Anda di halaman 1dari 3

(ฉบับราง)

พฤษภาคม 2553

กราบเรียน ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ


เรื่อง ขอใหระงับแผนการรับซื้อไฟฟาจากโครงการเขื่อนไซยะบุรี
สิ่งที่สงมาดวย

เนื่องดวยการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 ที่


ผานมา ไดมีมติเห็นชอบรางบันทึกความเขาใจการรับซื้อไฟฟาโครงการไซยะบุรี ซึ่งมีกําลังผลิตติดตั้ง 1,280
เมกะวัตต และมอบหมายใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย นํารางบันทึกฯ ดังกลาวไปรวมลงนามกับผู
ลงทุน คือ บริษัท ช.การชาง จํากัด (มหาชน) เพื่อซื้อไฟฟา 1,220 เมกะวัตต และมีสัญญาผูกพัน 29 ป อัน
เปนสวนหนึ่งของแผนการรับซื้อไฟฟาจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ภายใตบันทึกความเขาใจ
ระหวางรัฐบาลไทยและสปป.ลาว
และดวยเหตุที่เขื่อนไฟฟาไซยะบุรี เปนหนึ่งใน 11 โครงการเขื่อนผลิตไฟฟาบนแมน้ําโขงสายหลักที่
กําลังถูกจับตาจากองคกรอนุรักษธรรมชาติ องคพัฒนาเอกชน ตลอดจนกลุมนักวิชาการ ทั้งในระดับภูมิภาค
และนานาชาติ ที่มีความกังวลวาโครงการเหลานี้จะกอผลกระทบที่รุนแรงตอระบบนิเวศและวิถีชีวิตของ
ประชาชนในลุมแมน้ําโขงนับลานคน ดังที่เคยมีคณะผูแทนจากประเทศไทย กัมพูชา และเวียดนาม ในนาม
Save the Mekong Coalition หรือ พันธมิตรเพื่อปกปองแมน้ําโขง ขอเขาพบฯพณฯ ในวันที่ 18 มิถุนายน
2552 เพื่อสงมอบโปสการดรณรงคปกปองแมน้ําโขง ที่มีประชาชนกวา 16,000 จากทั่วโลกไดรวมลงนาม นั้น
เครือขายองคกรที่รวมลงนามตามรายชื่อแนบทายจดหมายฉบับนี้ ขอคัดคานการที่รัฐบาลไทยจะ
เดินหนาเจรจาการรับซื้อไฟฟาจากผูลงทุน และขอเรียกรองฯพณฯ ดําเนินการใหมีการทบทวนมติของกพช.
ขางตน ดวยเหตุผลดังตอไปนี้

1. มติ กพช. 12 มีนาคม 2553 ขาดความโปรงใส และขัดตอหลักธรรมาภิบาล


แมโครงการเขื่อนไซยะบุรีจะอยูในประเทศลาว แตที่ตั้งโครงการและพื้นที่เก็บกักน้ําก็มิไดหางไกล
จากชุมชนในประเทศไทยแตอยางใด ผลกระทบดานสังคม สิ่งแวดลอม และการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศแมน้ํา
โขงภายหลังการสรางเขื่อน จึงอาจสงผลถึงไทยซึ่งเปนประเทศทายน้ํา นอกจากนั้น ประเทศไทยยังมีความ
เกี่ยวของในฐานะผูซื้อไฟฟา ผูใชไฟฟาในไทยจึงควรมีสิทธิ์รับรูถึงเหตุผลความจําเปนและความเหมาะสมของ
โครงการนี้ แตแมจนบัดนี้ สาธารณชนยังไมทราบวาโครงการนี้จะกอผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดลอม
อยางไร โครงการนี้มีความจําเปนตอประเทศไทยอยางแทจริงหรือไมและเพียงใด เนื่องจากยังไมมีการเปดเผย
ผลการศึกษาที่เกี่ยวของและจัดกระบวนการรับฟงความเห็นจากภาคประชาสังคม ฉะนั้น การเดินหนาเจรจา
ซื้อไฟฟาจากโครงการดังกลาวจึงไมมีความโปรงใสและขัดตอหลักธรรมาภิบาล

2. เขื่อนไซยะบุรีอาจเปนโครงการที่ไมจําเปน และมีประสิทธิภาพที่นาเคลือบแคลง
หลายปมานี้ แผนพัฒนาไฟฟาของประเทศไทย (Power Development Plan) ถูกวิพากษวิจารณวา
มักพยากรณความตองการการใชไฟฟาผิดพลาด ทําใหประเทศไทยมีปริมาณไฟฟาสํารองสูงเกินจริง และตอง
แบกภาระอันเกิดจากการลงทุนในโครงการที่ไมมีความไมจําเปน ปจจุบันประเทศไทยยังคงมีปริมาณไฟฟา
สํารองในสัดสวนที่สูงกวา 25% ดังนั้นจึงไมมีความจําเปนเรงดวนที่ กพช. ตองเรงรัดใหทําสัญญาซื้อขาย
ไฟฟาจากโครงการเขื่อนไซยะบุรี ที่อาจกลายเปนภาระที่ไมจําเปนของผูใชไฟฟาในประเทศไทย
นอกจากนั้น ประสิทธิภาพของเขื่อนไซยะบุรียังเปนประเด็นที่นาเคลือบแคลง เนื่องจากการศึกษา
ของโครงการเขื่อนปากชม และเขื่อนบานกุม ซึ่งเปนเขื่อนในลักษณะเดียวกัน พบวา กําลังการผลิตไฟฟาใน
ฤดูแลง ซึ่งเปนชวงที่มีความตองการการใชไฟฟาสูง แตเขื่อนเหลานี้กลับมีศักยภาพการผลิตไฟฟาที่พึ่งพิงได
เพียง 20% ของกําลังการผลิตติดตั้งเทานั้น และหากแมน้ําโขงตองเผชิญวิกฤตการภัยแลงดังที่เกิดขึ้นในปนี้
ประสิทธิภาพของเขื่อนไซยะบุรีก็อาจยิ่งถูกลดทอน ซึ่งอาจสงผลตอความมั่นคงของระบบไฟฟาไทยที่ตอง
พึ่งพาโครงการที่มีประสิทธิภาพต่ําเหลานี้
อนึ่ง ตามที่ปรากฏเปนขาววา ไดเกิดความตองการไฟฟาสูงสุด (Peak demand) หลายครั้งในชวง
เดือนที่ผานมา และคาดวาความตองการสูงสุดไฟฟาของป 2553 นาจะอยูที่ 24,009.09 เมกะวัตต ซึ่งเพิ่มขึ้น
จากปที่ผานมา 1,965 เมกะวัตต หรือรอยละ 8.9 ทําใหเกิดขอกังวลจากหนวยงานที่เกี่ยวของวา หากความ
ตองการไฟฟาสูงสุดเพิ่มขึ้นถึงปละเกือบ 2,000 เมกะวัตต จะทําใหระบบไฟฟาในระยะปานกลางและระยะยาว
ขาดความมั่นคงนั้น ขอเท็จจริงที่ควรพิจารณาก็คือ ความตองการไฟฟาสูงสุดที่เกิดขึ้นในป 2550 อยูที่
22,586.1 เมกะวัตต และนับแตนั้นมา ความตองการไฟฟาสูงสุดของไทยมิไดเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยยะสําคัญ
เลยเปนระยะเวลา 3 ป ดังนั้น อัตราการเติบโตของความตองการไฟฟาเฉลี่ยนับตั้งแตป 2550-2553 คือ
474.33 เมกะวัตตตอป มิใช 1,965 เมกะวัตต ตอป

3. เขื่อนไซยะบุรีจะสงผลกระทบ ทั้งในเขตประเทศลาวและประเทศไทย รวมถึงประเทศทายน้ํา


เขื่อนบนแมน้ําโขงสายหลักที่มีการเสนอกันอยูในตอนนี้ 11 โครงการ จะสงผลกระทบตอระบบนิเวศ
แมน้ําโขงโดยรวม ที่มิไดจํากัดขอบเขตในประเทศหนึ่งประเทศใด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลกระทบตอการอพยพ
เคลื่อนยายของปลาสวนใหญในแมน้ําโขง ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเปนอันดับสองของโลก รวมถึงปลา
บึกที่อยูในภาวะเสี่ยงตอการสูญพันธุอยูในขณะนี้ เฉพาะเขื่อนไซยะบุรีจะทําใหระดับน้ําในแมน้ําโขงและพื้นที่
ริมตลิ่งเหนือสันเขื่อนจะถูกน้ําทวมเปนระยะทาง 90 กิโลเมตร สิ่งแวดลอมธรรมชาติตลอดแนวจะเปลี่ยนแปลง
อยางถาวร แหลงขยายพันธุและแหลงอาศัยของปลาและสัตวน้ําในแมน้ําโขงจะถูกทําลายโดยสิ้นเชิง
ชุมชนเหนือเขื่อนและทายเขื่อนที่พึ่งพาแมน้ําโขงก็จะไดรับผลกระทบที่รุนแรง บทเรียนจากวิกฤติ
แมน้ําโขงแหงในปนี้ ชาวบานที่อาศัยอยูริมแมน้ําโขงในประเทศไทยสรุปวา ปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดภาวะ
วิกฤติคือเขื่อนที่ปดกั้นแมน้ําโขงทางตอนบนในประเทศจีน การสรางเขื่อนไซยะบุรีจะทําใหปญหาของระดับ
การไหลของแมน้ําแปรปรวนซับซอนยิ่งขึ้น แมเขื่อนไซยะบุรีจะกั้นแมน้ําโขงอยูในเขตประเทศลาว แตระบบ
นิเวศของแมน้ําโขงนั้นมิไดแยกจากกัน พื้นที่ทางตอนลางของเขื่อน เชน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ไทย และประเทศทายน้ํา เชน กัมพูชา และเวียดนาม ยอมไดรับผลกระทบไปดวยอยางไมอาจหลีกเลี่ยง

4. การอนุมัติรับซื้อไฟฟาจากโครงการเขื่อนไซยะบุรี อาจละเลยสาระสําคัญของ “ขอตกลงแมน้ํา


โขง” และ ‘ปฏิญญาหัวหิน’
การที่รัฐบาลไทยอนุมัติแผนการรับซื้อไฟฟาจากเขื่อนไซยะบุรี ซึ่งเปนเขื่อนบนแมน้ําโขงสายหลัก
อาจเปนการละเลยตอสาระสําคัญในพันธกิจ “ความตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยาง
ยั่งยืน” (ขอตกลงแมน้ําโขง) ป 2538 ซึ่งภายใตความตกลงฯ ดังกลาว ที่ระบุไวใน ขอที่ 5 และ 26 ซึ่งกลาวถึง
สาระสําคัญในการใชทรัพยากรแมน้ําโขงรวมกันวา จะตองมี ‘การบอกกลาว’ (Notification), ‘การปรึกษาหารือ
กอนการตัดสินใจ’ (Prior consultation) และ ‘การจัดทําขอเสนอการใชน้ํา’ (Proposed use)
นอกจากนี้ การเรงเจรจาซื้อไฟฟาจากเขื่อนไซยะบุรี อาจไมสอดคลองกับ ‘ปฏิญญาหัวหิน’ วันที่ 5
เมษายน 2553 ที่ผานมา ซึ่งผูนําแมน้ําโขงตอนลางมีขอตกลงรวมกันวา จะใชแนวทาง Integrated Water
Resources Management [IWRM] ในยุทธศาสตรการพัฒนาลุมน้ําโขง หลักการของ IWRM ใหความสําคัญ
ตอความสัมพันธของประเทศตนน้ําและทายน้ํา และกระบวนการมีสวนรวมของกลุมผูมีสวนไดสวนเสียตาง ๆ
ในการพัฒนาโครงการใด ๆ ดังนั้น การตัดสินใจรับซื้อไฟฟาจากเขื่อนไซยะบุรีของรัฐบาลไทยในครั้งนี้ เปน
เพียงการตัดสินใจเฉพาะภาคสวนการเมืองกับหนวยงานของรัฐ โดยละเลยตอกระบวนการมีสวนรวมของภาค
ประชาสังคมตาง ๆ และมิไดใหความสําคัญตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตอประเทศไทย และประเทศทายน้ํา

เครือขายองคกรที่ไดรวมลงนามตามรายชื่อแนบทายจดหมายฉบับนี้ ขอเรียกรองให ฯพณฯ


นายกรัฐมนตรี พิจารณาทบทวนแผนการรับซื้อไฟฟาจากโครงการเขื่อนไซยะบุรีอยางรอบคอบและรอบดาน
และระงับการรับซื้อไฟฟาจากโครงการเขื่อนไซยะบุรีไวกอน ซึ่งไมเพียงแตจะชวยปกปองความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเทานั้น แตยังไดชวยรวมปกปองทรัพยากรลุมแมน้ําโขง และวัฒนธรรม
ของประชาชนในลุมแมน้ําโขง ใหสามารถดํารงตอไปไดอยางยั่งยืน

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
ขอแสดงความนับถืออยางสูง

Anda mungkin juga menyukai