Anda di halaman 1dari 15

ด.ช. นราธิป เดชารัตน์ เลขที่ 8 ชั้น ม.

2/9
ด.ช. ธวัชชัย ใจดี เลขที่ 6 ชั้น ม.2/9
» ไบออส (BIOS : Basic input Output System)
• คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานในการบู๊ตเข้าระบบคอมพิวเตอร์ ถูกติดตั้งอยูใ่ นชิบประเภท ROM บนเมนบอร์ด การทำงานของ ไบออส จะ
ทำงานหลังจากมีการเปิ ดสวิทซ์ ทันที ที่มีการใช้งานคอมพิวเตอร์ โดยจะทำการตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งในคอมพิวเตอร์ เช่น harddisk, disk
drive, cd-rom, ram เป็ นต้น
• ไบออส บางครั้งก็เรี ยกว่า ซีมอส (CMOS) แต่ความเป็ นจริ งแล้วเป็ นคนละส่ วนกัน คือ ไบออส เป็ นโปรแกรมที่เก็บในรอม ไม่จำเป็ นต้องมีพลังงานไฟฟ้ ามาใช้
ในการเก็บข้อมูล ส่ วน ซีมอส จะทำหน้าที่เก็บข้อมูลในการบู๊ตระบบ มีหลักการทำงานคล้ายแรม ซึ่งต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้ าเลี้ยงตลอดเวลา โดยปกติจะอาศัยพลังงาน
จาก แบตเตอร์รี่ ภายในเครื่ องคอมฯ (ปัจจุบนั ไบออสและซีมอส ได้ถูกรวมกันเป็ นชิบตัวหนึ่ง ๆ )

• BIOS?บางยีห่ อ้ อาจกำหนดให้กด F1 แทนปุ่ ม Delete ก็ได้
• หลังจากเข้าไปแล้ว จะเห็นหน้าสี ดำ และมีหวั ข้อต่าง ๆ ให้เลือก
• ลองเลือกเข้า ห้วข้อ 'STANDARD CMOS SETUP' (สำหรับ bios Award) รายละเอียดจะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับ วัน เวลา ของเครื่ อง,
harddisk, disk drive เป็ นต้น
• การปรับเปลี่ยนจะใช้ลูกศร ขึ้นลง ซ้ายมือ
• ถ้าไม่ตอ้ งการแก้ไขใด ๆ ให้กดปุ่ ม ESC เพื่อออกจากโปรแกรม
• Tags:
• basic computer
• bios
• computer bios

ไบออส บางครั้งก็เรี ยกว่า ซีมอส (CMOS) แต่ความเป็ นจริ งแล้วเป็ นคนละส่ วนกัน คือ ไบออส
เป็ นโปรแกรมที่เก็บในรอม ไม่จำเป็ นต้องมีพลังงานไฟฟ้ ามาใช้ในการเก็บข้อมูล ส่ วน ซีมอส จะทำ
หน้าที่เก็บข้อมูลในการบูต๊ ระบบ มีหลักการทำงานคล้ายแรม ซึ่งต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้ าเลี้ยงตลอด
เวลา โดยปกติจะอาศัยพลังงานจาก แบตเตอร์รี่ ภายในเครื่ องคอมฯ (ปัจจุบนั ไบออสและซีมอส ได้

ถูกรวมกันเป็ นชิบตัวหนึ่ง ๆ )
เราสามารถเข้าไปกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ และแก้ไข
ข้อมูลบางอย่างในไบออสได้ดว้ ยตนเอง โดยเฉพาะ
เวลาที่มีการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม เช่น ram,
harddisk เป็ นต้น การเข้าไปกำหนดรายละเอียด
อื่น ๆ เพิ่มเติมนั้น จะขึ้นกับยีห่ อ้ ของไบออส เนื่องจาก
แต่ละบริ ษทั ก็มีวธิ ีการเข้าไป setup ต่าง ๆ กัน
สำหรับไบออสที่ใช้งานกันโดยทัว่ ไป เช่น Ami,
Award, Phoenix เป็ นต้น ตัวอย่างการ
setup bios
เปิ ดเครื่ องเข้าระบบคอมพิวเตอร์
•หน้าจอจะเป็ นสี ดำ สังเกตุขอ้ ความด้านล่าง จะมีคำสัง่ ให้กด เช่น 'Press DEL to enter
SETUP' เป็ นต้น มีความหมายคือ ให้กดปุ่ ม Delete เพื่อเข้าไป setup ใน BIOS
• ขั้นตอนการทำงานของ BIOS
1. เมื่อเปิ ดเครื่ อง BIOS จะตรวจสอบอุปกรณ์พ้ืนฐานที่จำเป็ นต่อการใช้งาน เช่น คีบอร์ด, ดิสก์ไดรฟ์ ,
จอภาพ, หน่วยความจำ ฯลฯ หากมีอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งทำงานไม่ถูกต้อง จะแจ้งข้อผิดพลาดให้ทราบทั้งใน
ลักษณะข้อความ (หากจอภาพทำงานได้) และเสี ยง beep หากจอภาพทำงานไม่ได้
2. โหลดค่ากำหนดเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆขึ้นมาใช้งาน โดยค่าต่างๆเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ใน CMOS ซึ่งผูใ้ ช้
สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยผ่าน SETUP
3. โหลดระบบปฏิบตั ิการที่ติดตั้งไว้ในดิสก์ข้ ึนมาทำงาน
4. เมื่อระบบปฏิบตั ิการเริ่ มทำงาน นัน่ คือคอมพิวเตอร์เครื่ องนั้นจะอยูใ่ นสภาพที่พร้อมสำหรับการใช้งานแล้ว ส่ วน
BIOS จะทำหน้าที่ให้บริ การต่างๆต่อระบบการปฏิบตั ิการอยูเ่ บื้องหลัง เช่น การอ่าน-เขียนข้อมูลจากดิสก์, เปิ ด
จอภาพเมื่อผูใ้ ช้ไม่ได้ใช้งานเป็ นเวลานานๆ ฯลฯ
5. เมื่อต้องการปิ ดเครื่ อง BIOS จะปิ ดการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆทั้งหมดรวมถึงตัดกระแสไฟที่จ่ายให้
power supply ด้วย ค่ากำหนดต่างๆที่เก็บไว้ใน CMOS จะไม่หายไป เมื่อผูใ้ ช้เปิ ดเครื่ องขึ้นมาใหม่ การ
ทำงานจะวนรอบกลับไปยังขั้นตอนที่ 1 ทันที ดังจะเห็นได้วา่ การทำงานของ BIOS มีผลต่อการทำงานของ
คอมพิวเตอร์ตลอดเวลา หาก BIOS ได้รับการปรับตั้งไม่ถูกต้อง หรื อปรับตั้งไว้ไม่ดี จะทำให้คอมพิวเตอร์เครื่ อง
นั้นทำงานได้ไม่ถูกต้อง, ไม่เต็มประสิ ทธิภาพ หรื อแม้แต่ใช้งานไม่ได้เลยก็เป็ นได้
• 4 ขั้นตอนการทำงานของ POST
ใน BIOS ใดๆแม้จะต่างยีห่ อ้ ต่างบริ ษทั กัน โดยส่ วนใหญ่จะมีข้นั ตอน POST ที่คล้ายๆกัน 4 ขั้นตอนดังนี้
1. แสดงข้อความเริ่ มต้นของการ์ดแสดงผล ซึ่งปกติจะขึ้นอยูก่ บั ชนิดของการ์ดแสดงผลที่ติดตั้งอยูใ่ นคอมพิวเตอร์
นั้นๆ โดยอาจแสดงชื่อบริ ษทั -โลโก้ของผูผ้ ลิต, ชื่อรุ่ น, ขนาดของหน่วยความจำ ฯลฯ หรื อในบางรุ่ นอาจไม่แสดง
ข้อความใดๆในขั้นตอนนี้เลยก็ได้
2. แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ BIOS รวมถึงหมายเลขอ้างอิงสำหรับผูผ้ ลิตเมนบอร์ดและข้อความอื่นๆ จากภาพที่
2-2 เป็ น BIOS ของ Award บนเมนบอร์ดซึ่งใช้ชิปเซ็ต Intel 430HX
3. ตรวจสอบและนับจำนวนหน่ายความจำ รวมทั้งเริ่ มการทำงานของอุปกรณ์ประเภทดิสก์ไดรฟ์
4. เมื่อสิ้ นสุ ดการทำงานของ POST แล้ว บนหน้าจอจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์พ้ืนฐานทั้งหมด จาก
นั้นจึงโหลดระบบปฏิบตั ิการจากดิสก์ที่กำหนด (ผ่านทาง SETUP) มาทำงานต่อไป
ข้อแนะนำ
• การปรับแต่ งค่ าต่ างๆของ Bios
ก่อนอื่นนั้นต้องมาดูหน้าที่หลักๆ ของไบออสกันก่อนนะครับ ไบออสนั้นจะเป็ นส่ วนเกี่ยวกับการเก็บค่า
Configuration ของ อุปกรณ์ Input / Output ทั้งหลาย โดยจะเรี ยกใช้ค่านั้นทุกครั้งที่ทำการเปิ ด
เครื่ อง โดยหลังๆ มานี้ ไบออสได้มีการพัฒนาไปมาก เมนบอร์ดในบางยีห่ อ้ มีการรวมใส่ ส่วนของ Utilities ใน
การปรับค่าต่างๆ เช่น การโอเวอร์คล๊อกผานไบออส เป็ นต้น
Standard CMOS Setup
สำหรับในส่ วนนี้จะไม่ค่อยมีค่าอะไรให้ปรับกันเท่าไหร่ โดยส่ วนที่สำคัญคือในส่ วนการตั้งค่าของอุปกรณ์ที่เป็ น
IDE ทั้งหลาย โดยส่ วนใหญ่กจ็ ะเป็ นฮาร์ดดิสแหละครับ ตรงนี้ ผมแนะนำให้ต้ งั แบบ Manual ไม่ตอ้ งเซ็ทเป็ น
Auto เพราะจะทำให้เวลาในการบูต นานขึ้นครับ อีกอย่างนึงพวก drive CD ก็เซ็ทเป็ น None ก็ได้ครับ
จะช่วยให้ผา่ นขั้นตอนการ Post เร็ วขึ้นเยอะ ( ยกเว้นคนที่ตอ้ งการบูตเครื่ องด้วย CDROM ให้เซ็ทเป็ น
Auto นะครับ)
Bios Features Setup
• SDRAM CAS Latency Time ( ค่าที่ปรับได้ : 2 , 3 ,
Auto )
ในบางเมนบอร์ดอาจจะเรี ยกค่านี้วา่ SDRAM Cycle Length ก็เป็ นค่า
เดียวกันนะครับ ค่านี้เป็ นค่า Delay ในการทำงานของแรม ซึ่งยิง่ เซ็ทค่าน้อยก็ยงิ่
ดีครับ แนะนำให้เซ็ทไว้ที่ 2 จะได้ประสิ ทธิภาพเพิ่มขึ้นกว่า 3 ประมาณ 10-
15% ส่ วนถ้าเซ็ทเป็ น Auto นั้น ไบออสจะทำการอ่านค่าจากชิบ SPD บน
ตัวแรมว่าเหมาะกับการใช้ที่ CAS ใดให้เอง ซึ่งส่ วนใหญ่กจ็ ะเป็ น CAS3
แหละครับ ดังนั้นแนะนำว่าให้เซ็ทเองจะดีกว่า การเซ็ท CAS เป็ น 2 นั้น แรม
บางตัวอาจจะรับไม่ไหวนะครับ อาจจะเกิดการบูตไม่ข้ ึน หรื อเครื่ องแฮ๊งเป็ นระยะ
ได้ Recommended Setting : 2
• Video Bios Shadow ( ค่าที่ปรับได้ : Enable , Disable )
หากทำการเปิ ดค่านี้ จะทำให้ไบออสของการ์ดจอถูก Copy เข้าไปไว้ที่แรมของ
เครื่ อง ซึ่งหากมีการอ่านนั้นก็จะไปอ่านที่แรม ของเครื่ องแทนที่จะเข้าไปอ่านใน
ไบออสของการ์ดจอ ประโยชน์ของค่านี้อาจจะเรี ยกได้วา่ เป็ นอดีตไปซะแล้วล่ะ
ครับ เพราะ VGA Card ใหม่ๆ ในปัจจุบนั นั้น จะบรรจุไบออสมาในรู ปแบบ
Flash Memory ( EEPROM ) ซึ่งการอ่านจาก Flash
Memory นั้น มีความเร็ วสูงกว่าการอ่านจากแรม ดังนั้นค่านี้ควรจะ
Disable ไว้ดีกว่าครับ ไม่เปลืองแรมระบบ ส่ วนค่าของการ Shadow ค่า
อื่นๆ ก็ควรจะ Disable เอาไว้เช่นกันครับ Recommended
Setting : Disable
• CPU L2 Cache ECC Checking ( ค่าที่ปรับได้ :
Enable , Disable )
ชื่อก็บอกอยูแ่ ล้วนะครับ ว่าเป็ นการปรับในส่ วนของ ECC ( Error
Correction ) ของ L2 Cache ในตัว CPU ของเรา ในค่านี้น้ นั ต้อง
เลือกเอาเองแล้วล่ะครับ ว่าจะเปิ ดหรื อจะปิ ด เพราะว่าถ้าเปิ ดไว้น้ นั จะช่วยให้เครื่ อง
ทำงานได้สเถียรมากขึ้น แต่ Performance นั้นอาจจะมีการดรอปลงไปนิด
หน่อย ส่ วนถ้าปิ ดไว้น้ นั ความสเถียรก็จะลดลงล่ะครับ แต่กอ็ าจจะช่วย ให้สามารถ
โอเวอร์คล๊อกในสปี ดสูงขึ้นได้ Recommended Setting :
Enable
• Quick Power On Self Test ( ค่าที่ปรับได้ : Enable ,
Disable )
ขั้นตอนการ POST หรื อ Power On Self Test นั้น เป็ นขั้นตอน
ตั้งแต่เราเปิ ดเครื่ อง ผ่านการอ่านค่าต่างๆ ในไบออส มีการเช็คอุปกรณ์ต่างๆ เช่น
หน่วยความจำ หรื อ ฮาร์ดดิส ซึ่งตรงนี้ น้ นั ถ้าเราปรับเป็ น Quick Power
On Self Test ขั้นตอนการ POST จะเร็ วขึ้นมากครับ ซึ่งค่าตรงนี้เครื่ อง
ส่ วนใหญ่จะ Enable มาอยูแ่ ล้ว ก็เขียนมาให้ดูกนั เฉยๆ ครับ
Recommended Setting : Enable
• Virus Warning ( ค่าที่ปรับได้ : Enable , Disable )
ค่านี้น้ นั จะเป็ นการเซ็ทเพื่อให้ไบออสทำการเตือนเมื่อมีโปรแกรมใดๆ
พยายามที่จะเขียนข้อมูลลงไปที่ Boot Sectors ของฮาร์ดดิส ซึ่งอาจ
จะพอมีประโยชน์อยูบ่ า้ ง แต่ผมไม่แนะนำให้ใช้ครับ ลำพังโปรแกรม Anti
Virus ที่เราลงไว้ในเครื่ อง ก็สามารถปกป้ อง Boot Sectors ได้ดี
กว่า การตั้งค่านี้เป็ นไหนๆ อีกอย่างนึง เมื่อมีการเตือนขึ้นมา ส่ วนใหญ่เครื่ อง
จะแฮ๊งไป Recommended Setting : Disable

Anda mungkin juga menyukai