความอยาก หรือ ความตองการคืบเคลื่อนกาวไปอีกขั้นหนึ่ง คือ
อยากใหสิ่งนั้น ๆ อยูในภาวะที่มันควรจะเปน ซึ่งเปนธรรมดาของการศึกษาที่จะเปนอยางนั้นเอง เพราะ
ความรูทําใหเราแยก หรือจําแนกได เราเห็นโตะตัวนี้สมบูรณเรียบรอย เราก็พอใจ พอเห็นตัวนันไม ้
สมบูรณบกพรอง เราก็อยากใหมันสมบูรณ
เมื่อความรูแยกแยะไดแลว ก็จะเกิดความตองการ หรือ เกิดความอยากชนิดใหม คืออยากให
มันอยูในภาวะที่ควรจะเปน ซึ่งเรียกสั้น ๆ วา อยากใหมันดี ถามันยังไมดีก็อยากใหมันดี แลวก็กาวไปสู
การอยากทําใหมันดี แลวกาวไปสูพฤติกรรมในการกระทําเพื่อใหมันดี ตอนนี้แหละพฤติกรรมในการ
กระทํา (เพื่อใหมันดี) ก็เกิดขึ้น
พอทําใหดีไดก็เกิดความสุข เพราะ ความสุขเกิดจากการสนองความตองการ เมื่อเราพัฒนา
ความตองการอยางใหมขึ้นได ความสุขก็พัฒนาไปดวย ถาเราไมพฒ ั นาความตองการ ความสุขของ
เราก็จํากัดอยูกับการเสพ คือตองการสิ่งชอบใจ และ ไมตองการสิ่งไมชอบใจ แลวก็วนเวียนอยูกับ
ตัณหา
พอเราพัฒนาในดานความรู เราใช อายตนะ ในเชิงศึกษาเรียนรู ก็เกิดความอยากรูซึ่งเปน
ความตองการใหม เมื่อหาความรูเพื่อสนองความตองการที่จะรู ก็ไดความสุขจากการเรียนรู
เมื่อตองการใหมันดี อยากใหมันดี และไดทําเพื่อสนองความตองการที่อยากใหมันดีนั้นได ก็
เกิดความสุขจากการทําใหมนั ดี
การกระทําก็กลายเปนความสุข
เพราะฉะนั้น มนุษยจึงพัฒนาดวยการศึกษา คือ พัฒนาชีวิตของตน โดยพัฒนาพฤติกรรม
พัฒนาจิตใจ พัฒนาปญญา รวมทั้งพัฒนาความสุขดวย
ตรงนี้เปนจุดสําคัญคือ การพัฒนาความสุข ซึ่งเกิดจากการสนองความตองการใหม ที่เรียกวา
ใฝรู ใฝดี ใฝทําใหดี หรือ ความอยากรูและอยากทําใหมันดี ซึ่งทางพระเรียกวา ฉันทะ เปนแรงจูงใจ
ชนิดใหม ซึ่งถาไมมีการศึกษาก็จะไมมีแรงจูงใจชนิดนี้
ฉะนั้น พระพุทธศาสนาจึงใหเรา ลดตัณหา พยายามทําตัณหาใหนอยลง คืออาศัยมันและขึ้น
ตอมันใหนอยลง พรอมกับพัฒนาและใช ฉันทะ ใหมากขึ้น
แตเรามักจะพูดกันดานเดียว บอกใหลดละตัณหา ทําใหเกิดความเขาใจผิดวาความอยาก
ความตองการตองลดละใหหมดกลายเปนความผิดพลาดอยางใหญหลวง
พระพุทธศาสนาแยก ความอยาก มี ๒ ประเภท คือ
• ความอยากที่เปน อกุศล เรียกวา ตัณหา ความอยากแบบนีถ้ า เราตกเปนทาสของมัน
แลว
จะไมพัฒนา ไดแตจมอยูกับความสุข และ ความทุกขจากความชอบใจและไมชอบใจ
• ความอยากที่เปน กุศล เรียกวา ฉันทะ ถาเราพัฒนาปญญา ความปรารถนาทีเ่ ปน
แรงจูงใจ
ชนิดใหมก็เกิดขึ้น ทําใหเราไดความสุขชนิดใหม และจะนําเรากาวหนาไปในการพัฒนา
ชีวิต
พอเกิดฉันทะ พระพุทธเจาตรัสวานี้คือ แสงเงินแสงทองของชีวิตที่ดีงาม เปนรุงอรุณของการศึกษา ถา
เด็กคนไหนเกิดฉันทะ เกิดความใฝรู เกิดความใฝดี เกิดความใฝจะทําใหดี หรือเกิดความใฝสรางสรรค
ขึ้นมาแลว มั่นใจไดเลยวาเด็กคนนั้นจะพัฒนาแน ๆ เพราะแสงเงินแสงทองมาแลว เราจึงเรียกมันวารุง
อรุณของการศึกษา เพราะฉะนั้นตองใหคนเกิดความอยากที่เรียกวา ฉันทะ และเลิกละความเขาใจผิดที่
บอกวาความอยากเปนตัณหาหมด ซึ่งทําใหเลยเถิดไป กลายเปนวาอยากอะไรไมได ตองละ ตองลด
ตองกําจัดหมด
ถาจะปฏิบัติใหถูก ตองไมมัวลดละความอยาก แตตองเปลี่ยนความอยากที่เปน อกุศล มา
เปน
ความอยากที่เปน กุศล คือฉันทะนี้ใหได ชีวิตก็จะดี ชาติประเทศก็จะพัฒนา ใฝรู ใฝดี ใฝสรางสรรค
หรือ ใฝรูใฝดีใฝทําใหมันดี นี่คือ กุญแจดอกแรกที่จะไขเขาไปสูแกนแทของพระพุทธศาสนา คือการ
เขาถึงความจริงของธรรมชาติ และนําความรูในความจริงของธรรมชาตินั้นมาใชประโยชนในการ
พัฒนาชีวิตของมนุษย ใหเปนชีวิตที่ดีงาม และมีสังคมที่อยูในสันติสุข เริ่มแรก พอเกิดมา เราก็มี
อินทรียที่เปนเครื่องมือในการดําเนินชีวิต ซึ่งใชติดตอสื่อสารกับสิ่งแวดลอม หรือโลกภายนอก ตอนนี้
แหละการดําเนินชีวิตที่ถูกหรือผิด ก็เริ่มทันที
จากที่พูดมานี้ ก็เปนอันวา ชองทางติดตอสื่อสารกับโลกโดยทาง อายตนะ หรือ อินทรีย ๖
ที่เปนทั้งแดนศึกษา และ แดนเสพนี้ ในการพัฒนาคน เราตองใชมันเพื่อการศึกษาใหมากขึ้น ใหเกิด
ความใฝรู ใฝดี ใฝทาํ ใหดี พูดสัน้ ๆ คือ ใฝศกึ ษา และ ใฝสรางสรรค (ใฝรู คือใฝศึกษา ใฝดี
และใฝทําใหมันดี ก็คือใฝสรางสรรค )

การพัฒนามนุษยมีแหลงใหญอยูในมโนกรรม จุดสําคัญนี้ถาพลาดไป ก็คือชองทางใหญสู


หายนะ
ไดพูดแลววา ทวาร คือชองทางของการกระทํา การแสดงออกทางกายวาจาใจ เมื่อเกิดมี
ปญญาและมีเจตจํานงที่ดีมากขึ้น เราก็พัฒนาการกระทําของเราทั้ง ๓ ทางนั้นใหดียิ่งขึ้น คือ
• มโนกรรม ความคิดของเราก็ดีขึ้น
• วจีกรรม การพูดของเราก็ดีขึ้น
• กายกรรม การกระทําทางกายของเราก็ดีขึ้น
กรรม ๓ ทางนี้ก็เปนกระบวนการพัฒนามนุษยที่ครบวงจร
จําไวอยางหนึ่งวาพระพุทธศาสนาถือวา มโนกรรมสําคัญที่สุด คนทั่วไปมักเห็นวากายกรรม
สําคัญที่สุด เพราะถึงขั้นลงมือลงไม เอาอาวุธไปฟนไปฆาเขาได แตขอใหพิจารณาดูหลักที่พระพุทธเจา
ตรัสไววา “ กมฺมนุ า วตฺตตี โลโก ” โลก ( สังคมมนุษย ) เปนไปตามกรรมนั้น เงื่อนไขนี้มาจาก
มโนกรรมเปนสําคัญ ทั้งโลกนี้ไมใชถูกขับเคลื่อนดวยกายกรรมเปนใหญ แตมันมาจากมโนกรรม
กระบวนการรูสึกนึกคิดเชื่อถือในใจของคนนี่แหละเปนปจจัยสําคัญ เจตจํานง แรงจูงใจมาจากไหน
มาจากแนวความคิด ความเชื่อ ความยึดถือในคานิยมหลัก อุดมการณ เปนตน ตรงนี้แหละสําคัญ
ที่สุด
เมื่อมีความเชื่อ แนวความคิด การยึดถืออุดมการณ หรือ แมเพียงคานิยม ซึ่งทางพระใช
ศัพทเดียวงาย ๆ วา “ ทิฏฐิ ” ถาทิฏฐิ เปนอยางไรแลว แรงจูงใจจะมาสนอง แลวตอไปกระบวนการ
ของกรรมก็ดําเนินไป โดยแสดงออกมาทางกายวาจา ซึ่งเปนไปตามที่เชื่อหรือยึดถือนั้น ตัวอยางเชน
ถามนุษยเชื่อหรือ ยึดถือ หรือมีแนวความคิดวา มนุษยจะประสบความสําเร็จ สุขสมบูรณตอเมื่อมีวัตถุ
พรั่งพรอม หรือมีเศรษฐกิจมั่งคั่งที่สุด ถามีความเชื่อ หรือ แนวความคิดแบบนี้ กระแสวัฒนธรรมอารย
ธรรมจะไปตามทัง้ หมด สังคมจะเดินไปตามนี้
ดวยอิทธิพลของความเชื่อนี้ มนุษยจะมุงทําการทุกอยางเพื่อสรางความพรั่งพรอมทางวัตถุ
กระแสวัตถุนิยมจะรุนแรงขึ้นจนกระทั่งกลายเปนบริโภคนิยม
สังคมบริโภคนิยม คือสังคมซึ่งมีฐานความคิดที่เชื่อวามนุษยจะมีความสุขสมบูรณเมื่อวัตถุมี
เสพพรั่งพรอม กระแสวัฒนธรรมอารยธรรมปจจุบนั เปลีย่ นมาเปนบริโภคนิยมเชนนี้ เพราะมี ทิฏฐิ
ที่เปนฐานความคิด หรือ ความเชื่อ ซึ่งสืบมาจากตะวันตก ที่ไดสรางสรรคความเจริญทางวัตถุขึ้นมา
โดยเฉพาะทีเ่ ดนทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แลวเอาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมารับใชสนอง
อุตสาหกรรม ทําการผลิตใหเกิดความเจริญทางเศรษฐกิจ
ตัวการสําคัญในกระบวนการนี้คืออุตสาหกรรม ซึ่งเดิมที่ฝรั่งมุงระดมกําลังทําการผลิตเพื่อแก
ปญหาความขาดแคลน ( scarcity ) แตพออยูในวิถีชีวิตของการผลิสรางวัตถุไปนาน ๆ และจิตใจ
ครุนคิดมุงหมายที่จะมีความพรั่งพรอมทางวัตถุไป ๆ มา ๆ โดยไมตองรูตวั ฝรั่งทั่ว ๆ ไปก็กลายเปนวัตถุ
นิยม หรือมีแนวคิดทิฏฐิวัตถุนิยมเปนกระแสหลัก กลายเปนแนวคิดทิฏฐิวาคนจะมีความสุขมากที่สุด
เมื่อมีวัตถุเสพบริโภคมากมายพรั่งพรอมที่สุด แลวก็เปดทางแกลัทธิบริโภคนิยม
ความเปนไปทั้งหมดนี้มีจุดเริ่มที่โยงกับฐานความคิดใหญ คือ ความมุงหมายที่จะพิชิต
ธรรมชาติ Encyclopaedia Britannica เขียนไวในหัวขอ “ History of Science ” (
ประวัตศิ าสตรวทิ ยาศาสตร ) บอกวา เมื่อถอยหลังไปพันปกอนโนน ตะวันตกลาหลังตะวันออกในดาน
การปฏิบัติจัดการกับธรรมชาติ คือดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แตดวยความมุงหมายที่จะเอาชนะ
ธรรมชาติ จึงทําใหตะวันตกสามารถล้ําหนาตะวันออกไปไดในดานวิทยาศาสรและเทคโนโลยีนั้น
มีหนังสือเลมหนึ่งชื่อวา A Green History of the World เขียนโดย Clive Ponting
ไดพยายามขบคิดในเรื่องการแกปญหาธรรมชาติแวดลอมเสีย หนังสือนั้นไดวิเคราะหแนวคิดของ
ตะวันตกใหเห็นวา อารยธรรมที่ทําใหธรรมชาติแวดลอมเสียนี่เปนมาอยางไร มีบทหนึ่งเขาไดสืบสาว
ความคิดของชาวตะวันตกตั้งแต Socrates, Plato, Aristotle จนมาถึงนักจิตวิทยาอยาง Frseud
รัฐบุรุษอยาง Francis Bacon นักปรัชญาผูนําที่เปนบิดาแหงวิทยาศาสตรสมัยใหมดวยอยาง
Rene Descartes ตลอดจนนักคิดฝายสังคมนิยมคอมมิวนิสตทั้งหมด ลวนมีวาทะที่พูดถึงความ
ใฝฝน หรือความกระหายที่จะพิชิตธรรมชาติ
นักประวัติศาสตรโซเวียตคนหนึ่งถึงกับเขียนไววา ตอไปเมื่อมนุษยเจริญดวยวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ธรรมชาติจะเปนเหมือนขี้ผึ้งอันออนเหลวในกํามือที่เราจะปนใหเปนอยางไรก็ได
Descartes ก็พูดไวแรงมาก Plato, Aristotle ก็พูดแนวนี้ทั้งนั้น
นี่คือจุดมุงหมายที่นําทางความคิดความเชื่อของตะวันตกมาตลอดเวลาสองพันกวาป คือ
ความเชื่อและมุงหมายใฝฝนวา เมื่อไรมนุษยพิชิตธรรมชาติไดสําเร็จ โลกมนุษยจะพรั่งพรอมสุข
สมบูรณเปนโลกที่เปนสวรรคบนดิน จึงทําใหมนุษยชาวตะวันตกไดเพียรพยายามแสวงหาความรูใน
ความเรนลับของธรรมชาติ แลวพัฒนาวิทยาศาสตรและพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมา มโนกรรมคือแนวคิด
ความเชื่อที่วานี้ อยูเบื้องหลังอารยธรรมปจจุบันทั้งหมด นี่คือตัวอยางความหมายที่พระพุทธเจาตรัส
วามโนกรรมสําคัญที่สุด

การพัฒนาคน พัฒนาสังคม ไมมีทางไดผลจริงถาทอดทิ้งฐานของการพัฒนา คือ


มโนกรรม
เปนอันวา อารยธรรมปจจุบันที่มีตะวันตกเปนตัวแทนนี้ เจริญมาดวยแนวคิดพืนฐานคื
้ อความ
มุงหมายพิชิตธรรมชาติ ปจจุบันนี้ตะวันตกกลับมาติเตียนแนวคิดนี้ ดังเชนหนังสือเลมที่กลาวถึงไดติ
เตียนบรรพบุรุษชาวตะวันตกเต็มที่วาลวนแตเชื่อผิด ถือผิด คิดเห็นผิดพลาดไป มุงหมายแตจะเอาชนะ
ธรรมชาติ จึงทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในปจจุบันซึงเป
่ นปญหาใหญที่สุด
ตามแนวคิดทิฏฐิของตะวันตกนั้น มนุษยมองธรรมชาติเปนศัตรู จึงพยายามเอาชนะมัน แลวก็
จัดการกับมันตามชอบใจ โดยไมมีความรับผิดชอบอยาง AlGore รองประธานาธิบดีอเมริกา ซึ่ง
เปนนักสิ่งแวดลอมคือ environmentalist ดวยไดเขียนหนังสือขึน้ มาเลมหนึ่งชื่อวา Earth in the
Balance โลกในภาวะดุลยภาพ โดยบอกวา เรายอมรับวาตะวันตกมีแนวคิดทีท่ าํ ใหอารยธรรมของ
เรานี้ ไมมีความรับผิดชอบตอธรรมชาติ คิดจะทําอะไรกับธรรมชาติตามชอบใจ
ความสํานึกผิด และ ความผิดหวังตอแนวคิดทิฐิที่จะพิชิตธรรมชาติของตะวันตกนี้ เปนเหตุให
ฝรั่งหาทางแกไข รวมทั้งการหันมาสํารวจและแสวงหาแนวคิดตะวันออก และแมแตความคิดของ
ชนอินเดียนแดงที่เคยถูกเหยียดหยาม กลับไดรับความชื่นชม ฝรั่งอเมริกันหลายคน เชน AlGore
ไดยกวาทะของ Seattle หัวหนาเผาอินเดียนแดง ( ซึ่งเอาชื่อมาตั้งเปนชื่อเมือง Seattle ในอเมริกา )
ขึ้นมาเอยอาง ตามเรื่องวา เมื่อครั้งประธานาธิบดี Franklin Pierce ติดตอขอซื้อที่ดินของ
อินเดียนแดง
หัวหนาเผาคนนี้ไดมีหนังสือตอบประธานาธิบดีไปวา
“ อะไรกัน ผืนฟา และ แผนดิน ทานจะเอามาซื้อขายไดอยางไร นี่เปนความคิดที่แปลก
ประหลาด ”
ตอนนี้ คนอเมริกันยุคปจจุบันหันมายกยองสรรเสริญวาอินเดียนแดงมีความคิดที่ถูกตอง นี่แหละ…
ความคิดพิชิตธรรมชาติเปนเบื้องหลังอารยธรรมปจจุบัน ซึ่งเฟองฟูเต็มที่ในยุคอุตสาหกรรม ที่มนุษย
เอาความรูวิทยาศาสตรมาประดิษฐอุปกรณเทคโนโลยี แลวก็พัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อความเจริญทาง
เศรษฐกิจ ดวยความมุงหมายที่จะสรางวัตถุใหพรั่งพรอมตามความเชื่อวา “ มีเสพบริโภคมากที่สุด จะ
เปนสุขที่สุด ”
แนวคิดทิฐิความเชื่อที่เปนมโนกรรมนี้เปนอิทธิพลสําคัญที่สุดที่จะเปนตัวกําหนดวิถีชีวิตและสังคม ถา
คนในสังคมไทยมีความเชื่อวา ผลสําเร็จจะเกิดขึ้นจากการดลบันดาลของอํานาจเหนือธรรมชาติ ถาคน
ไทยเชื่ออยางนี้ สังคมไทยจะเปนอยางไร ขอใหพิจารณาแลวขณะนี้เปนหรือเปลา
สังคมไทยจะโดยรูตัวหรือไมรูตัวก็ตาม ไดตกอยูใตแนวคิดความเชื่อวา ผลสําเร็จจะเกิดขึ้นได
ดวยอํานาจดลบันดาลของสิ่งที่นอกเหนือธรรมชาติ นี่คือจุดที่เราจะตองแกปญหาสังคมไทยถึงขั้น
มโนกรรม เหมือนกับที่ฝรั่งขณะนี้กําลังหาทางแกปญหาการพัฒนาที่ไมยั่งยืน ตองลงไปถึงขั้นรากฐาน
ความคิด ถึงขั้นตองแกความเชื่อในการพิชิตธรรมชาติ ที่ถือวา มนุษยจะมีความสําเร็จและสุขสมบูรณ
ตอเมื่อมีอํานาจจัดการกับธรรมชาติไดตามตองการ
แนวคิดทิฐิสองอยางนี้ เปนปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาที่สุดโตงไปคนละดาน แตจุดที่เปนตัว
แท
ของปญหาก็อยูที่ปมเดียวกัน คือมันบงชี้วามโนกรรมสําคัญที่สุด และที่วาโลกนี้เปนไปตามกรรม คือ
เปนไปตามมโนกรรมอยางที่วานั่นแหละ

ตราบใดยังไมถึงจุดหมาย ยังมีชีวิตอยู ก็ตองศึกษา


ความหมายของธรรมที่ปฏิบัติ จึงวัดดวยไตรสิกขา
เกณฑวินิจฉัยความหมายของหลักธรรมในพระพุทธศาสนา วาปฏิบัติอยางไรถูก อยางไรผิด
เวลาศึกษาหลักธรรมตาง ๆ เรามักเนนเรื่องความหมายกันแควา ธรรมขอนี้คืออะไร มีความหมายวา
อยางไรแตการใหความหมายเทานั้นยังไมพอ ตองมีเกณฑที่สัมพันธกับระบบทั้งหมดได
ธรรมทั้งหมดสัมพันธสงผลตอกันเปนกระบวนการ และอยูในระบบเดียวกันอยางที่พูดถึง
ไตรสิกขา ก็เปนระบบในตัวของมันแลว ระบบของไตรสิกขนั้นก็ยังไปเปนสวนยอยที่รวมอยูในระบบ
ใหญของอริยสัจที่คลุมระบบใหญของธรรมชาทั้งหมดอีกชั้นหนึ่ง คือวาดวยกฎธรรมชาติที่ครอบคลุม
ทั้งความเปนจริงของธรรมชาติทั่วไป และโยงมาถึงชีวิตมนุษยที่เปนธรรมชาติสวนหนึ่งดวย
เกณฑที่จะใชตรวจสอบนี้ตองใหเห็นความสัมพันธเชื่อมโยงในระบบ เกณฑหนึ่งก็ คือ
ไตรสิกขา เนื่องจากวาคุณสมบัติและขอปฏิบัติหรือหลักธรรมทุกอยางก็อยูในกระบวนการปฏิบัติที่
เรียกวา ไตรสิกขาทั้งหมด ไมเกินจากนี้ไปได เมื่อเปนเชนนั้นมันจะตองมีสวนรวมสงผลอยูใน
กระบวนการของ ไตรสิกขา
ไตรสิกขา คือกระบวนการฝกฝนพัฒนามนุษย มีขอปฏิบัติยอย ๆ ที่สงผลตอทอดกันคืบหนา
ไปเรื่อยจนถึงจุดหมาย ถาไมถึงจุดหมายก็ไมหยุด เทากับมีเกณฑที่บอกวา ขอปฏิบัติ หรือ
หลักธรรมทุกขอ จะตองชัดวาสงผลใหมีการกาวหนาไปในกระบวนการของไตรสิกขาอยางไร คือจะตอง
ทําใหเราเดินหนาและสงผลตอใหขออื่นรับชวงไปจนถึงจุดหมายสุดทายนั้น รวมความวา ธรรมะตาง ๆ
ที่เปนองคประกอบในกระบวนการไตรสิกขานี้ ตองมีลักษณะ ๒ อยาง คือ
• ทําใหคืบเคลื่อนหรือกาวหนาไป
• สงผลตอขออื่น
ในการปฏิบัติ สมาธิ เราไดความหมายของสมาธิไวแตตน วา จิตตั้งมั่น สงบ แนวแน พอจิต
ตั้งมั่นสงบ
แนวแนไดตามความหมายแลว เราก็พอใจนึกวาถูกแลว แตยังหรอก ลองเอาเกณฑมาตรฐานมาวัด วา
ถูกตามหลักไตรสิกขาหรือไม พอวัดดวยเกณฑนี้ เราก็จะมองเห็นตอไปอีกวา ออ ถาปฏิบัติสมาธิถูกจะ
ไมใชหยุดอยูแคนั้น คือไมติดอยูแคสมาธิ แตตองชวยใหเรากาวตอไป แลวก็ดูวาสมาธิสงผลตอปญญา
อยางไร ถาไมสงผลตอก็แสดงวาพลาด
สมาธินั้นมีผลดีหลายอยาง มีทั้งผลโดยตรงและผลขางเคียง เชน ทําใหจิตใจสงบ สบาย มี
ความสุข ทําใหจิตใสมองเห็นอะไรชัดเจน และทําใหเกิดกําลัง ทําใหมุงแนวไปอยางแรง เหมือน
กระแสน้ําที่ไหล
ลงมาจากภูเขาวิ่งไปทางเดียว มีกําลังแรงมาก เจออะไรก็พัดพาไปได
สรุปวา จิตสมาธิมีคุณสมบัติ หนึ่ง…มีพลัง สอง…สงบสบาย มีความสุข สาม…ใส
มองเห็นอะไร ชัดเจน เมื่อไดคุณสมบัติเหลานี้ เราก็เอามาใชอยางใดอยางหนึ่ง เชน พอสงบสุขสบาย
ก็อาจจะเอามาใชในการแกปญหาชีวิตประจําวัน เวลามีความทุกขก็มานั่งสมาธิใหจิตใจสงบ เพลิน
สบาย หายทุกข ซึ่งก็ไดประโยชนอยางหนึ่ง แตยังไมถูกตองตามหลักไตรสิกขา ถาใชประโยชน
เพียงแคนี้ก็กลายเปนหยุด ไมกาวตอไป อาจจะเขวออกเปน มิจฉาสมาธิ ไมแคเปนสิ่งกลอม เหมือน
ยากลอมประสาท เปนตน เอาแคสบาย
ไมตองคิดทําอะไร มีทุกขก็เขามาหลบซึ่งมีทางพลาดไดมาก
วิสทุ ธิมรรค บอกวา สมาธินั้นเขาพวกกันไดกับความขี้เกียจ ( สมาธิสฺส โกสชฺชปกฺขตฺตา )
เพราะวามันสงบสบาย โนมเอียงไปทางเกียจคราน เฉื่อยชา ไมอยากทําอะไร กลายเปนตกหลุมความ
ประมาท นั่นก็คือเริ่มเขว ฉะนั้นการใชประโยชนสมาธิจะตองระวังถาใชไมเปนก็เกิด โทษ ได

สังคมไทยบางทีศึกษาธรรมะไมตลอดกระบวนการ และไมมีหลักในการวินิจฉัย คนไทยไมนอย


เอาสมาธิมาใชแคหาความสุข สงบสบาย ซึ่งก็ใชไดในระดับหนึ่ง ทานไมไดปฏิเสธ จะเอามาใชเปน
เครื่อง
พักผอนจิตใจ หรือ แกปญหาความทุกขก็ได อยางนอยทําใหนอนหลับได ทําใหมีจิตใจสดชื่นขึ้น
แตตองมองตอไปวาประโยชนยังไมจบแคนั้น สมาธิชวยใหเรามีความเขมแข็งพรอมที่จะเดินหนาตอไป
ดวย
จึงตองมองตอไปอีกวาจะมีองคธรรมอะไรมารับผลจากสมาธิเพื่อจะกาวตอไป ก็จะเห็น
หลักไตรสิกขา วาตองสงผลตอให ปญญามารับชวงทํางานเดินหนาตอไป
ประโยชนที่สําคัญของสมาธิ คือ ทําใหจิตเปน “ กัมมนีย ” แปลวา ควรแกงาน หรือ เหมาะ
แกงาน คือใชเปนที่ทํางาน ซึ่งปญญาจะทําหนาที่ไดดี เชน มองเห็นชัด สํารวจตรวจสอบไดเปนลําดับ
พิจารณาได
ลึกซึ้ง วิเคราะหวิจัยไดละเอียด จนเขาถึง ความจริงแจมแจง สมาธิที่ทําใหคนหยุดศึกษา แสดงวา
เปน
สมาธิที่ใชผิด

สมาธิเตรียมจิตพรอมใหปญ  ญาทํางานเดินหนา ฉันใด


สันโดษก็เตรียมตัวพรอมใหมุงเพียร ไมพะวักพะวน ฉันนั้น
อีกตัวอยางหนึ่ง คือ สันโดษ ซึ่งทําใหพอใจในวัตถุเสพบริโภคของตน มีเทาไรก็ยินดีเทานั้น
หลายคนบอกวาสันโดษแลวจะไดมีความสุข ก็ถูกตอง แตผิดดวย ถาใครตอบวาสันโดษเพื่อสุขก็ผิดแน
ๆ พุทธศาสนาไมไดสอนอยางนั้นแคนั้น
ความสุขเปนผลพลอยไดของสันโดษ ตามมาเอง แตยังไมใชวัตถุประสงค ผลที่ตองการไมได
อยูที่นี่ ผลที่ตองการจากสันโดษคืออะไร
เราสันโดษแลวจะไดอะไรขึ้นมา ที่จะเปนความคืบหนาและชวยใหกาวตอไปในไตรสิกขา
พอสันโดษในวัตถุ เราก็สุขกับวัตถุที่มีอยูหรือไดมาแลว สุขงายดวยวัตถุนอย มีวัตถุแคนี้ก็สุขแลว ตรง
ขามกับตอนที่ไมสันโดษเราไมสุขสักที ความสุขของเราไปอยูกับวัตถุที่ยังไมได เราจึงกระวนกระวาย
โลดแลนหาวัตถุเสพ เวลาของเราใชหมดไปกับเรื่องนี้ ความคิดก็ครุนวุนวายกับการที่จะไปหาสิ่งเสพ
วาทําอยางไร
จะไดอันนั้นอันนี้มา
ความไมสันโดษจึงทําลายเวลา สิ้นเปลืองแรงงาน และสิ้นเปลืองความคิดที่จะใชในการ
สรางสรรค
เพราะฉะนั้นทานจึงใหสันโดษ เพื่อจะไดสุขกับวัตถุไดงาย พอสุขกับวัตถุไดงายแลว เราไมใชอยูเฉย ๆ
งานการหนาที่ของเรามีอยูแลว ตอนนี้เวลาแรงงานและความคิด เราออมไวได เราก็เอาเวลาเรีย่ วแรง
ความคิดนั้นไปทุมเทใหกับการทํากิจหนาที่ งานภารกิจหนาที่นั้นก็เดินหนากาวไปไดดี
สรุปวา สันโดษเพื่อเตรียมพรอม สันโดษเปนธรรมะขั้นเตรียมพรอม คือใหพรอมที่จะกาว
ตอไป ธรรมะนี่มีทั้งขั้นเตรียมตัวใหพรอม และขั้นกาวเดิน สันโดษเปนธรรมะประเภทเตรียมตัวใหพรอม
พอเราพรอมแลว เราไมพะรุงพะรัง ไมมัวกังวล ไมมัวพะวักพะวนกับการหาสิ่งเสพบํารุงบําเรอตัวเอง ที
นี้จะทํางานการสรางสรรคอะไรก็ไปมุงหนาแนวดิ่งไปเลย
พระพุทธเจาไมตรัสสันโดษไวโดดเดี่ยว หรือลอย ๆ แตตรัสไวกับการทําหนาที่และความเพียร
ในการทําหนาที่นั้น เชนสําหรับพระสงฆ ทรงสอนใหสันโดษในจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ เสร็จแลวก็ให
ยินดีในการละอกุศล และพัฒนากุศล ทรงสอนใหไมสันโดษในการพัฒนากุศลนั้น
พูดสั้น ๆ วา ใหสันโดษในวัตถุเสพบริโภค แตใหไมสันโดษในกุศลธรรมทั้งหลาย ถาเปนกุศล
ธรรม สิ่งที่ดีงาม การสรางสรรคคุณความดีที่ประเสริฐ พระองคทรงสอนไมใหสันโดษ พระพุทธองคเอง
ก็ไมสันโดษและเพียรไมระยอ หลักการนี้มีทั้งในพระสูตรและอภิธรรม ถาสอนสันโดษตองสอน
ความไมสันโดษดวยพรอมกัน และตองรูวาใหสันโดษในอะไร ไมสันโดษในอะไร คือ
• ใหสันโดษในวัตถุเสพ ที่จะบํารุงบําเรอตนเอง หาความสุขสวนตัว
• ใหไมสนั โดษในกุศลธรรม ในการทําความดีงาม ในการทําการสรางสรรค
สันโดษกับ ไมสันโดษ จึงไปดวยกันไดอยางดี สันโดษมาหนุนความไมสนั โดษ ชวยใหเรากาว
ตอไปในไตรสิกขา ใหสามารถทํากรรมที่ดียงิ่ ขึ้น ในการพัฒนาชีวิตและสังคม นี่เปนตัวอยางของ
เกณฑวินิจฉัย

ถาคนไทยตั้งอยูในหลักสี่ จะไมตกหลุมวิกฤติ ถึงแมถลําไป ก็จะถอนตัวขึ้นสู


วิวัฒนไดโดยพลัน
หลักธรรม ๔ ประการตอไปนี้ เปนหลักการใหญขั้นพื้นฐานของพระพุทธศาสนา ซึ่ง
พระพุทธเจาตรัสย้ําอยูเ สมอ แตตามปกติตรัสไวเปนอิสระจากกัน เพราะมีนัยโยงถึงกัน หรือครอบคลุม
กัน ในที่นี้ขอยกมาย้ําไวในที่เดียวกัน ถือวาเปนแกนแทที่ปฏิบัติไดทันทีและเหมาะกับสถานการณ
ปจจุบันของสังคมไทย
หลักสําคัญเหลานี้จะตองใชในยุคปจจุบัน โดยเฉพาะในการแกวิกฤติของสังคมไทย และ
สรางสรรคประเทศชาติตอไปขางหนา คนไทยตองอยูกับหลักการ ๔ อยางตอไปนี้ใหได คือ
๑. หลักการกระทํา คือมุงทําการใหสําเร็จดวยความเพียรพยายาม โดยเฉพาะความเพียรของ
ตนเอง หลักนี้เรียกวา หลักกรรมและความเพียร พระพุทธเจาตรัสวา เราเปนกรรมวาที เราเปนวิริ
ยวาที
พระองคไมไดตรัสอยางเดียว แตตรัสคูกันวา กรรมวาที และ วิรยิ วาที " เราเปนผูกลาวหลักการ
กระทํา
เราเปนผูกลาวหลักความเพียร ” คนจะทําตองมีความเพียร ถาไมมีความเพียรก็กาวไปในการทําไมได
พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงกรรมและวิริยะ ใหหวังผลสําเร็จจากการกระทําดวยเรี่ยวแรงกําลังของ
ตน
ไมมวั หวังผลจากการออนวอนนอน รอผลดลบันดาลจากลาภลอย จากการรวยทางลัด การทุจริต
การเสี่ยงโชค การพนัน เปนตน
สรุปวา ตองถือหลักการกระทําใหสําเร็จดวยความเพียร ขอยกพุทธพจนมาย้ําไววา
“ ภิกษุทั้งหลาย พระผูม ีพระภาคเจาทั้งหลายแมที่ไดมีแลวในอดีตกาล... พระผูมีพระภาคเจา
ทั้งหลาย
แมที่จักมีในอนาคตกาล… แมเราเองผูเปนอรหันตสัมมาสัมพุทธะในบัดนี้ ก็เปนกรรมวาท
( ตรัสหลักกรรม ) เปนกิริยวาท ( ตรัสหลักการที่จะตองทํา ) เปนวิรยิ วาท ( ตรัสหลักความเพียร
)”
( องฺ.ติก.๒๐/๕๗๗/๓๙๖)
๒. หลักการศึกษาพัฒนาตน คือ ตองถือเปนหนาที่โดยมีจิตสํานึกที่จะฝกตนใหกาวหนาตอไป
ในการทํากุศลกรรมตาง ๆ ที่จะใหชีวิตและสังคมดีงมยิ่งขึ้น นี่เรียกวา หลักไตรสิกขา
ตามหลักเรื่องธรรมชาติของมนุษยวา มนุษยเปนสัตวที่ประเสริฐดวยการฝก ดังนั้น ในการที่
จะ
กาวไปสูความดีงาม ความประเสริฐสมบูรณนั้น ชีวิตตองพัฒนาดวยไตรสิกขาเพื่อกาวไปขางหนา ชีวิต
จะตองดีขึ้น ตองเรียนรู ตองฝกฝน ตองศึกษา ตองพัฒนาเสมอไป จะตองไมมัวหยุดอยูกับที่
ขอยกคาถาพุทธพจนแหงหนึ่งมาไวเตือนใจวา “ เพราะฉะนั้นแล เปนคนอยูในโลกนี้ พึงศึกษา
ตามหลักไตรสิกขาเถิด สิ่งใดก็ตามที่พึงรูไดในโลกวาเปนสิ่งผิดรายไมดี ไมพึงประพฤติผิดรายไมดี
เพราะเห็นแกมัน ปราชญทั้งหลายกลาววาชีวิตนั้นนอยนัก " ( ขุ.สุ.๒๕/๔๐๙๔๘๕ )
พรอมทั้งพุทธภาษิตวา “ ในหมูมนุษย คนที่ฝกแลวเปนผูประเสริฐ ” ( ขุ.ธ.๒๕/๓๓/๕๗ )
๓. หลักไมประมาท ในการที่จะทําอะไร ๆ ดวยความเพียรและในการที่จะพัฒนาตนนั้น
จะตองไมประมาท ตองตระหนักในความสําคัญของกาลเวลาและความเปลี่ยนแปลงวา ในขณะที่เรา
ดําเนินชีวิตอยูนี้
สิ่งทั้งหลายรอบตัวเราและชีวิตของเราลวนไมเที่ยงแทแนนอน ทุกอยางเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา เรา
จะมัวนิ่งนอนใจอยูไมได มีอะไรที่ควรจะทําตองรีบทํา ตองเรงขวนขวายไมประมาท ไมผิดเพี้ยน ไมนอน
ใจ
หลักไมประมาทนี้ พระพุทธเจาทรงสอนวาเหมือนกับ รอยเทาชาง ทีค่ รอบคลุมธรรมะของ
พระองคไวหมด แลวก็เปน ปจฉิมวาจา ของพระองคกอนปรินิพพานดวย จึงถือวาสําคัญอยางยิ่ง
ในความไมประมาทนี้ แมสังคมก็จะหยุดนิ่งไมได เพราะสังคมมีแนวโนมวา เมื่อไรมี
ความสําเร็จ เมื่อไรเจริญดีมีความพรั่งพรอม เมื่อไรมีความสุขสบาย คนจะเริ่มเฉื่อยลงและเริม่ ออน
แรงแลวก็เริ่มประมาท
สังคมมักจะเปนอยางนั้น คือ พอสบายก็ประมาท หันไปฟุงเฟอมัวเมาหลงระเริง ติดใน
ความสุขสบาย เพลิดเพลิน สําเริง สําราญ ลุมหลงในการบันเทิง ไมเรงรัดขวนขวายทํากิจหนาที่ ผัด
เพี้ยนเฉื่อยชา
เพราะฉะนั้น ผูบริหารสังคมจะตองคอยกระตุนเตือนปลุกเราประชาชนใหไมประมาทมัวเมาทุก
เวลา
เครื่องพิสูจนการพัฒนามนุษยอยางหนึ่งคือ ทั้งที่สุขสบายก็ไมประมาท ถาใครทําไดสําเร็จอยางนี้
เมื่อไรก็มีคุณสมบัติที่จะเปนพระอรหันต พระพุทธเจาตรัสวา บุคคลเดียวที่จะไมประมาทเลยเปนอัน
ขาด คือพระอรหันต นอกจากนั้น แมแตพระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ก็ยังประมาทได
คือพอประสบความสําเร็จไปเทานี้ ก็พอใจวาเราไดกาวหนามามีความดีเยอะแลว ก็ชักเฉื่อย พอเฉื่อย
ลง
พระพุทธเจาก็ตรัสวาเธอประมาทแลว
ในพระพุทธศาสนานี้ ทานไมใหหยุดในการสรางสรรคกุศลธรรม ตราบใดยังไมถึงจุดหมาย ก็
ตองกาวไปในไตรสิกขาโดยไมประมาท ตองกาวตอไป ๆ พระพุทธเจาตรัสไววา “ เราไมสรรเสริญ
แมแต
ความตั้งอยูไดในกุศลธรรมทั้งหลาย ไมตองพูดถึงความเสื่อมถอยจากกุศลธรรมทั้งหลาย เรายกยอง
สรรเสริญอยางเดียว แตความกาวหนาตอไปในกุศลธรรมทัง้ หลาย ” ( องฺ.ทสก. ๒๔/๕๓/๑๐๑ )
พุทธพจนนี้แสดงหลักเดียวกัน คือความไมประมาท
๔. หลักพึ่งตนได ซึ่งทําใหมี อิสรภาพ การพึ่งตนคือ ตองทําใหแกตัวเราดวยตนเอง จึงตอง
พัฒนาตัวเอง คือ เราพัฒนาตนเองเพื่อใหทําไดดวยตนเอง เมื่อเราทําไดดวยตนเองเราก็พึ่งตนได
ถาเราทําไมได เราก็ยังพึ่งตนเองไมได
เราตองพยายามพึ่งตนใหได แตเราจะทําไดดวยตนเองและพึ่งตนได เราตองทําตนใหพึ่ง
ตนได โดยฝกตนขึ้นไปใหทําไดทําเปน
พระพุทธเจาเนนเรื่องการทําตนใหพึ่งตนได หรือทําตนใหเปนที่พึ่งได มากกวาเนนการพึงตน

ถาพูดวาใหพึ่งตน แตเขาไมมีความสามรถที่จะพึ่งตนแลว เขาจะพึ่งตนไดอยางไร ก็ไดแตซัดกันวา
นี่เธอยากจน เธอก็พึ่งตนสิวาอยางนั้น มันจะพึ่งตนอยางไรในเมื่อไมมีความสามารถที่จะพึ่งตนนั้น
เพราะฉะนั้น อยาพูดแคพึ่งตนซึ่งเปนเพียงคําเตือนเริ่มตนแตตองกาวตอไปสูการฝกฝนปฏิบัติ
ซึ่งเปนคําสอนที่แทวา จงพยายามพึ่งตนดวยการทําตนใหเปนที่พึ่งได แลวทําอยางไรจะใหตนเปนที่พึ่ง
ไดก็ตองฝกตองศึกษาพัฒนาตน
พอพัฒนาตนก็เขาไตรสิกขา ซึ่งทําใหตนเองมีคุณสมบัติคุณภาพดีมากขึ้นสามารถทํากิจกรรม
ตาง ๆ ที่เปนกุศลยิ่งขึ้น ไดผลดียิ่งขึ้น ก็พึงตนเองได พอพึ่งตนเองได ก็ไมตองพึ่งคนอื่น ก็เปนอิสระ
กลายเปนวาสามารถเปนที่พึ่งของคนอื่น
ความเปนอิสระนี้ มิใชเฉพาะการไมตองคอยพึ่งพาขึ้นตอคนอื่นเทานั้น แตหมายถึงการไมตอง
พึ่งพาขึ้นตอวัตถุมากเกินไปดวย ดังนัน้ อิสรภาพที่สําคัญมากอยางหนึ่ง จึงหมายถึงการมี
ความสามารถที่จะมีความสุขในตัวเองไดมากขึ้น โดยพึ่งพาขึ้นตอวัตถุเสพบริโภคนอยลง คือเปนคนที่
สุขไดงายขึ้น ไมตองเอาชีวิตไปขึ้นตอวัตถุ ไมตองเอาความสุขไปฝากไวกับสิ่งเสพบริโภค ซึ่งจะทําใหลด
ความแยงชิงเบียดเบียนกันในสังคม
พรอมกันนั้น เมื่อไดพัฒนาตนเองใหมีความสามารถมากขึ้นทั้งในการที่จะมีความสุขที่เปน
อิสระ และในการที่จะทําการสรางสรรคตาง ๆ ก็จะทําใหทั้งชีวิตของตัวเองก็ดีขึ้น และสามารถเกื้อกูล
แกผูอื่นหรือแกสังคมไดมากขึ้น พรอมไปในคราวเดียวกัน ขอยกพุทธภาษิตมาย้ําเตือนอีกวา
“ ตนแลเปนที่พึ่งของตน โดยแทจริงคนอื่นใครเลาจะเปนที่พึ่งได มีตนที่ฝกดีแลวนั้นแหละ
คือ
ไดที่พึ่งที่หาไดยาก ” ( ขุ.ธ.๒๕/๒๒/๓๖ )
หลัก ๔ ประการนี้สัมพันธเปนอันเดียวกัน แตแยกในเชิงปฏิบัติใหใชไดเหมาะสม และไดผล
จริงจัง การปฏิบัติจากทุกหลักจะมาบรรจบประสานเปนอันเดียวกัน
ขอทวนอีกครั้งวา หลัก ๔ ประการนี้ตองย้ําอยางที่สุด เพราะเปนหลักใหญของพระพุทธศาสนา และ
เหมาะสมยิ่งกับยุคปจจุบัน
๑. ทําการใหสาํ เร็จดวยความเพียรพยายาม
๒. เรียนรู ฝกศึกษาพัฒนาตน ใหชีวิตและสังคมกาวหนาไปสูความดีเลิศประเสริฐยิ่งขึ้น
๓. มีความไมประมาท กระตือรือรน ขวนขวายสรางสรรคสิ่งที่ดีงาม ไมปลอยเวลาให
เสียไปโดยเปลาประโยชน
๔. พึ่งตนได มีอิสรภาพ พรอมที่จะเผื่อแผความสุข เปนที่พึ่งแกผูอื่นได
มีสี่ขอนี้พอแลว ประเทศไทยพัฒนาไดแน

แกนแทของพุทธธรรม คือความหลุดพนพึ่งตนได
ในสังคมของกัลยาณมิตร ผูมีชีวิตที่เกื้อกูลกัน
ขอจบดวยคําสรุปตามหัวขอที่ตั้งไวใหวา “ แกนแทของพระพุทธศาสนา ” นั้นมีอยูใน
พระสูตรหนึ่งชื่อวา มหาสาโรปมสูตร ซึ่งพระพุทธเจาไดตรัสเรื่องแกนของพระพุทธศาสนาไว มี
ใจความตามพระสูตรนีว้ า ชีวิตที่ประเสริฐ ( พรหมจริยะ ) คือตัวพระพุทธศาสนานี้ เปรียบไดกับ
ตนไม ซึ่งมีองคประกอบตาง ๆ คือ ลาภสักการะ เหมือนกิ่งใบ
ศีล เหมือนสะเก็ดไม
สมาธิ เหมือนเปลือกไม
ปญญา เหมือนกับกระพี้ไม
วิมตุ ติ ( ความหลุดพน ) เปนแกน
ตรงนี้แหละ มาถึงแกนแทของพระพุทธศาสนา คือ ความหลุดพนเปนอิสระ เขากับหลักที่พูดสุดทาย
วา
จะตองพัฒนาตนใหพึ่งตนเองได และเปนอิสระ จนกระทั่งในที่สุดเปนอิสระทางจิตใจและปญญา
เราพึ่งคนอื่น เชน พึ่งพระพุทธเจา ก็เพื่อทําตัวเราใหพึ่งตนเองได พระพุทธเจาชวยใหเราพึ่งตนเองได
นั่นเอง จุดหมายก็คือพึ่งตนเองไดเปนอิสระ เพราะฉะนั้นหลักพุทธศาสนาจึงมาถึง แกนแทที่สูงสุด คือ
วิมุตติ
ความหลุดพน เปนอิสระ แกนแทของพระพุทธศาสนา ก็จบลงตรงนี้เอง
ตอนแรกเปนอิสระทางพฤติกรรม ซึ่งหมายถึงพฤติกรรมที่เปนอิสระทางสังคม ทําอะไร ๆ พูด
อะไร ไดโดยไมถูกบังคับครอบงํา ขมเหง แตพรอมกันนั้นก็ตองเปนพฤติกรรมที่เกิดจากจิตใจที่เปน
อิสระจากกิเลส จึงจะเปนอิสระจากการเบียดเบียนกันแทจริง อิสรภาพที่แทจึงไมใชเปนพฤติกรรม แต
เปนภาวะทางจิตใจและปญญา และอิสรภาพที่สมบูรณคืออิสรภาพทางปญญา
ดานพฤติกรรมนั้น ทานไมสอนใหเปนอิสระแบบแยกตางหากจากกัน หรือตางคนตางอยู แต
พฤติกรรมนั้นทานมุงใหพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ใหเกื้อหนุนกันดวยวัตถุและเรี่ยวแรงกําลังเปนตน
โดยรูเทาทันวาวัตถุทรัพยสินภายนอก รวมทั้งลาภสักการะทั้งหลาย เราตองอาศัยแตมันเปนเพียง
ปจจัยเกื้อหนุน เหมือนเปนกิ่งใบ ไมใชเปนแตแกนสาร
ดานพฤติกรรมเกี่ยวกับชีวิตภายนอกนี้ ใหเราเปนที่พึ่งแกคนอื่นได พรอมกับเราตองพึ่งคนอื่น
ดวย ใหสังคมเปนสังคมประเภทพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เปนกัลยาณมิตรของกันและกัน โดยแตละ
คนก็มีอะไรใหคนอื่นไดพึ่งบาง ตางก็เกื้อหนุนกัน ใหสังคมอยูผาสุก และใหแตละคนมีโอกาสพัฒนา
ยิ่งขึ้นไปใน
ไตรสิกขา เพื่อใหแตละคนมีอิสรภาพที่พึ่งตนไดแทจริงทางจิตใจและทางปญญา อยางนี้จึงจะเปน
สังคมที่ดี
ขอใหดูวินัยของพระ คือชีวิตในสังฆะตามพุทธบัญญัติ จะเห็นชัดวาเปนอยางนี้ พระพุทธเจา
ทรง
จัดวางเปนแบบไว คือสังคมสงฆเปนสังคมตัวอยางแหงการที่แตละคนพยายามพัฒนาตนใหมีอิสรภาพ
ทาง
จิตใจและปญญา โดยที่ชีวิตทางดานพฤติกรรมนั้นพึ่งพาอาศัยเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เปนการเกื้อหนุน
กันใหกาวไป ไมใชชวยใหเขาไมตองทําแลวคอยรอรับความชวยเหลือ

คนที่มีอิสรภาพทางจิตใจและทางปญญาเทานั้น จึงจะสรางสรรคสังคมอยางนี้ และอยูกัน


ดวยดีในสังคมอยางนี้ได
เรื่องแกนแทของพระพุทธศาสนา พูดมาถึง แกนธรรมเพื่อชีวิต แลว ขอจบเพียงนี้ แมวาที่
จริงยังมีหัวขอที่ควรพูดอีก ๒ เรื่อง หรือ ๒ บท คือ แกนธรรมเพือ่ สังคม กับ แกนธรรมเพือ่ โลก
แตจําเปน
ตองยุติเพราะความยาวที่เกินเวลา
ขออนุโมทนาทานอธิบดี ทานรองอธิบดี ทานผูอํานวยการและทานผูบริหารระดับสูงของ
กรมการศาสนา
ขอความเจริญผาสุกจงมีแดทุกทาน

***********************************

Anda mungkin juga menyukai