Anda di halaman 1dari 11

Thailand

ประเทศไทย
Political instability and polarization continued in 2010, and occasionally resulted in violence. There were
at least 90 deaths and 2,000 injuries of civilians and security personnel during politically motivated street
battles between March and May. Public pledges by the Thai government to prioritize human rights,
political reconciliation, and accountability for abuses have largely been unfulfilled.
ความไรเสถียรภาพและการแบงขั้วทางการเมืองยังคงอยูอยางตอเนื่องในป พ.ศ. 2553, และสงผลใหเกิด
ความรุนแรงเปนครั้งคราว มีพลเรือนและกองกําลังรักษาความมั่นคงตายอยางนอย 91 ราย และ 2,000 รายได
รับบาดเจ็บระหวางสมรภูมิจากการเคลื่อนไหวบนถนนระหวางเดือนมีนาคมและเมษายน การใหสัญญา
สาธารณะจากรัฐบาลไทยที่จะจัดลําดับ [ความสําคัญ] ตอสิทธิมนุษยชน, ความปรองดองทางการเมือง, และ
ความรับผิดตอการกระทําผิดซึ่งสวนใหญยังไมเปนที่นาพอใจ

Political violence
ความรุนแรงทางการเมือง

After a month of largely peaceful rallies, on April 7, anti-government protesters from the United Front for
Democracy against Dictatorship (UDD)-backed by former prime minister Thaksin Shinawatra–stormed
Parliament, forcing cabinet ministers and parliamentarians to flee the building. In response, Prime
Minister Abhisit Vejjajiva declared a state of emergency and created the Center for the Resolution of
Emergency Situations (CRES), an ad hoc body made up of civilians and military officers, to handle the
crisis and enforce emergency powers.
ภายหลัง 1 เดือนแหงการชุมนุมอยางคอนขางสันติ, เมื่อวันที่ 7 เมษายน, ผูประทวงตอตานรัฐบาลจากแนว
รวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (UDD) ซึ่งไดรับการหนุนหลังโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ
ชินวัตร จูโจมรัฐสภา, บังคับใหคณะรัฐมนตรีและสมาชิกรัฐสภาตองหลบหนีออกจากอาคาร ในการตอบ
สนอง, นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประกาศสถานการณฉุกเฉินและจัดตั้งศูนยอํานวยการแกไขสถาน
การณฉุกเฉิน (CRES), ซึ่งมีโครงสรางที่ประกอบดวยเจาหนาที่พลเรือนและทหาร, เพื่อดูแลวิกฤตการณและ
บังคับใชอํานาจสถานการณฉุกเฉิน
On April 10 the CRES deployed thousands of soldiers in an attempt to reclaim public space occupied by
the red-shirted UDD, sparking violent clashes around Phan Fa Bridge. At nightfall the soldiers were
ambushed by the heavily armed “Black Shirt” militants, apparently connected to the UDD and operating

1
in tandem with it. At the same time some UDD security guards and protesters used weapons such as
pistols, homemade explosives, petrol bombs, and slingshots to attack the soldiers. The panicked soldiers
withdrew, firing live ammunition at the protesters. The government reported that 26 people (including five
soldiers) were killed, and at least 860 wounded (including 350 soldiers).
เมื่อวันที่ 10 เมษายนศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (CRES) เคลื่อนทหารหลายพันคนในความ
พยายามที่จะขอคืนพื้นที่สาธารณะที่ถูกยึดครองโดยเสื้อแดงแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ
(UDD), ซึ่งจัดประกายความรุนแรงดวยการปะทะรอบสะพานผานฟา ตอนกลางคืนทหารถูกซุมโจมตีดวยอา
วุธหนักจากกองกําลัง “คนชุดดํา”, ซึ่งชัดเจนวาเชื่อมโยงกับแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ
(UDD) และปฏิบัติการณควบคูกัน ในเวลาเดียวกันผูรักษาความปลอดภัยของแนวรวมประชาธิปไตยตอตาน
เผด็จการแหงชาติและผูประทวงบางคนใชอาวุธ เชน ปนพก, ระเบิดที่ทําดวยมือ, ระเบิดเชื้อเพลิง, และหนัง
สติ๊กโจมตีทหาร ทหารที่ตกใจจึงถอนตัว, โดยยิงกระสุนใสผูประทวง รัฐบาลรายงานวา ประชาชน 26 ราย
(รวมทั้งทหาร 5 คน) ถูกสังหาร, และอยางนอย 860 รายไดรับบาดเจ็บ (รวมทั้งทหาร 350 คน)
Between April 23 and 29, groups of armed UDD security guards searched King Chulalongkorn Memorial
Hospital every night, claiming hospital officials had sheltered soldiers and pro-government groups. The
hospital relocated patients and temporarily shut down most services.
ระหวางวันที่ 23 - 29 เมษายน, กลุมติดอาวุธซึ่งเปนผูรักษาความปลอดภัยของแนวรวมประชาธิปไตยตอตาน
เผด็จการแหงชาติเขาคนโรงพยาบาลจุฬาลงกรณทุกคืน, โดยอางวาเจาหนาที่ของโรงพยาบาลซุกซอนทหาร
และกลุมผูสนับสนุนรัฐบาล โรงพยาบาลจึงยายคนไขออกไปและปดการบริการสวนใหญชั่วคราว
Negotiations in early May, based on Prime Minister Abhisit’s five-point proposal, ultimately foundered
when Maj.-Gen. Khattiya Sawasdipol, who claimed to represent Thaksin’s interests, and other hardliners
attempted to seize control of the UDD from more moderate leaders. On May 12 the prime minister warned
that the government planned to disperse UDD protesters at Ratchaprasong junction.
การเจรจาตนเดือนพฤษภาคม, ซึ่งยึดตามขอเสนอ 5 ขอของนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์, ซึ่งทายที่สุดตองลมเลิก
เมื่อนายพล ขัตติยะ สวัสดิผล, ผูซึ่งอางวาเปนตัวแทนผลประโยชนของทักษิณ, และผูที่ยึดมั่นในหลักการคน
อื่นพยายามที่จะครอบครองการควบคุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (UDD) จากผูนําที่
สายกลางกวา เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคมนายกรัฐมนตรีเตือนวารัฐบาลวางแผนที่จะสลายผูประทวงของแนว
รวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติที่แยกราชประสงค
As government troops moved to encircle UDD-controlled areas on May 13, an unknown sniper shot
Major-General Khattiya, who died four days later. Violence escalated as UDD protesters and the Black
Shirts began to openly fight the security forces surrounding their camps. The CRES set out rules of
engagement, permitting security forces to use live ammunition as warning shots to deter protesters from
moving closer; for self-defense; and when troops had clear visuals of “terrorists,” a term the government

2
failed to define. In reality, the military deployed snipers to shoot anyone who breached “no-go” zones
between the UDD and army barricades, or who threw projectiles towards soldiers. Sometimes soldiers
also shot into crowds of protesters.
เมื่อกองทหารของรัฐบาลเคลื่อนเขาโอบลอมพื้นที่ที่อยูในความควบคุมของแนวรวมประชาธิปไตยตอตาน
เผด็จการแหงชาติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม, มือปนไมทราบฝายยิงนายพล ขัตติยะ, ผูซึ่งตายใน 4 วันตอมา
ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเมื่อผูประทวงแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติและคนชุดดําเริ่มเปด
การตอสูกับกองกําลังความมั่นคงที่กําลังโอบลอมคายของพวกเขา ศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน
(CRES) ตั้งกฎสําหรับการสูรบ, โดยอนุญาตใหกองกําลังความมั่นคงใชกระสุนจริงสําหรับยิงเตือนเพื่อ
ขัดขวางผูประทวงจากการเคลื่อนที่เขาใกล, เพื่อปองกันตัวเอง, และเมื่อกองทหารมองเห็นอยางชัดเจนวา
เปน “ผูกอการราย”, ซึ่งเงื่อนไขของรัฐบาลลมเหลวที่จะนิยาม ในความเปนจริง, กองทัพเคลื่อนมือปนเพื่อยิง
ใครก็ ตามที่ฝาฝ นเขต “ห ามผ าน” ระหวางเครื่ องกีดขวางของแนวรว มประชาธิป ไตยตอตานเผด็ จ การ
แหงชาติและทหาร, หรือผูใดที่ขวางสิ่งของใสทหาร บางครั้งทหารยิงใสฝูงชนของผูประทวง
On May 19 the government launched a military operation to reclaim areas around Ratchaprasong junction,
sparking another round of street battles, in which soldiers used live ammunition, and some UDD
protesters and the Black Shirts fought back. Around midday key UDD leaders surrendered and thousands
of protesters sought sanctuary in the Wat Pathum Wanaram temple, which had been declared a safe zone
by agreement with the government. A Human Rights Watch investigation, based on eyewitness accounts
and forensic evidence, found that soldiers later opened fire on persons sheltering in the temple. Many were
wounded, and six people, including a volunteer medic, were killed.
เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคมรัฐบาลเริ่มปฏิบัติการทางทหารเพื่อเรียกคืนพื้นที่รอบแยกราชประสงค, ซึ่งจุดประ
กายสมรภูมิบนถนนอีก, ซึ่งทหารใชกระสุนจริง, และผูประทวงแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหง
ชาติบางคนและคนชุดดําตอสูกลับ ประมาณเที่ยงวันแกนนําสําคัญของแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จ
การแหงชาติยอมแพและผูประทวงหลายพันคนหาที่หลบภัยในวัดปทุมวนาราม, ซึ่งถูกประกาศใหเปนพื้นที่
ปลอดภัยโดยการทําขอตกลงกับรัฐบาล, การสอบสวนขององคกรเพงเล็งดานสิทธิมนุษยชน, ซึ่งยึดตามคํา
ใหการของประจักษพยานและหลักฐานทางนิติเวช, พบวาทหารตอมาเปดฉากยิงใสผูคนที่กําลังหลบภัยอยู
ในวัด หลายคนไดรับบาดเจ็บ, และ 6 คน, รวมทั้งอาสาสมัครทางการแพทย, ถูกสังหาร
After the surrender of UDD leaders, groups of UDD protesters and the Black Shirts launched a
coordinated campaign of looting and arson attacks on the Central World shopping complex and other
locations across Bangkok for two days, starting on May 19. Previously key UDD leaders had urged their
supporters to loot and burn should the government forcibly disperse the UDD protests.
ภายหลังการยอมแพของแกนนําแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ, กลุมของผูประทวงแนว
รวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติและคนชุดดําเริ่มปฏิบัติการณรวมกันในการปลนสะดมและ

3
วางเพลิงโจมตีศูนยการคา เซ็นทรัลเวิลด และสถานที่อื่นทั่วกรุงเทพเปนเวลา 2 วัน, โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 19
พฤษภาคม กอนหนานี้แกนนําสําคัญของแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติยุยงใหผูสนับสนุน
ของพวกเขาปลนสะดมและเผาเมื่อรัฐบาลใชกําลังกับผูประทวงแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ
แหงชาติ
Street battles injured at least nine reporters and photographers and led to the deaths of two foreign
journalists. On May 19, UDD protesters burned the headquarters of Bangkok’s TV Channel 3 and
provincial branches of NBT TV, accusing both stations of bias.
สมรภูมิบนถนนทําใหผูสื่อขาวอยางนอย 9 คนไดรับบาดเจ็บและนําไปสูการตายของ 2 นักขาวตางชาติ, เมื่อ
วันที่ 19 พฤษภาคม, ผูประทวงแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติเผาสํานักงานใหญของสถานี
โทรทัศนชอง 3 ในกรุงเทพ และสาขาในตางจังหวัดของสถานีโทรทัศนแหงประเทศไทย (NBT), โดยกลาว
หาตออคติของทั้งสองสถานี
That same day UDD supporters outside Bangkok rioted and burned government buildings in reaction to
events in the capital, inflicting damage in Khon Kaen, Ubon Ratchathani, Udorn Thani, and Mukdahan
provinces. The security forces opened fire on the protesters, killing at least three, and wounding dozens
more.
ในวันเดียวกันผูสนับสนุนแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาตินอกกรุงเทพกอจลาจลและเผา
อาคารของรัฐบาลเพื่อตอบโตตอเหตุการณในเมืองหลวง, ซึ่งสรางความเสียหายในขอนแกน, อุบลราชธานี,
อุดรธานี, และมุกดาหาร กองกําลังความมั่นคงเปดฉากยิงใสผูประทวง, สังหารอยางนอย 3 คน, และมากกวา
หลายโหลไดรับบาดเจ็บ
Throughout the year bomb attacks in Bangkok and other provinces targeted government and military
locations, as well as political groups, companies, and properties associated with anti-UDD elements. For
example, on April 22, M79 grenades fired at pro-government groups near Saladaeng junction killed one
person and wounded 85.
ตลอดทั้งปมีการโจมตีดวยระเบิดในกรุงเทพและจังหวัดอื่นโดยมีเปาหมายเปนสถานที่ของรัฐบาลและทหาร,
และกลุมทางการเมือง, บริษัท, และทรัพยสินที่มีสวนเกี่ยวของกับฝายที่ตอตานแนวรวมประชาธิปไตยตอ
ตานเผด็จการแหงชาติ ตัวอยางเชน, เมื่อวันที่ 22 เมษายน, ลูกระเบิดเอ็ม 79 ถูกยิงใสกลุมผูสนับสนุนรัฐบาล
ใกลแยกศาลาแดงซึ่งสังหารคน 1 คนและไดรับบาดเจ็บ 85 คน
As a means to reconciliation, Prime Minister Abhisit endorsed an impartial investigation into the violence
committed by all sides. However, the UDD said the inquiry was not fully independent or impartial, and in
any case, the military was not fully cooperative. Separate inquiries by the National Human Rights
Commission and the specifically appointed Independent Fact-Finding Commission for Reconciliation
made little progress.

4
เพื่อเปนการไปสูความสมานฉันท, นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ สนับสนุนตอการสอบสวนอยางเปนธรรมตอการ
กระทําผิดอยางรุนแรงจากทุกฝาย, อยางไรก็ตาม, แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (UDD)
พูดถึงการไตสวนที่ไมเปนอิสระและเปนธรรมอยางเต็มที่, และไมวากรณีใด, กองทัพไมใหความรวมมือ
อยางเต็มที่ การไตสวนที่แยกออกมาโดยคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและคณะกรรมาธิการอิสระ
ไตสวนขอเท็จจริงเพื่อความปรองดองมีความคืบหนาเพียงเล็กนอย

Emergency decree detention


การควบคุมตัวตาม พ.ร.ก.สถานการณฉุกเฉิน

On April 7 the government proclaimed the Emergency Decree on Public Administration in Emergency
Situation in Bangkok and other provinces.
เมื่อวันที่ 7 เมษายนรัฐบาลประกาศ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน ในกรุงเทพและจังหวัด
อื่น
The decree allows the CRES to hold suspects without charge for up to 30 days in unofficial places of
detention, and gives officials effective immunity from prosecution for most acts committed while
implementing the decree.
พระราชกําหนดอนุญาตใหศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (CRES) ควบคุมตัวผูตองสงสัยโดย
ปราศจากขอกลาวหาไดถึง 30 วันในสถานที่ควบคุมที่ไมเปนทางการ, และใหความคุมครองอยางเต็มที่ตอ
เจาหนาที่จากการฟองรองจากการกระทําผิดสวนใหญขณะปฏิบัติการตามพระราชกําหนด
The CRES questioned, arrested, and detained UDD leaders and members who took part in the protests, as
well as accused sympathizers. The CRES summoned hundreds of politicians, former officials,
businessmen, activists, academics, and radio operators for interrogation; froze individual and corporate
bank accounts; and detained some people in military-controlled facilities. The CRES ordered foreign and
Thai journalists and volunteer medics to report to the CRES headquarters and substantiate their public
statements that they witnessed abuses committed by the security forces.
ศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (CRES) สอบสวน, จับกุม, และควบคุมตัวแกนนําและสมาชิกของ
แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติผูซึ่งมีสวนในการประทวง, และกลาวหาตอผูที่ฝกใฝ ศูนย
อํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (CRES) ออกหมายเรียกหลายรอยคน ทั้งนักการเมือง, อดีตเจาหนาที่,
นักธุรกิจ, นักเคลื่อนไหว, และผูจัดรายการวิทยุเพื่อสอบสวน; แชแข็งบัญชีธนาคารของบุคคลและบริษัท;
และควบคุมบางคนในเขตควบคุมของทหาร ศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (CRES) สั่งนักขาว
ไทยและตางชาติ และอาสาสมัครทางการแพทยรายงานตัวที่กองบัญชาการของศูนยอํานวยการแกไขสถาน

5
การณฉุกเฉิน และยืนยันคําแถลงสาธารณะของพวกเขาวา พวกเขาพบเห็นการกระทําทารุณจากกองกําลัง
รักษาความมั่นคง
At this writing the government has failed to provide the exact number and whereabouts of those detained
without charge by the CRES.
จากรายงายนี้รัฐบาลลมเหลวที่จะแจงตัวเลขและที่ตั้งที่แทจริงของเหลาผูที่ถูกควบคุมตัวโดยปราศจากขอ
กลาวหาโดยศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (CRES)

Repressions of media freedom and freedom of expression


การปดกั้นเสรีภาพของสื่อมวลชน และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น

The CRES used the emergency decree to shut down more than 1,000 websites, a satellite television
station, online television channels, publications, and more than 40 community radio stations, most of
which are considered to be closely aligned with the UDD.
ศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (CRES) ใช พ.ร.ก.สถานการณฉุกเฉิน เพื่อปดเว็บไซตมากกวา
1,000 แหง, สถานีโทรทัศนผานดาวเทียม 1 สถานี, ชองโทรทัศนออนไลน, สิ่งพิมพ, และสถานีวิทยุชุมชน
มากกวา 40 สถานี, ซึ่งสวนใหญถูกพิจารณาวาสนับสนุนใกลชิดกับแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ
แหงชาติ (UDD)
In addition, the government continued to use the Computer Crimes Act and the charge of lese majeste
(insulting the monarchy) to enforce online censorship and persecute dissidents, particularly those
connected with the UDD, by accusing them of promoting anti-monarchy sentiments and posing threats to
national security. Chiranuch Premchiaporn, webmaster of online news portal Prachatai, was arrested on
September 24 and charged with violating the act because of reader comments on the site deemed offensive
to the monarchy in 2008.
ยิ่งไปกวานั้น, รัฐบาลใช พ.ร.บ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร [พ.ศ. 2550] และขอกลาวหา
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (จาบจวงราชวงศ) อยางตอเนื่องเพื่อบังคับการตรวจสอบทางออนไลนและลงโทษ
ผูคัดคาน, โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่เกี่ยวของกับแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (UDD), โดย
การกลาวหาวาพวกเขากระตุนแนวคิดตอตานราชวงศและเปนตนเหตุที่คุกคามตอความมั่นคงของชาติ จีรนุช
เปรมชัยพร, ผูดูแลเว็บไซดขาวแบบเปดประชาไท, ถูกจับกุมเมื่อวันที่ 24 กันยายนและถูกตั้งขอหาฝาฝนพระ
ราชบัญญัติ [วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร] เนื่องจากผูอานแสดงความคิดเห็นบน [เว็บ]
ไซดซึ่งเขาใจวาเปนการโจมตีราชวงศในป พ.ศ. 2551

6
Abusive anti-narcotics policy
นโยบายการตอตานยาเสพติดที่ทารุณ

The government supported reopening investigations into the 2,819 extrajudicial killings that allegedly
accompanied the 2003 “war on drugs.” However, little progress was made to bring perpetrators to justice,
or end systematic police brutality and abuse of power in drug suppression operations. In June Ratchaburi
province police officers shot and killed Manit Toommuang, a suspected drug trafficker, while he was
handcuffed and in their custody.
รัฐบาลสนับสนุนตอการรื้อฟนการสอบสวนกรณีวิสามัญฆาตกรรม 2,819 รายซึ่งถูกกลาวหาวาพัวพันตอ
[เหตุการณ] ในป พ.ศ. 2546 “สงครามยาเสพติด” อยางไรก็ตาม, มีความคืบหนาเพียงเล็กนอยที่จะนําผูกอ
การเขาสูกระบวนการยุติธรรม, หรือสรุปผลตอการทารุณของตํารวจอยางเปนระบบและปฏิบัติการณปราบ
ปรามยาเสพติดที่ใชอํานาจโดยมิชอบ ในเดือนมิถุนายนตํารวจราชบุรียิงและสังหาร มานิตย ตุมเมือง, ผูตอง
สงสัยเปนผูคายาเสพติด, ขณะที่เขาถูกใสกุญแจมือและอยูในการควบคุมตัวของพวกเขา
Concerns remained about the detention of drug users in compulsory drug “rehabilitation” centers, mostly
run by the military and the Interior Ministry. “Treatment” is based on military-style physical exercise,
with little medical assistance for drug withdrawal symptoms.
ความกังวลที่ยังอยูเกี่ยวกับการควบคุมตัวผูใชยาเสพติดในสถานบําบัดผูติดยาเสพติดเพื่อ “การฟนฟู”, ซึ่ง
สวนใหญดําเนินการโดยกองทัพและกระทรวงมหาดไทย “การบําบัด” ยึดตามรูปแบบการออกกําลังกายตาม
แบบทหาร, โดยมีการชวยเหลือทางการแพทยเพียงเล็กนอยสําหรับอาการอยากยา

Violence and abuses in the southern border provinces


ความรุนแรงและการทารุณกรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต

Human Rights Watch expressed concern about the alleged mistreatment of insurgent suspects in custody
after Sulaiman Naesa was found dead at the Inkhayuthboriharn army camp in Pattani on May 30. Muslim
people and human rights groups also made a growing number of complaints about the unlawful use of
force by Thai security personnel, including assassinations of religious teachers and community leaders
suspected of involvement in the insurgency. There have been no successful criminal prosecutions in these
cases. On September 1, police dropped criminal charges against army-trained militiaman Suthirak
Kongsuwan, who had been accused of leading an attack on Muslim worshippers at Al Furqan Mosque in
June 2009, killing 10 people and wounding 12 others.

7
องคกรเพงเล็งดานสิทธิมนุษยชนแสดงความกังวลเกี่ยวกับการกลาวหาเรื่องการทารุณกรรมตอผูตองสงสัย
ตอตานรัฐบาลในการคุมขัง ภายหลังที่ สุไลมาน นะแซ ถูกพบวาตายที่คายอิงคยุทธบริหารในปตตานีเมื่อ
วันที่ 30 พฤษภาคม ประชาชนมุสลิมและกลุมสิทธิมนุษยชนยังคงรองทุกขดวยจํานวนที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการ
ใชกําลังนอกกฎหมายจากเจาหนาที่ความมั่นคงของไทย, รวมถึงการลอบสังหารครูสอนศาสนาและผูนําชุม
ชนที่ถูกสงสัยวาเกี่ยวพันกับการกบฏ [แยกดินแดน] ไมมีการฟองรองทางอาญาที่ประสบผลสําเร็จในกรณี
เหลานั้น เมื่อวันที่ 1 กันยายน, ตํารวจยกขอกลาวหาทางอาญาตอนายทหารที่ไดรับการฝกจากกองทัพ สุทธิ
รักษ คงสุวรรณ, ผูซึ่งถูกกลาวหาวาเปนผูนําในการโจมตีผูนับถือศาสนาอิสลามที่มัสยิดอัลฟารกอนในเดือน
มิถุนายน 2552, ซึ่งสังหารประชาชน 10 รายและไดรับบาดเจ็บอีก 12 ราย
Separatist groups continued to attack and kill civilians, including teachers from government-run schools,
and threaten teachers and principals, forcing them to close schools temporarily. Government security
forces frequently occupied schools, impairing education by turning schools into armed camps. Insurgents
recruited children from private Islamic schools to participate in armed hostilities, serve as spies, and carry
out arson. Thai security forces raided private Islamic schools, and detained teachers and students for
questioning.
กลุมผูสนับสนุนการแบงแยก [ดินแดน] โจมตีและสังหารพลเรือนอยางตอเนื่อง, รวมทั้งครูจากโรงเรียน
รัฐบาล, และคุกคามครูและผูบริหาร, บังคับใหพวกเขาตองปดโรงเรียนชั่วคราว กองกําลังความมั่นคงของรัฐ
บาลบอยครั้งตองเขายึดครองโรงเรียน, ซึ่งทําใหการศึกษาแยลงจากการเปลี่ยนโรงเรียนเปนคายทหาร พวก
กบฏเกณฑเด็กจากโรงเรียนอิสลามเอกชนใหมีสวนรวมในการเปนศัตรูที่ติดอาวุธ, ทํางานดั่งสายลับ, และ
บรรลุการวางเพลิง กองกําลังรักษาความมั่นคงจูโจมโรงเรียนอิสลามเอกชน, และควบคุมตัวครูและนักเรียน
เพื่อการสอบปากคํา

Refugees, asylum seekers, and migrant workers


ผูลี้ภัย, ผูแสวงหาที่ลี้ภัย, และคนงานอพยพ

Thai authorities violated the international principle against refoulement by returning refugees and asylum
seekers to countries where they were likely to face persecution. Despite international outcry, including
strong protests by the United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR) and the UN secretary-
general, the Thai army on December 28, 2009, forcibly returned 4,689 Lao Hmong, including 158
UNHCR-designated “persons of concern,” to Laos. In November Thai authorities sent back to Burma
thousands of Burmese fleeing armed conflicts in border areas before UNHCR could assess whether they
were returning voluntarily.

8
ผูมีอํานาจของไทยละเมิดหลักการสงผูลี้ภัยสากลโดยการสงผูลี้ภัยและผูแสวงหาที่ลี้ภัยกลับประเทศที่ซึ่ง
พวกเขานาจะเผชิญหนากับการลงโทษ ทั้งๆที่มีการคัดคานจากสากล, รวมทั้งการคัดคานอยางแข็งขันจากขา
หลวงใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ (UNHCR) และเลขาธิการทั่วไปขององคการสหประชาชาติ (UN), กอง
ทัพไทยเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2552, บังคับสงลาวมง 4,689 ราย, รวมทั้ง 158 รายที่ขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหง
สหประชาชาติระบุวาเปน “บุคคลที่นากังวล”, กลับลาว ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ผูมีอํานาจของไทยสงชาว
พมาหลายพันคนที่หลบหนีความขัดแยง [จากการตอสู] ดวยอาวุธบริเวณชายแดนกลับพมากอนที่ขาหลวง
ใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ (UNHCR) จะสามารถประเมินวาพวกเขากําลังจะกลับอยางเต็มใจหรือไม
In October the Immigration Police arrested 128 Tamils for illegal entry, including many registered with
UNHCR, and threatened to send them back to Sri Lanka.
ในเดือนตุลาคมตํารวจตรวจคนเขาเมืองจับกุมชาวทมิฬ 128 รายจากการลักลอบเขาเมืองอยางผิดกฎหมาย,
รวมทั้งผูที่ขึ้นทะเบียนกับขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ (UNHCR) หลายราย, และขมขูวาจะสง
พวกเขากลับศรีลังกา
The Thai government failed to fulfill its promise to conduct an independent investigation into allegations
in 2008 and 2009 that the Thai navy pushed boats laden with Rohingyas from Burma and Bangladesh
back to international waters, which allegedly resulted in hundreds of deaths. A group of 54 Rohingyas
have been held at the Immigration Detention Center since January 2009, without access to any mechanism
for refugee determination or sufficient medical care. Two of them died in detention in 2009.
รัฐบาลไทยลมเหลวในการบรรลุคําสัญญาที่จะดําเนินการสอบสวนอยางอิสระตอขอกลาวหาในป พ.ศ. 2551
- 2552 ที่วา กองทัพเรือไทยผลักดันเรือซึ่งบรรทุกชาวโรฮิงญาจากพมาและบังคลาเทศกลับสูนานน้ําสากล,
ซึ่งถูกกลาวหาวาเปนผลใหเกิดความตายหลายรอยราย กลุมของชาวโรฮิงญา 54 รายซึ่งถูกจับอยูที่หองกักขัง
ของสํานักงานตรวจคนเขาเมืองตั้งแตเดือนมกราคม 2552, โดยปราศจากการเขาถึงกลไกการตรวจสอบสถา
นะผูลี้ภัยหรือไดรับการดูแลทางการแพทยอยางมีประสิทธิภาพ 2 ในพวกเขาตายใน [ระหวาง] การควบคุม
ตัวในป พ.ศ. 2552
Migrant workers from Burma, Cambodia, and Laos continue to be abused with impunity by local police,
civil servants, employers, and thugs; with little enforcement of Thai labor laws. A poorly designed and
implemented “nationality verification” registration scheme caused hundreds of thousands of migrant
workers to lose their legal status, deepening their vulnerability to exploitation. Female migrant workers
are also vulnerable to sexual violence and trafficking.
คนงานอพยพจากพมา, กัมพูชา, และลาวถูกทารุณอยางตอเนื่องโดยไมถูกลงโทษจากทั้งตํารวจ, ขาราชการ,
นายจาง, และอันธพาลในทองถิ่น; โดยมีการบังคับใชกฎหมายแรงงานไทยเพียงเล็กนอย จุดประสงคและ
วิธีการที่ย่ําแยตอแผนการขึ้นทะเบียน “การรับรองสัญชาติ” เปนเหตุใหคนงานอพยพหลายแสนรายสูญเสีย

9
สถานภาพทางกฎหมายของพวกเขา, ดําดิ่งตอความเสี่ยงของพวกเขาที่จะถูกแสวงหาผลประโยชน คนงาน
อพยพหญิงยังคงเสี่ยงตอความรุนแรงทางเพศและการคา [มนุษย]

Human rights defenders


ผูปกปองสิทธิมนุษยชน

The government made little progress in official investigations into the cases of 20 human rights defenders
killed, including the 2004 “disappearance” and presumed murder of Muslim lawyer Somchai Neelapaijit.
รัฐบาลไทยมีความคืบหนาเพียงเล็กนอยในการสอบสวนอยางเปนทางการในกรณีที่ผูปกปองสิทธิมนุษยชน
20 รายถูกสังหาร, รวมทั้งในป พ.ศ. 2547 ตอ “การหายตัว” และเชื่อไดวาถูกฆาตกรรมของทนายความมุสลิม
สมชาย นีละไพจิตร

International actors
นักแสดงสากล

The UN, the United States, Australia, and the European Union expressed strong support for political
reconciliation and the restoration of human rights and democracy in Thailand, including by urging the
government and the UDD to engage in dialogue and refrain from using violence. The UN provided
training and technical assistance to the inquiry process, which aims to bring to justice those responsible
for politically motivated violence and abuses.
องคการสหประชาชาติ (UN), สหรัฐ, ออสเตรเลีย, และสหภาพยุโรปแสดงการสนับสนุนอยางแข็งขันสํา
หรับการปรองดองทางการเมืองและการฟนฟูสิทธิมนุษยชนและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย,
รวมทั้งกระตุนรัฐบาลและแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (UDD) ใหติดตอกันเพื่อสนทนา
และระงับการใชความรุนแรง องคการสหประชาชาติ (UN) เตรียมการฝกสอนและความชวยเหลือทาง
เทคนิคตอกระบวนการไตสวน, ซึ่งมีเปาหมายที่จะนําความยุติธรรมมาสูเหลาผูที่รับผิดชอบทางการเมืองตอ
การเคลื่อนที่รุนแรงและทารุณ
The UDD, through an international law firm hired by Thaksin, submitted a report to the prosecutor of the
International Criminal Court in October, calling for an investigation into the alleged crimes against
humanity committed by Thai authorities during the dispersal of the UDD protests.
แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (UDD), จากการจางบริษัทกฎหมายสากลโดยทักษิณ, สง
รายงานตออัยการของศาลอาญาระหวางประเทศในเดือนตุลาคม, เรียกรองตอการสอบสวนตอการกลาว

10
หาทางอาญาตอการกระทําผิดตอมนุษยชาติจากผูมีอํานาจของไทยระหวางการสลายผูประทวงของแนวรวม
ประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ
Thailand made a significant number of human rights pledges in its successful campaign to join the UN
Human Rights Council, and expectations for progress were further raised when Sihasak Phuangketkeow,
Thailand’s ambassador to the UN in Geneva, was selected as the president of the Council in June, but little
has been implemented at this writing.
ประเทศไทยทําขอตกลง [ซึ่งเปน] นัยสําคัญตอขอผูกมัดดานสิทธิมนุษยชนซึ่งเปนการรณรงคที่ประสบ
ความสําเร็จในการเขารวมกับคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ, และคาดหวังตอความกาวหนาที่
เพิ่มขึ้นไปขางหนาเมื่อ สีหศักดิ์ พวงเกตุแกว, เอกอัครราชทูตของประเทศไทยประจําสหประชาชาติในเจนี
วา [สวิตเซอรแลนด], ซึ่งไดรับการเลือกเปนประธานของคณะมนตรีในเดือนมิถุนายน, แต [เปนการ] บรรลุ
ผลเพียงเล็กนอยตอขอตกลงนี้

11

Anda mungkin juga menyukai