Anda di halaman 1dari 53

2

แบบบันทึกการปรับปรุงเอกสาร

ปรับปรุงครั้งที่ วดป.อนุมัติใช้ รายการปรับปรุง ผู้จัดทา


0 1 พ.ค. 51 จัดทาใหม่ ธาตรี ฟ้าประทานชัย
3
การเตรียมการสอน

รหัสวิชา 3100-0107 ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ 3 (3)

จุดประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้มีความเข้าใจแนวคิดของความเค้นและความเครียด และคุณสมบัติด้านความแข็งแรงของวัสดุ
2. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้หลักความแข็งแรงของวัสดุในการออกแบบ ตรวจสอบ
และตรวจพินิจชิ้นส่วนโครงสร้างและเครื่องจักรกล
3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการสืบเสาะเสาะหาความรู้และใช้หลักเหตุผลของกลศาสตร์ของแข็งในการ
แก้ปัญหา มีความตระหนักถึงความปลอดภัยและความคุ้มค่าของวัสดุ

มาตรฐานรายวิชา
1. เข้าใจแนวคิดของความเค้นและความเครียด และคุณสมบัติด้านความแข็งแรงของวัสดุ
2. คานวณความแข็งแรงของชิ้นส่วนเนื่องจากอุณหภูมิและการต่อกันโดยใช้แนวเชื่อม
และหมุดย้า
3. คานวณความแข็งแรงของภาชนะความดัน
4. คานวณความแข็งแรงของเพลารับแรงและทอร์ก
5. คานวณความแข็งแรงของคานรับแรงและโมเมนต์

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดและองค์ประกอบของความเค้นและความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
ของวัสดุ กฎสภาพยื ดหยุ่นของฮุก มอดูลัสความยืดหยุ่น ความเค้นเนื่องจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ความเค้นในวัสดุซึ่ง
ต่อกันโดยการเชื่อมและโดยการใช้หมุดย้า ความเค้นในภาชนะความดัน การบิดของเพลา ทฤษฎีของคาน แผนภาพ
แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด โมเมนต์ดัดและความเค้นเฉือนในคาน การหาระยะแอ่นตัวของคานโดยวิธีโมเมนต์ของพื้นที่
พื้นฐานการรวมความเค้น ความหมายของ Creeping การล้าของวัสดุ การประยุกต์ความรู้ในงานอาชีพ

เกณฑ์การวัดผลรายวิชา
คะแนนเก็บระหว่างภาค 70 คะแนน
- คะแนนเก็บครั้งที่ 1 20 คะแนน
- คะแนนเก็บครั้งที่ 2 20 คะแนน
- คะแนนสอบกลางภาค 10 คะแนน
- คะแนนพฤติกรรม 20 คะแนน
- คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน
- รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน
4
การวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา

หน่วยการเรียน ทฤษฎี ปฏิบัติ

1. ระบบหน่วย 3 0
2. ชนิดของแรง 3 0
3. ความเค้น 3 0
4. ความเครียด 3 0
5. ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียด 3 0
6. ความเค้นเนื่องจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง 3 0
7. ความเค้นในภาชนะอัดความดัน 3 0
8. การต่อกันโดยหมุดย้า 3 0
9. การต่อกันโดยการเชื่อม 3 0
10. สอบเก็บคะแนนกลางภาค 3 0
11. การบิดของเพลา 3 0
12. แรงบิดบนรูปหน้าตัดของเพลาแบบต่างๆ 3 0
13. แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดของคาน 6 0
14. ความเค้นดัดในคาน 3 0
15. ความเค้นเฉือนในคาน 3 0
16. การโก่งของคาน 3 0
17. สอบเก็บคะแนนปลายภาค 3 0

เวลาเรียน 48 0
ประเมินผล 6 0
รวมเวลาเรียน 54 0
5
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 1 คาบที่ 1-3 เรื่อง ระบบหน่วย

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกระบบหน่วยต่างๆที่นิยมใช้ได้
2. แปลงหน่วยระบบต่างๆได้
3. มีกิจนิสัยที่ดีในการทางาน มีความประณีต รอบคอบ ในการทางาน

เนื้อหา
หน่วยที่นิยมใช้กันทั่วไป มีอยู่หลายระบบขึ้นอยู่กับความนิยมของกลุ่มชนที่ใช้ แต่ประเทศที่มีความก้าวหน้า
ทางวิชาการ นิยมใช้กันอยู่ 3 ระบบคือ
1. ระบบ CGS ซึ่งได้แก่ระบบที่ใช้วัดความยาวเป็นเซนติเมตร วัดมวลเป็นกรัม และวัดเวลาเป็นวินาที เรียกว่า
ระบบเมตริก
2. ระบบ MKS ซึ่งได้แก่ระบบที่วัดความยาวเป็นเมตร วัดมวลเป็นกิโลกรัม และวัดเวลาเป็นวินาที ระบบ
MKS ก็คือระบบเมตริกนั้นเอง แต่ใช้หน่วยใหญ่กว่า CGS
3. ระบบ FPS ซึ่งได้แก่ระบบที่ใช้วัดความยาวเป็นฟุต วัดมวลเป็นปอนด์ และวัดเวลาเป็นวินาที เรียกว่าระบบ
อังกฤษ
ระบบทั้ง 3 ที่กล่าวมานี้ นิยมใช้ในประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการสูง เช่นประเทศสหรัฐอเมริกา
อังกฤษ และกลุ่มประเทศที่ใช้ระบบการศึกษาของอเมริกาและอังกฤษ จะใช้หน่วย FPS ส่วนกลุ่มประเทศทางยุโรป ใช้
ระบบ MKS หรือ CGS
ในปัจจุบันมีการถ่ายทอดวิทยาการถึงกันอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วทั่วโลก ดังนั้นการแปลงน่วยเพื่อ
เปรียบเทียบผลงานของกันและกันจึงเป็นสิ่วที่หลีกเลี่ยงได้ยาก ในการประชุมนักวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศเมื่อปี
พ.ศ. 2503 ได้ตกลงกันเพื่อกาหนดหน่วยสากลให้ใช้เหมือนกันทั่วโลก โดยนาเอาหน่วย MKS มาปรับปรุงให้
เหมาะสมสะดวกในการคานวณ ระบบที่ตั้งขึ้นใหม่นี้เรียกว่า ระบบระหว่างประเทศ ( Systeme Internationale d’United
หรือ International System of Units ) ใช้อักษรย่อว่า SI Units

วิธีการสอน
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
นาเข้าสู่บทเรียนโดยการกล่าวถึงประวัติความเป็นมาของหน่วยวัด
2. ขั้นสอน
- ยกตัวอย่างหน่วยวัดระบบต่างๆและหน่วยวัดที่นิยมใช้
- แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 5 คน ช่วยกันคิดและเขียนมาตราหน่วยวัดระบบเมตริก ความ
ยาว และน้าหนัก
- ผู้สอนตรวจความถูกต้องและประเมินพื้นฐานความรู้หน่วยวัดว่ามีมากน้อยเพียงใด
- ผู้สอน บรรยาย และสาธิต การวัดหน่วยต่างๆการเทียบหน่วยต่างระบบ การแปลงหน่วย
6
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- สรุปมาตรหน่วยวัดแบบ SI UNIT

สื่อการสอน
- ไม้บรรทัด, ตลับเมตร, ตราชั่ง

วิธีการประเมินผล
- ตรวจแบบฝึกหัดท้ายบท

หนังสืออ่านประกอบ
- คณิตศาสตร์ช่างยนต์ วิทยา ดีวุ่น, อัคครัตน์ พูลกระจ่าง
3
แบบฝึกหัด
1. แรง 50 Kg คิดเป็นกี่นิวตัน (N)
ก. 50 N
ข. 500 N
ค. 5000 N
ง. 5 x 103 N

2. น้าหนัก 100 lb มีกี่ Kg


ก. 4.5 Kg
ข. 5.5 Kg
ค. 6.5 Kg
ง. 7.0 Kg

3. พื้นที่ 12,000 cm2 มีกี่ตารางเมตร


ก. 0.12 m2
ข. 1.2 m2
ค. 12.0 m2
ง. 120 m2

4. ความดัน 2 bar มีกี่ Kg 2


cm
ก. 2 Kg
2
cm
ข. 4 Kg
2
cm
ค. 6 Kg
2
cm
ง. 8 Kg
2
cm

5. ความดัน 100 lb
2 เท่ากับกี่ Kg
2
in cm
ก. 5.5 Kg
2
cm
ข. 6.5 Kg
2
cm
ค. 7.2 Kg
2
cm
ง. 9.0 Kg
2
cm
4
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 2 คาบที่ 4-6 เรื่อง ชนิดของแรง

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายความหมายของแรงชนิดต่างๆ ได้
2. เพื่อให้นักเรียนยกตัวอย่างชนิดของแรงที่กระทาต่อวัสดุและโครงสร้างได้

เนื้อหา
ในการวิเคราะห์ออกแบบโครงสร้างหรือเครื่องจักรกลใดๆ นั้นสิ่งที่เราจะต้องพิจารณา คือ
1. ความแข็งแรงภายในของเนื้อวัสดุที่ใช้รับแรงที่กระทา
2. วัสดุที่ใช้รับแรงนั้นมีความแกร่งพอที่จะไม่เปลี่ยนขนนาดและรูปร่างมากเกินไปหรือไม่
Force หรือแรง คือLoadหรือน้าหนักที่กระทาต่อชิ้นส่วนของโครงสร้างในแนวตั้งฉากพื้นที่ๆแรงนั้นกระทา
โดยแรงจะต้องกระทาผ่านจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุนั้น เพื่อให้วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลย์ ทั้งนี้แรงที่กระทาต่อวัสดุจะต้องมี
ขนาดและทิศทางที่ชัดเจน
ชนิดของแรง (Type of load)
1. แรงที่อยู่นิ่ง (static load) คือ แรงที่กระทาต่อโครงสร้างอย่างช้าๆ จนกระทั่งมีค่าคงทีแ่ ล้ว
มีค่าเกือบเท่ากับค่านั้นตลอดไป เช่น แรงเนื่องจากความดันในหม้อความดันที่กระทาต่อรอยเชื่อม
2. แรงที่กระทาซ้าๆ (Repeated load) คือ แรงหรือน้าหนักที่กระทาต่อโครงสร้างหรือวัสดุหลายๆครั้งซ้าๆกัน
สลับกันไปในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น แรงที่กระทาต่อเพลาข้อเหวี่ยงของเครื่องยนต์
3. แรงกระแทก (Impact load) คือ แรงที่กระทาต่อชิ้นส่วนในระยะเวลาอันสั้นมาก เช่น แรงกระแทกที่
กระทากับโช๊คอัพรถยนต์
นิยาม : แรงภายนอกที่กระทาต่อวัสดุ = แรงภายในของวัสดุ (Strength)
Strength = F/A นิวตัน/ตารางเมตร

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- สอดแทรกคุณธรรมเรื่อง “การขับรถอย่างปลอดภัย”
- กล่าวนาถึงความต่างในเรื่องความแข็งแรงของ body ของรถยนต์ญี่ปุ่น และรถยนต์ยุโรป
2. ขั้นสอน
- ครูอธิบายลักษณะการกระทาของแรงชนิดต่างๆ ต่อชิ้นส่วนของโครงสร้าง
- ให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม และช่วยกันยกตัวอย่างชนิดของแรงที่กระทาต่อชิ้นส่วนของ โครงสร้าง
ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนเครื่องจักร โดยมีอุปกรณ์และชิ้นส่วนจริงประกอบ
3. ขั้นปฏิบัติ
กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดทาแบบฝึกหัดที่ผู้สอนได้เตรียมไว้
5
4. ขั้นสรุป
- ครูทบทวนการกระทาของแรงชนิดต่างๆ
- ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจความถูกต้องของชนิดของแรงที่กระทาต่อชิ้นส่วนโครงสร้าง ที่แต่ละ
กลุ่มได้นามาเสนอหน้าชั้นเรียน
- ครูสรุปนิยามและสูตรที่ใช้คานวณหาค่าความแข็งแรงของวัสดุ

สื่อการสอน
- แผ่นใสเรื่อง ชนิดของแรง
- ชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
6
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. แรงที่กระทาให้เกิดความเค้นในเนื้อวัสดุ คือแรงชนิดใด
ก. แรงที่อยู่นิ่ง
ข. แรงที่กระทาซ้าๆกัน
ค. แรงที่กระทาแบบกระแทก
ง. ถูกทุกข้อ

โจทย์ จงตอบคาถามตั้งแต่ข้อ 2-5 โดยใช้คาตอบต่อไปนี้


ก. Static load
ข. Repeated load
ค. Impact load
ง. Strength

2. แรงที่กระทาต่อแชสซีสของรถยนต์
3. แรงที่กระทาต่อโช๊คอัพของรถยนต์
4. แรงเนื่องจากการทางานของสปริงลิ้น
5. ความแข็งแรงของเนื้อวัสดุที่สามารถต้านทานการกระทาจากแรงภายนอก
7
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 3
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 3 คาบที่ 7-9 เรื่อง ความเค้น

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายลักษณะการเกิดความเค้นชนิดต่างๆ ในเนื้อวัสดุได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาค่าความเค้นชนิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับวัสดุได้

เนื้อหา
ความเค้น(Stress) คือ แรงภายนอกที่กระทาผ่านจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่หน้าตัดของวัสดุ หรืออัตราส่วน
ระหว่างแรงภายนอก/หนึ่งหน่วยพื้นที่ เขียนเป็นสมการได้ดังนี้
Stress = F/A หน่วย N/ m2
เมื่อ F = แรงภายนอก หน่วย N
A = พื้นที่หน้าตัดของท่อนวัตถุนั้น หน่วย m

ความเค้น (Stress) แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ


1. ความเค้นดึง (tensile stress) หรือ σt เป็นความเค้นที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุนั้นได้รับแรงดึงใน
แนวตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัดที่แรงนั้นกระทา เขียนเป็นสมการ คือ
σt = F/A
เมื่อ σt = ความเค้นดึง หน่วย N/ m2
2. ความเค้นอัด (compressive stress) หรือ σc เป็นความเค้นที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุนั้นได้รับแรงอัดใน
แนวตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัดที่แรงนั้นกระทา เขียนเป็นสมการ คือ
σc = F/A
เมื่อ σc = ความเค้นอัด หน่วย N/ m2
3. ความเค้นเฉือน (shear stress) หรือ τ เป็นความเค้นที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุนั้นได้รับแรงเฉือนที่กระทา
ในแนวขนานกับพื้นที่หน้าตัดที่แรงนั้นกระทา เขียนเป็นสมการ คือ
τ = F/A
เมื่อ σt = ความเค้นดึง หน่วย N/ m2

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ครูกล่าวถึง การเสียหาย การชารุด และการขาดของวัสดุต่างๆ
- สอดแทรกคุณธรรมเรื่อง “ความขยันของมด”
2. ขั้นสอน
- ครูอธิบายความหมายและชนิดของความเค้น ความสาคัญของความเค้นในเนื้อวัสดุ
- ครูยกตัวอย่างการคานวณหาค่าความเค้นชนิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวัสดุ
8
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- นักเรียนช่วยกันสรุป ชนิดและความสาคัญของความเค้นที่เกิดขึ้นกับวัสดุ
- ครูสรุปวิธีการวิเคราะห์และการคานวณหาค่าความเค้นชนิดต่างๆ

สื่อการสอน
- แผ่นใสเรื่อง ชนิดของแรง
- ตัวอย่างของชิ้นส่วน เช่น ยางแท่นเครื่อง ลิ้นไอดี

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
9
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. แรงภายนอกที่กระทาต่อวัสดุ โดยพยายามทาให้วัสดุนั้นขาดจากกันทาให้เกิดความเค้นชนิดใด
ก. Tensile stress
ข. Shear strain
ค. Shear stress
ง. Compressive strain

2. ข้อใดให้นิยามเกี่ยวกับความเค้นไม่ถูกต้อง
ก. อัตราส่วนของ F/A มีหน่วยเป็น N/m2
ข. แรงต้านทานภายในของวัสดุต่อหน่วยพื้นที่หน้าตัด
ค. แรงกระทาภายนอกต่อหน่วยพื้นที่หน้าตัดของวัสดุ
ง. แรงภายนอกที่กระทาผ่านศูนย์กลางของพื้นที่หน้าตัดของวัสดุ

3. สายเบรกของรถจักรยานยนต์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 mm. เมื่อทาการเบรกจะเกิดความเค้นดึง


17.68 N/mm2 จงหาแรงที่ต้องใช้ดึงสายเบรกเพื่อให้รถหยุด
ก. 2 kN
ข. 3 kN
ค. 4.5 kN
ง. 5 kN

4. ในจังหวะจุดระเบิดของเครื่องยนต์ พลังงานความร้อนที่ผลักดันหัวลูกสูบที่มีพื้นที่หน้าตัด 500 mm2


ให้เคลื่อนที่ลงเท่ากับ 100 kN ความเค้นที่เกิดขึ้นกับลูกสูบมีค่าเท่าใด
ก. 200 N/mm2
ข. 250 N/mm2
ค. 300 N/mm2
ง. 350 N/mm2

5. จงหาความเค้นเฉือนที่ใช้ตัดเจาะโลหะขนาด 2 mm.ให้เป็นรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 mm. โดยใช้


แรงในการตัดเท่ากับ 110 kN
ก. 150 N/mm2
ข. 250 N/mm2
ค. 350 N/mm2
ง. 400 N/mm2
10
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 4 คาบที่ 10-12 เรื่อง ความเครียด

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนบอกความหมายของความเครียดได้
2. เพื่อให้นักเรียนอธิบายลักษณะการเกิดความเครียดชนิดต่างๆ ในเนื้อวัสดุได้
3. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาค่าความเครียดชนิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับวัสดุได้

เนื้อหา
ความเครียด(Strain) คือ ขนาดหรือรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไปต่อขนาดเดิม เขียนเป็นสมการได้ว่า
ε = /L หน่วย -
เมื่อ ε = ความเครียด หน่วย -
 = ขนาดทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป หน่วย m
L = ขนาดหรือความยาวเดิมก่อนยืดหรือหดตัวของวัสดุ หน่วย m

ความเครียด (Strain) แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ


1. ความเครียดดึง (tensile stress) หรือ εt เมื่อวัตถุถูกกระทาโดยแรงดึงตามแนวแกน เมื่อเพิ่มแรง
ดึงขึ้นช้าๆ ท่อนวัตถุจะเกิดการยืดออกตามแนวแกนนั้น เขียนเป็นสมการ คือ
εt = /L
เมื่อ εt = ความเครียดดึง หน่วย -

2. ความเครียดอัด (compressive strain) หรือ εc เมื่อวัตถุถูกกระทาโดยแรงอัดตามแนวแกน เมื่อ


เพิ่มแรงอัดขึ้นช้าๆ ท่อนวัตถุจะเกิดการหดตัวลงตามแนวแกนนั้น เขียนเป็นสมการ คือ
εc = /L
เมื่อ εc = ความเค้นอัด หน่วย -
3. ความเครียดเฉือน (shear strain) หรือ  เมื่อวัตถุถูกกระทาโดยแรงเฉือนที่ขนานกับพื้นที่หน้าตัด
ที่รับแรงจะทาให้พื้นที่หน้าตัดของวัตถุเคลื่อนที่ไปเป็นมุม  เรเดียน เขียนเป็นสมการ คือ
 =  /L = tan
เมื่อ  เป็นมุมที่เอียงไป แต่มุม  นี้มีขนาดเล็กมาก ดังนั้น tan =  เรเดียน

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- สอดแทรกคุณธรรมเรื่อง “ การเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่นักศึกษารุ่นน้อง ”
- ยกตัวอย่างการยืดหยุ่นตัวของยางรถยนต์
11
2. ขั้นสอน
- อธิบายความหมายและชนิดของความเครียด ลักษณะการเสียหายของเนื้อวัสดุเนื่องจาก
ความเครียดแต่ละชนิด
- ยกตัวอย่างการคานวณหาค่าความเครียดชนิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวัสดุ
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- นักเรียนช่วยกันสรุป ชนิดของความเครียดและลักษณะการเสียหายที่เกิดขึ้นกับวัสดุ
- ครูสรุปวิธีการวิเคราะห์และการคานวณหาค่าความเครียดชนิดต่างๆ

สื่อการสอน
- แผ่นใสเรื่อง ความเครียดของวัสดุ
- ตัวอย่างของชิ้นส่วนที่เสียหายเนื่องจากความเครียด เช่น ยางแท่นเครื่อง บูชชิ่ง นัต

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
12
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. ข้อใดให้นิยามเกี่ยวกับความเครียด ไม่ถูกต้อง
ก. ε = /L
ข. ความเครียดเฉือนที่เกิดขึ้นกับวัตถุจะไม่มีหน่วย
ค. อัตราส่วนของความยาวที่เปลี่ยนไปจากความยาวเดิม
ง. ขนาดของวัสดุที่เปลี่ยนแปลงไปต่อขนาดเดิมเมื่อมีแรงภายนอกกระทา

2. สปริงอันหนึ่งยืดออก 60 mm. โดยใช้แรงดึง 72 N ถ้าใช้แรงดึง 40 N จะยืดออกเท่าไร


ก. 23.33 mm.
ข. 33.33 mm.
ค. 43.33 mm.
ง. 53.33 mm.

3. เสาเหล็กอันหนึ่งมี พท. หน้าตัดขนาด 50x 30 mm. ยาว 250 mm เมื่อใช้รองรับน้าหนักจากโครงสร้าง


ของอาคาร ทาให้หดตัวลง 0.1 mm. จะเกิด Compressive Strain เท่าใด
ก. 4
ข. 0.4
ค. 0.004
ง. 0.0004

4. แท่งยาวอันหนึ่งยาว 800 mm. กว้าง 25 mm. มีความสูง 520 mm. ยึดผิวล่างไว้แน่นส่วนผิวบนอยู่


ภายใต้แรงดึง 600 N ขนานกับผิวทาให้ผิวบนเคลื่อนที่ไป 15 mm. เทียบกับผิวล่าง จงหาค่าความเครียด
ก. 34.66
ข. 0.028
ค. tan-10.028 องศา
ง. ข้อ ข และ ค ถูกต้อง

5. จากโจทย์ข้อ 4 โมดูลัสของความเฉือนมีค่าเท่าใด
ก. 44.64 kN/m2
ข. 54.64 kN/m2
ค. 64.44 kN/m2
ง. 1071.64 kN/m2
13
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 5 คาบที่ 13-15 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายความความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดได้
2. เพื่อให้นักเรียนอธิบายกฎของฮุก และคานวณค่าความเค้นและความเครียดได้

เนื้อหา
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
จากการทดลองใช้แรงดึงกับวัสดุเหนียว เช่น เหล็ก เราจะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับ
ความเครียด จะเป็นปฏิภาคโดยตรงในช่วงระยะหนึ่ง และเมื่อผ่านระยะนี้ไปแล้วความสัมพันธ์ดังกล่าวจะเป็นเส้นตรง
เราสามารถนาเป็นกราฟได้ดังนี้

- จุด a หมายถึง Proportional limit เป็นจุดสุดท้ายที่กราฟเป็นเส้นตรง สัดส่วนการยืดกับ


แรงเป็นสัดส่วนกัน ใช้ค่า E ในช่วงนี้ได้
- จุด b หมายถึง elastic limit เป็นจุดสุดท้ายที่วัตถุยืดออกจะกลับมาเท่าเดิม จุด c หมายถึง
จุดครากบน(upper yield point)
- จุด c หมายถึง จุดครากล่าง lower yield point
จุด d หมายถึง ultimate strength เป็นจุดที่เกิดความเค้นสูงสุดในวัตถุ
- จุด e หมายถึง จุดแตกหัก rupture point

กฎของฮุค (Hooke,s law) กล่าวว่า “ ในช่วงของอีลาสติก ความเค้นจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับความเครียด


นั้น ” ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ คือ
/ = E หรือ  = P1/AE และ / = G

เมื่อ E คือ ค่าโมดูลัสของความยืดหยุ่น


เมื่อ G คือ ค่าโมดูลัสของความฉือน
14
วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่างความแข็งแรงและความสามารถในการยืดและหดตัวได้ของคอยล์สปริง
- สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม เรื่อง “ การทาความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน”
2. ขั้นสอน
- ครูอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด จากแฟ้ม Modulus of elastic
- ครูอธิบายการอ่านกราฟ Modulus of elasticity
- ครูอธิบาย Hook’s law และสมการที่ได้จากกฎของฮุก ยกตัวอย่างการคานวณหาค่า
ความเครียดชนิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวัสดุ
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดของเหล็กเหนียวที่ได้รับการ
ทดสอบด้วยแรงดึง

สื่อการสอน
- คอยล์สปริงของรถยนต์
- แผ่นใสความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
15
แบบฝึกหัดท้ายบท
โจทย์ จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ของ และ  จงตอบคาถามข้อ 1-5

1. ตาแหน่งของกราฟจุดใด ที่ แรงกับปฏิภาคโดยตรงกับส่วนที่ยืดออกของวัสดุ


ก. จากจุด 0-A ข. จากจุด A-B
ค. จากจุด B-C ง. จากจุด C-D

2. Elastic Limit ของโลหะเหนียวจะเกิดขึ้นที่ตาแหน่งใดของกราฟ


ก. จากจุด 0-A ข. จากจุด 0-B
ค. จากจุด 0-C ง. จากจุด 0-D

3. จุดครากของวัสดุ คือตาแหน่งใดของกราฟ
ก. Elastic Limit ข. Yield Point
ค. Plastic ง . Fracture

4. ตาแหน่งใดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงขนาดของวัสดุอย่างถาวร
ก. จุด c ข. จุด d
ค. จุด e ง. จุด c-e

5. สมการในข้อใด มีความสัมพันธ์กับกฎของฮุก
ก. / = E
ข.  = /L
ค.  = P1/AE
ง. ข้อ ก. และข้อ ค. ถูกต้อง
16
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 6
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 6 คาบที่ 16-18 เรื่อง ความเค้นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายการเกิดความเค้นของวัสดุเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาความเค้นของวัสดุที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้

เนื้อหา
ความเค้นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
วัตถุจะมีการขยายตัวหรือหดตัว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณภูมิ ดังนั้น ถ้าวัตถุขยายหรือหดตัวจะเกิด
ความเค้นขึ้น จะได้ว่า
 = L t
เมื่อ  คือ สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวตามเชิงเส้น เราจะได้ว่า
σ =  t F

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่างการยืดและหดตัวของฝาสูบเมื่อได้รับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป
- สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม เรื่อง “ ความซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพ ”
2. ขั้นสอน
- อธิบายความหลักการของความเค้นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
- ยกตัวอย่างการคานวณความเค้นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
- กาหนดโจทย์ เพื่อให้นักเรียนได้ออกมาแสดงวิธีทาและหาคาตอบหน้าชั้นเรียน
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนหลักการและการคานวณของความเค้นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
- สรุปผลเสียที่เกิดจากการใช้งานวัสดุ , อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรเกินอุณหภูมิที่กาหนด

สื่อการสอน
- แผ่นใส เรื่อง ความเค้นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด
17
หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
18
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. ความเค้นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ จะไม่เกิดขึ้นกับท่อนโลหะประเภทใด
ก. แท่งวัตถุที่ทาจาก Composite bar
ข. ท่อนวัตถุที่ทาจากโลหะชนิดเดียวกัน ปลายทั้ง 2 ด้านถูกยึดแน่น
ค. ท่อนวัตถุที่ทาจากโลหะชนิดเดียวกัน โดยปลายทั้งสองด้าน ไม่ถูกยึดติดแน่น
ง. ท่อนวัตถุที่ทาจากโลหะชนิดเดียวกัน ที่ปลายด้านหนึ่งถูกยึดติดแน่น อีกด้านหนึ่งเป็นอิสระ

2. คุณสมบัติและคุณลักษณะของ Composite bar คือข้อใด


ก. มีค่าสัมประสิทธิ์ตามเส้นของวัสดุเท่ากัน
ข. เป็นท่อนโลหะที่ทาจากวัตถุสองชนิดติดกัน
ค. เมื่อได้รับอุณหภูมิเพิ่มขึ้น จะยืดตัวเท่ากันภายใต้ load
ง. เมื่อได้รับอุณหภูมิที่ลดลง จะหดตัวเท่ากันภายใต้ load

โจทย์ : รางรถไฟยาวท่อนละ 10 m. ถูกวางให้มีช่องว่าง4.3 mm. ที่ปลายในขณะที่ temp. เท่ากับ 20 C


รางรถไฟนี้จะแตะกันพอดีที่อุณหภูมิเท่าใด กาหนดให้ E= 205 GN/m2  = 11.2x10-6/ C จงตอบคาถามข้อ 3-5
3. จากข้อมูลที่กาหนดให้ : รางรถไฟนี้จะแตะกันพอดีที่ temp. เท่าใด
ก. 35.7 C
ข. 58.4 C
ค. 60.6 C
ง. 62.4 C

4. จากข้อมูลที่กาหนดให้ จงหาค่า (T2-T1)


ก. 38.4 C
ข. 40.6 C
ค. 42.7 C
ง. 44.8 C

5. ถ้าไม่มีช่องว่างระหว่างราง ความเค้นที่เกิด มีค่าเท่าใด


ก. 78.15 N/mm2
ข. 88.15 N/mm2
ค. 98 N/mm2
ง. 108 N/mm2
19
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 7
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 7 คาบที่ 19-21 เรื่อง ความเค้นภายในภาชนะอัดความดัน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายความเค้นที่เกิดตามแนวส้นรอบวงและความเค้นตามแนวยาวได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาความเค้นที่เกิดตามแนวส้นรอบวงและความเค้นตามแนวยาวได้

เนื้อหา
ในการพิจารณาความเค้นที่เกิดขึ้นในภาชนะอัดความดันรูปทรงกระบอกกลางผนังบางนั้นจะมีความเค้น
เกิดขึ้น 2 แนวด้วยกันคือ ความเค้นแนวยาวและความเค้นแนวเส้นรอบวง โดยจะต้องพิจารณาตามข้อกาหนด ดังนี้
1. แรงที่กระทาตามแนวความยาว จะทาให้ความเค้นตามแนวยาว เป็นแรงที่ทาให้ภาชนะรูปทรงกระบอก
กลวงขาดตามแนวเส้นรอบวง
2. แรงที่กระทาตามแนวเส้นรอบวง จะทาให้ความเค้นตามแนวยาว เป็นแรงที่ทาให้ภาชนะรูป
ทรงกระบอกกลวงขาดตามแนวความยาว
3. ความเค้นแนวยาวและความเค้นแนวเส้นรอบวง จะกระทาตั้งฉากซึ่งกันและกัน
4. ความเค้นแนวเส้นรอบวงจะมีค่าเป็น 2 เท่าของความเค้นแนวยาว
5. ในการออกแบบจะต้องพิจารณาคิดขนาดต่างๆ จากค่าความเค้นแนวเส้นรอบวง
6. ถ้าจะมีตะเข็บจะต้องใช้ตะเข็บตามแนวยาว เพราะมีความแข็งแรงมากกว่าแนวอื่น

สมการที่ใช้คานวณหาค่าความเค้น
1. ความเค้นแนวยาว (Longitudinal Stress)
σL = Pr/2t = PD/4t
2. ความเค้นแนวเส้นรอบวง (Hoop Stress)
σH = Pr/t = PD/2t
3. ความเค้นในถังทรงกลมผนังบาง
σ = Pr/2t = PD/4t

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่างความดันที่มีอยู่ในถังพักลม หม้อลมเบรก ท่อส่งน้า
- สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เรื่อง “ ความเกรงใจ”
2. ขั้นสอน
- อธิบายตาแหน่งการเกิดความเค้นแนวยาวและความเค้นแนวเส้นรอบวงของภาชนะอัด
ความดันผนังบาง
20
- ยกตัวอย่างการคานวณความเค้นแนวยาวและความเค้นแนวเส้นรอบวง
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ให้ช่วยกันหาคาตอบจากโจทย์ที่กาหนดให้ แล้วส่งตัวแทนกลุ่มมา
แสดงวิธีการหาคานวณหน้าชั้นเรียน
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนตาแหน่งการเกิดความเค้นแนวยาวและความเค้นแนวเส้นรอบวงของภาชนะอัด
ความดันผนังบาง
- สรุปสมการที่ใช้ในการคานวณความเค้นแนวยาวและความเค้นแนวเส้นรอบวง

สื่อการสอน
- หม้อลมเบรกรถยนต์
- แผ่นใส เรื่อง ความเค้นที่เกิดขึน้ ตามแนวยาวและความเค้นแนวเส้นรอบวง

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
21
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. ถังพักลมที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 cm ถังควรมีความความหนาเท่าไร จึงจะทน  ที่เกิดขึ้นได้


ก. 1.5 cm.
ข. 2 cm.
ค. 2.5 cm.
ง. 3 cm.

2. ความเค้นที่เกิดขึ้น ตามแนวเส้นรอบวงของถังบรรจุแก๊ส จะทาให้เกิดการเสียหายในตาแหน่งใด


ก. ตามแนวรัศมี
ข. ตามแนวขวาง
ค. ตามแนวขนาน
ง. ตามแนวเส้นรอบวง

3. ความเค้นที่เกิดขึ้นตามแนวยาวของถังพักลม จะทาให้เกิดความเสียหายในตาแหน่งใด
ก. ตามแนวยาว
ข. ตามแนวขนาน
ค. ตามแนวเส้นรอบวง
ง. ตามแนวของรอยเชื่อม

4. พื้นที่ของวัสดุที่ต้านทานแรง F ที่เกิดจาก Pressure ภายในหม้อ boiler รูปร่างทรงกลม หาได้จากสูตรใด


ก. r2
ข. /4 x d2
ค. 2r
ง. 2rt

โจทย์ : หม้อ boiler มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.15 m. หนา 45 mm. มีความดันภายใน 3 MN/m2


5. Longitudinal stress มีค่าเท่าใด
ก. 35.83 MN/mm2
ข. 35.83 MN/m2
ค. 39.68 MN/mm2
ง. 39.68 MN/m2
22
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 8
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 8 คาบที่ 22-24 เรื่อง การต่อโดยใช้หมุดย้า

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายชนิดของการแตกหักและการขาดของหมุดย้าและแผ่นต่อได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณแรงต้านชนิดต่างๆ และประสิทธิภาพของรอยต่อได้

เนื้อหา
ชนิดของการต่อโดยใช้หมุดย้า
1. การต่อเกย (Lap joint) เป็นการนาแผ่นโลหะสองแผ่นมาวางซ้อนกันแล้วใช้หมุดย้าเป็นตัวยึดให้แน่น
2. การต่อชน (Butt joint) เป็นการนาแผ่นโลหะสองแผ่นมาต่อให้อยู่ในแนวเดียวกันโดยมีแผ่นโลหะ
ประกบหนึ่งแผ่น หรือสองแผ่นก็ได้ แล้วใช้หมุดย้าเป็นตัวยึดให้แน่น

ชนิดของการแตกหักหรือการขาดของหมุดย้าและแผ่นต่อ
1. หมุดย้าถูกเฉือนขาด
แรงต้านการเฉือน = พื้นที่ที่ถูกเฉือน x ความเค้นเฉือนของหมุดย้า
Fs = n x /4d2 x 
2. แผ่นต่อถูกหมุดย้าอัดแตก
แรงต้านการอัด = พื้นที่ที่ถูกอัด x ความเค้นอัด
Fc = ndt x c
3. แผ่นต่อขาดตามแนวขนานกับตะเข็บ
แรงต้านการขาด = พื้นที่ที่ขาด x ความเค้นดึง
Ft = (p - d)t x t
4. แผ่นต่อถูกเฉือนหน้าหมุดย้า
แรงต้านการเฉือนของแผ่นต่อ = พื้นที่ที่ถูกเฉือน x ความเค้นเฉือน
= 2at x 
5. แผ่นต่อฉีกขาดบริเวณหน้าหมุดย้า
6. แผ่นต่อแถวนอกขาดพร้อมกับหมุดแถวในถูกเฉือนขาด (กรณี ใช้หมุด 1 ตัว)
แรงต้านทั้งหมด = (p - d)t x t + /2d2 x 
7. แผ่นต่อแถวนอกขาดพร้อมกับหมุดย้าแถวในถูกอัดแตก
แรงต้านทั้งหมด = (p - d)t x t + d t x c
8. แรงต้านของแผ่นเต็ม ; F = (Pt) x t
ประสิทธิภาพของรอยต่อ สามารถคานวณได้ดังนี้
ประสิทธิภาพของการเฉือน ; s = Fs/F x 100 %
ประสิทธิภาพของการอัด ; c = Fc/F x 100 %
23
ประสิทธิภาพของการดึง ; t = Ft/F x 100 %
ประสิทธิภาพของการต่อนั้น เราจะต้องเลือกเอาค่าที่ต่าสุดจากการคานวณไปใช้ในงานจริง

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่างชิ้นส่วนของรถยนต์ที่มีการยึดโดยใช้หมุดย้า
- สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เรื่อง “ การเคารพสิทธิของผู้อื่น”
2. ขั้นสอน
- แบ่งกลุ่มให้นักเรียนค้นคว้าชิ้นส่วนของโครงสร้างที่มีการจับยึดด้วยหมุดย้า แล้วนามานาเสนอ
หน้าชั้นเรียน
- อธิบายชนิดของการแตกหักและการขาดของหมุดย้าและแผ่นต่อ
- ยกตัวอย่างการคานวณแรงต้านชนิดต่างๆและประสิทธิภาพของรอยต่อ
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนชนิดของการแตกหักและการขาดของหมุดย้าและแผ่นต่อ
- สรุปสมการและวิธีการคานวณแรงต้านชนิดต่างๆ และประสิทธิภาพของรอยต่อ

สื่อการสอน
- ชุดแผ่นคลัชท์รถยนต์
- แผ่นใสเรื่อง การต่อโดยใช้หมุดย้า
วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด
หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
24
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. การต่อแผ่นโลหะ 2 แผ่น เข้าด้วยกันสามารถทาได้โดยการใช้หมุดย้าในลักษณะใด ที่มีประสิทธิภาพดี


ที่สุด
ก. Single riveted lap joint
ข. Double riveted lap joint
ค. 2 cover plates แบบ Single
ง. 2 cover plates แบบ Double

2. ในการใช้หมุดย้าแผ่นโลหะชนิดเหนียว เพื่อไม่ให้ แผ่นต่อถูกเฉือนหน้าหมุดย้า ระยะ a ควรมีค่าเท่าใด


ก. 1.5d
ข. 2d
ค. 2.5d
ง. 3d

โจทย์ : ใช้ Double riveted lap joint ต่อแผ่นโลหะหนา 20 mm. ขนาดของหมุดย้า 25 mm. ระยะ pitch 60 mm. ถ้า
Shear Stress ของหมุด 360 MN/m2 Tensile Stress ของ plate 420 MN/m2 และ crushing stress ของหมุดและ plate
เท่ากับ 725 MN/m2 จงตอบคาถามข้อ 3-5
3. แรงต้านการขาดของแผ่นต่อ มีค่าเท่าใด
ก. 276 MN
ข. 294 MN
ค. 306 MN
ง. 329 MN

4. แรงต้านการอัดแตกระหว่างหมุดและแผ่นต่อ มีค่าเท่าใด
ก. 684 MN
ข. 715 MN
ค. 725 MN
ง. 796 MN

5. แรงต้านเต็มแผ่นของแผ่นต่อ มีค่าเท่าใด
ก. 22.4 kN
ข. 50.4 kN
ค. 76.4 kN
ง. 97.34 kN
25
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 9
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 9 คาบที่ 25-27 เรื่อง สอบเก็บคะแนนกลางภาค
26
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 10
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 10 คาบที่ 28-30 เรื่อง การต่อโดยใช้หมุดย้า

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะการเชื่อมต่อชิ้นงานได้
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถคานวณหาความแข็งแรงของรอยเชือ่ มได้

เนื้อหา
ลักษณะการเชื่อมต่อชิ้นงาน มี 2 แบบ คือ
1. การเชื่อมแบบต่อชน (butt weld) เป็นการเชื่อมโดยการนาส่วนปลายของแผ่นโลหะไว้ในแนวเดียวกันแล้ว
เชื่อมเข้าด้วยกันโดยใช้ การเชื่อมแก๊สหรือเชื่อมไฟฟ้า
สมการที่ใช้ คือ ความแข็งแรงของการเชื่อม ; F = t x L x w
2. การเชื่อมแบบต่อทาบ (fillet weld) เป็นการเชื่อมโดยการวางแผ่นโลหะวางในแนวตั้งฉากหรือซ้อนกัน
โดยใช้ การเชื่อมแก๊สหรือเชื่อมไฟฟ้า
สมการที่ใช้ คือ ความแข็งแรงของการเชื่อม ; F = 1.414 t’ x L x w

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่าง กระบวนการผลิตชิ้นส่วนและตัวถังรถยนต์
- สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม เรื่อง “ การมีสติ ”
2. ขั้นสอน
- อธิบายลักษณะการเชื่อมต่อชิ้นงานแบบต่างๆ
- ยกตัวอย่างการคานวณหาความแข็งแรงของรอยเชื่อมแบบต่างๆ
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนลักษณะการเชื่อมต่อชิ้นงานและการคานวณหาความแข็งแรงของรอยแบบต่างๆ
- สรุปหลักการเชื่อมเพื่อให้ได้รอยเชื่อมที่แข็งแรง

สื่อการสอน
- แผ่นใสเรื่อง การต่อโดยใช้การเชื่อม
- ตัวอย่างรอยเชื่อมแบบต่างๆ จากชิ้นงาน
27
วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
28
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. ลักษณะการต่อชิ้นงานด้วยการเชื่อม มี 2 แบบ คือข้อใด


ก. แบบต่อทาบ
ข. แบบต่อชน
ค. แบบการเชื่อมด้วยไฟฟ้าและแบบการเชื่อมด้วยแก๊ส
ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูกต้อง

2. ส่วนใดของรอยเชื่อม ที่ขาดได้ง่ายที่สุด
ก. แนว t
ข. แนว leg
ค. แนว throat
ง. แนวที่รับแรง

3. ในการเชื่อมแบบต่อทาบต่อแผ่นโลหะสองแผ่นที่หนา 12 มม. โดยใช้รอยเชื่อม 2 แนว อยู่ภายใต้แรงดึง


52 กิโลนิวตัน เมื่อความเค้นเฉือนมีค่า 85 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความยาวของรอยเชื่อมจะมีค่าเท่าใด
ก. 36.05 mm.
ข. 50 mm.
ค. 74.20 mm.
ง. 85.70 mm.

4. แผ่นโลหะสองแผ่นหนา 15 มม. ต่อโดยเชื่อมแบบต่อทาบ อยู่ภายใต้แรงดึง 320 กิโลนิวตัน ความยาว


ของรอยเชื่อม 300 มม. จงหาความเค้นเฉือนที่รอยเชื่อมรับได้
ก. 26.38 N/mm2
ข. 50.28 N/mm2
ค. 72.92 N/mm2
ง. 98.56 N/mm2

5. ใช้การเชื่อมแบบต่อทาบ ต่อแผ่นโลหะหนา 12 มม. โดยมีรอยเชื่อม 2 แนว ถ้าความเค้นเฉือนมีค่า 90


นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาแรงที่รอยเชื่อมรับได้
ก. 132.4 N
ข. 216.8 N
ค. 274.9 N
ง. 342.6 N
29
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 11
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 11 คาบที่ 34-36 เรื่อง การบิดของเพลา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายความหมายของแรงบิดที่กระทาต่อเพลาได้
2. เพื่อให้นักศึกษาคานวณหาค่าแรงบิด มุมบิด และความเค้นเนื่องจากแรงบิดได้

เนื้อหา
การบิด (Torsion) คือ ชิ้นส่วนของวัสดุหรือโครงสร้างเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างไปจากตาแหน่ง
เดิม
แรงบิด (Torsion Load) คือ แรงหรือโมเมนต์ที่กระทาให้ผิวและพื้นที่หน้าตัดของวัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลง
ขนาดและรูปร่างไปจากตาแหน่งเดิม
ในการคานวณเพื่อหาค่าต่างๆ เกี่ยวกับการบิด จะต้องพิจารณาเพลาตามเงื่อนไข ดังนี้
1. จะต้องไม่มีการเปลี่ยนแปลงระนาบของหน้าตัดวัสดุก่อนการบิดและหลังการบิดนั้นของเพลา
2. ความเค้นที่เกิดขึ้นของการบิดนั้นจะต้องไม่เกินค่าขีดจากัดของความยืดหยุ่น
3. วัสดุนั้นคุณสมบัติเหมือนกันตลอดความยาวของชิ้นวัสดุที่นามาพิจารณา
4. รัศมีของเพลาจะต้องมีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้และเป็นไปตามกฎของฮุค
5. เส้นรัศมีที่ตรงจะต้องยังคงเป็นรัศมีที่ตรงอยู่ระหว่างการบิดไปของเพลา
สมการที่ใช้คานวณคานวณหาค่าแรงบิด มุมบิด และความเค้นเนื่องจากแรงบิด
/max = /r
T = /max ∫2da
เมื่อ ∫2da = J = polar moment of inertia
max = T r/ J
เพลาตัน : มีค่า J = ( /32) D4
เพลากลวง : มีค่า J = /32 (D4 -d4)
เพลาตัน : max = 16T/(D3)
เพลากลวง : max = (16TD)/ (D4 -d4)
มุมบิด (Angle of twist) คือ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดของพื้นที่หน้าตัดของวัสดุ เมื่อมีการบิด
เกิดขึ้นที่เพลานั้น ซึ่งจะมีผลให้เพลาเกิดการเสียหายถ้าหากมุมบิดมากไป
ถ้ามุมบิดของเพลาเกินค่าที่กาหนด จะทาให้
1. ทาให้เสียความเที่ยงตรงทางด้านตาแหน่ง
2. ทาให้เกิดการสั่นสะเทือนที่เพลาและชิ้นส่วนต่างๆ ที่อยู่ใกล้
3. ทาให้เฟืองและแบริ่งที่รองรับเพลาอยู่เกิดการเสียหาย

สมการที่ใช้ :  = TL/JG
30
วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่างการทางานของทอร์ชั่นบาร์
- สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม เรื่อง “ การรู้กาลเทศะ ”
2. ขั้นสอน
- ให้นักเรียนช่วยกันบอกชิ้นส่วนของรถยนต์ที่รับแรงบิด
- ครูอธิบายความหมายของแรงบิดที่กระทาต่อเพลา
- ยกตัวอย่างการคานวณหาค่าแรงบิด มุมบิด และความเค้นเนื่องจากแรงบิด
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนหลักการและวิธีการคานวณค่าแรงบิด มุมบิด และความเค้นเนื่องจากแรงบิด
- สรุปผลเสียที่เกิดจากการใช้งานวัสดุ,อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรเกินกาลัง

สื่อการสอน
- แผ่นใส เรื่อง การบิดของเพลา
- ตัวอย่าง การทดสอบแรงบิดของแท่งเหล็กเหนียว

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
31
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. แรงบิดจะ ไม่ กระทาให้ส่วนใดของเพลาเกิดการบิดตัวไปจากตาแหน่งเดิม


ก. พื้นที่หน้าตัดของเพลา
ข. เส้นรอบวงของพื้นที่หน้าตัด
ค. ตาแหน่งแกนกลางของเพลา
ง. พื้นที่ผิวตามแนวยาวของเพลา

2. ส่วนใดของเพลาที่จะเกิดการขาดได้ง่ายที่สุด
ก. จุดหมุนของเพลา
ข. แกนกลางของเพลา
ค. พื้นที่ของเพลาที่มีระยะห่างจากจุดแกนกลางของเพลา
ง. พื้นที่ผิวของเพลาที่มีระยะใกล้กับจุดแกนกลางของเพลา

โจทย์ : เพลากลมตันส่งกาลังได้ 1.2 เมกะวัตต์ ที่ความเร็ว 10 รอบ/วินาที มีขนาด 130 มิลลิเมตร มุมบิด 0.026 เรเดียน
ความยาวเป็น 25 เท่า ของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง กาหนดให้ G= 83 GN/m2
จงตอบคาถามข้อ 3-5
3. มุมบิดสูงสุดที่เพลารับได้ คือเท่าใด
ก. 1 องศา
ข. 1.5 องศา
ค. 2 องศา
ง. 3 องศา

4. แรงบิดสูงสุดที่เพลารับได้ คือเท่าใด
ก. 19098 N-m
ข. 29098 N-m
ค. 39098 N-m
ง. 49098 N-m

5. ความเค้นเฉือนสูงสุดที่เพลารับได้ คือเท่าใด
ก. 76 N/mm2
ข. 86 N/mm2
ค. 96 N/mm2
ง. 106 N/mm2
32
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 12
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 12 คาบที่ 34-36 เรื่อง แรงบิดบนรูปหน้าตัดของเพลงแบบต่างๆ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับการส่งถ่ายกาลังของเพลาได้
2. เพื่อให้นักเรียนทาการคานวณหา กาลัง , แรงบิด และ ความเร็วรอบของเพลาได้

เนื้อหา
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับกาลัง
ลักษณะการใช้งานของเพลาทั่วไป คือ การใช้รับและส่งกาลังจากชิ้นส่วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหนึ่ง
ของเครื่องยนต์หรืออุปกรณ์อื่นๆ
กาลัง (POWER) คือ อัตราส่วนของ งานที่เพลาส่งได้/เวลา
P = T = 2TN/60 วัตต์
เพลาที่ทาจากวัสดุทั้งที่เป็นชนิดเดียวกันและต่างชนิดกันต่อเข้าด้วยกัน
ปลายเพลาทั้งสองข้างเป็นอิสระและต่อกันแบบอนุกรม โดยเพลาทั้ง 2 มีหน้าตัดต่างกัน
Tรวม = TA = TB
รวม = A+ B
ปลายเพลาทั้งสองข้างโดนยึดแน่นและต่อกันแบบอนุกรม โดยเพลาทั้ง 2 มีหน้าตัดต่างกัน
Tรวม = TA + TB
รวม = A = B
เพลาหลายอันต่อเข้าด้วยกันแบบขนาน โดยเพลาทั้ง 2 มีหน้าตัดต่างกัน
Tรวม = TA + TB
รวม = A = B
แรงบิดบนวัสดุผนังบาง (Torsion of thin-walled member)
วัสดุผนังบางเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่มีหน้าตัดไม่กลม ผนังบาง มีความหนาไม่คงที่ จะหาค่าแรงบิดที่
เพลารับได้โดย ใช้สูตร
 = T/2At
มุมบิด :  = TLs/(4A2GT)
แรงบิดบนรูปหน้าตัดแบบต่างๆ
รูปหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้าตัน
max = (1.8b+3h)T/(b2h2)
 = 7TL(b2 +h2)/(2b3h3G)
รูปหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้าบาง
max = 3T/(t2h)
 = 3TL/(t3h G)
33
รูปหน้าตัดตัวแอล
max = Gt/L
 = 3TL/ (t3b)G
รูปหน้าตัดแบบวงแหวนผ่า
max = 3T/( t2 d)
 = 3TL/(2r t3G)

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่าง การส่งถ่ายกาลังของเพลากลางรถยนต์
- สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เรื่อง “ การทาบุญในวันพระ”
2. ขั้นสอน
- อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับการส่งถ่ายกาลังของเพลา
- ยกตัวอย่างการคานวณเพื่อหา กาลัง , แรงบิด และ ความเร็วรอบของเพลา
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับการส่งถ่ายกาลังของเพลาที่ใช้ในงานต่างๆ
- สรุปผลเสียจากการใช้งานเพลาจนเกินขีดจากัด

สื่อการสอน
- แผ่นใส เรื่อง การบิดของเพลา
- ตัวอย่างแท่งเหล็กกลมที่รับแรงบิดและเกิดการเสียหาย

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
34
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. สมการใดที่แสดงความสัมพันธ์ของกาลังกับแรงบิดสาหรับเพลา ไม่ถูกต้อง
ก. P = Tw
ข. ข. P = W/t
ค. P = 2TN/60
ง. P = FxV

โจทย์ : วัสดุรูปทรงกระบอกกลมตันท่อนหนึ่ง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เท่ากัน รับโมเมนต์กระทาตามรูป


มีความเค้นเฉือนสูงสุดไม่เกิน 75 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ให้ค่า G เท่ากับ 83 จิกะนิวตัน/ตารางเมตร
จงตอบคาถามข้อที2่ -5

2. แรงบิดที่กระทากับท่อนวัสดุ AB มีค่าเท่าใด
ก. 4258661 N-mm.
ข. 7539822 N-mm.
ค. 9424776 N-mm.
ง. 12494470 N-mm.

3. มุมบิดที่หน้าตัดของท่อนวัสดุ AB มีค่าเท่าใด
ก. 0.034 เรเดียน
ข. 0.064 เรเดียน
ค. 0.094 เรเดียน
ง. 0.120 เรเดียน
4. มุมบิดที่หน้าตัดของท่อนวัสดุ BC มีค่าเท่าใด
ก. 0.058 เรเดียน
ข. 0.113 เรเดียน
ค. 0.325 เรเดียน
ง. 0.628 เรเดียน

5. มุมบิดทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับท่อนวัสดุ มีค่าเท่าใด
ก. 2.54 องศา ข. 5.68 องศา
ค. 8.42 องศา ง. 12.5 องศา
35
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 13
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 13-14 คาบที่ 37-42 เรื่อง แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดในคาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนบอกชนิดของคานที่รับ load แบบต่างๆ ได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาค่า แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นกับคานแบบต่างๆ ได้
3. เพื่อให้นักเรียนเขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนกับโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นกับคานแบบต่างๆ ได้

เนื้อหา
ชนิดของคานที่ใช้รองรับน้าหนัก
1. คานช่วงเดียวหรือคานแบบง่าย (Simply support)
2. คานยื่น (Cantilever beam)
3. คานช่วงเดียวปลายยื่น (Overhanging beam)
4. คานยึดแน่น (Fixed-ended beam)
5. คานแบบปลายหนึ่งยึดแน่นอีกปลายหนึ่งยึดหมุน (Propped beam)
6. คานต่อเนื่อง (Continuous beam)
ชนิดของแรงหรือน้าหนักที่กระทาบนคาน
1. แรงที่กระทาเป็นจุด (Concentrated load or point load)
2. แรงที่กระทาบนคานแบบกระจาย (Distributed load)
- แรงที่กระจายสม่าเสมอ (Uniformly distributed load)
- แรงที่กระจายไม่สม่าเสมอ ( Non-uniformly distributed load)
3. แรงคู่ควบหรือโมเมนต์ (Couple or moment)
4. แรงรวม (Combined load)
แรงเฉือน (shear force) คือ แรงที่กระทาให้คานที่รองรับแรงนี้ถูกเฉือนขาดในแนวดิ่ง
โมเมนต์ดัด (Bending moment) คือ โมเมนต์ที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากแรงเฉือนที่กระทาต่อคานแล้วพยายาม
ทาให้คานเกิดการโค้งงอจนไม่สามารถใช้งานได้

ขั้นตอนการคานวณหาขนาดและตาแหน่งของโมเมนต์ดัดสูงสุด
1. คานวณหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ โดยใช้สมการ MA = 0
2. พิจารณาหน้าตัดของคานที่ระยะความยาวแต่ละช่วง เพื่อคานวณหาค่า แรงเฉือน (V)
และโมเมนต์ดัดในคาน(M) ที่ตาแหน่งหน้าตัดนั้นๆ โดยใช้สูตร
Fy = 0 และ M v = 0
3. เขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนกับโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นกับคานนั้น
4. พิจารณาขนาดและตาแหน่งของโมเมนต์ดัดสูงสุดจากไดอะแกรมของแรงเฉือนกับโมเมนต์ดัด
36
วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่าง การโก่งตัวและการหักพังของสะพาน
- สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม เรื่อง “ การใช้เวลาให้เกิดคุณค่า ”
2. ขั้นสอน
- อธิบายชนิดของคานที่รับ load แบบต่างๆ ได้
- แสดงวิธีการคานวณหาค่า แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นกับคานแบบต่างๆ ได้
- เขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนกับโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นกับหน้าตัดของคานในแต่ละ ตาแหน่งที่ตัด
Section เพื่อหาขนาดและตาแหน่งการเกิดโมเมนต์ดัดสูงสุด
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนวิธีการคานวณหาค่า แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นกับคานแบบต่างๆ
- สรุปวิธีการเขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนกับโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นกับหน้าตัดของคาน

สื่อการสอน
- แผ่นใส เรื่อง แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดในคาน
- ตัวอย่างการโก่งตัวของคาน

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
37
แบบฝึกหัดท้ายบท

1. แรงชนิดใดที่กระทากับคานแล้วมีเครื่องหมายเป็นลบ
ก. แรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ
ข. แรงเฉือนที่มีทิศทางลง
ค. แรงเฉือนที่มีทิศทางขึ้น
ง. น้าหนักที่กระทาบนคานยื่น

2. ค่าโมเมนต์ดัดสูงสุดจะเกิดขึ้นที่ตาแหน่งใดของคาน
ก. ตาแหน่งที่ V = 0
ข. ตาแหน่งใดที่หนึ่งของแรงที่แรงกระทาเป็นจุด
ค. ตาแหน่งที่มีค่าของแรงเฉือนเปลี่ยนจากบวกมาเป็นลบ
ง. ตาแหน่งที่มีค่าของแรงเฉือนเปลี่ยนจากลบมาเป็นบวก

3. ขั้นตอนใดในการคานวณที่ทาให้เราทราบตาแหน่งการเกิดโมเมนต์ดัดสูงสุดของคาน
ก. การหาแรงปฏิกิริยา Fy = 0
ข. การหาค่า V ที่หน้าตัดของคานในตาแหน่ง x ใดๆ
ค. การหาตาแหน่ง M ดัด ที่หน้าตัดของคานในตาแหน่ง x ใดๆ
ง. ถูกทุกข้อ

โจทย์ : จากรูปจงตอบคาถามข้อ 4-8

4. แรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ A มีค่าเท่าใด
ก. 2 N
ข. 2.5 N
ค. 3 N
ง. 3.5 N
38
5. แรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ B มีค่าเท่าใด
ก. 2 N
ข. 2.5 N
ค. 3 N
ง. 3.5 N

6. โมเมนต์ดัดสูงสุดมีค่าเท่าใด
ก. 3 N-m
ข. 4 N-m
ค. 5 N-m
ง. 6 N-m

7. โมเมนต์ดัดสูงสุดกระทาห่างจากจุด A เท่าใด
ก. 1 m.
ข. 1.5 m.
ค. 2 m.
ง. 3 m.

8. แรงเฉือนต่าสุดมีค่าเท่าใด
ก. 1.5 N
ข. 2.5 N
ค. -2.5 N
ง. 3 N
39
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 14
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 15 คาบที่ 43-45 เรื่อง ความเค้นดัดในคาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนบอกข้อกาหนดที่ใช้ในการคานวณความเค้นดัดในคานที่มีหน้าตัดต่างๆ ได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาระยะห่างจากแกนศูนย์ถ่วงของหน้าตัดกับแกนสะเทินได้
3. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาค่าโมเมนต์ของความเฉื่อยของหน้าตัดแบบต่างๆ ได้
4. เพื่อให้นักเรียนคานวณความเค้นดัดในคานที่มีหน้าตัดแบบต่างๆ ได้

เนื้อหา
ข้อกาหนดที่ใช้ในการคานวณความเค้นดัดในคานที่มีหน้าตัดต่างๆ
1. ก่อนที่จะมีแรงมากระทากับคานนั้น คานจะต้องมีลักษณะตรงอยู่เสมอ
2. คานที่ใช้จะต้องทาจากวัสดุที่มีคุณสมบัติเหมือนกันตลอดทั้งคาน
3. ค่าโมดูลัสของความยืดหยุ่น ทั้งที่ด้านรับความเค้นดึงและความเค้นอัดในคาน จะต้องมีค่า
เท่ากันเสมอ
4. ความเค้นที่เกิดขึ้นในคานจะต้องมีค่าไม่เกินขีดจากัดของความยืดหยุ่นของคาน
5. ระนาบหน้าตัดของคานทั้งก่อนและหลังการพิจารณา จะต้องเป็นระนาบเดิมเสมอ
6. ความโก่งของคานที่เกิดขึ้นจะต้องมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับความยาวคาน
ความเค้นที่เกิดขึ้นที่หน้าตัดของคานที่ตาแหน่งใดๆ หาได้จากสมการ
 = My/I
เมื่อ I = ∫y2dA คือ โมเมนต์ของความเฉื่อย
ความเค้นสูงสุดที่เกิดขึ้นที่หน้าตัดของคาน หาได้จากสมการ
 = Mc/I
เมื่อ c เป็นระยะจากแนวแกนสะเทินของหน้าตัดไปยังขอบบนหรือล่างสุดของหน้าตัดคาน
การหาตาแหน่งของ y และค่า I ของคานที่มีหน้าตัดต่างๆ
1. หน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้า : A = bh
c = h/2
I = 1/12( bh3 )
2. หน้าตัดวงกลม : A = /4(d2)
c = d/2
I = /64 ( d4 )
3. หน้าตัดวงกลม : A = 1/2( bh )
c = h/3
I = /36 (bh3)
40
4. หน้าตัดครึ่งวงกลม : A = r2/2
c = 4r/(3)
I = 0.110 r4
ในกรณีที่หน้าตัดของคานไม่เป็นตามที่กล่าวมาแล้ว เช่น เป็นตัวทีการหาค่า I จะต้องใช้สมการ
IN.A = IC.G + Ad2
เมื่อ IN.A คือ โมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกนที่ต้องการหา
IC.G คือ โมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกนสะเทินของหน้าตัดนั้น
A คือ พื้นที่หน้าตัดของคาน
d คือ ระยะที่อยู่ห่างจากแกนศูนย์ถ่วงไปยังแกนที่ต้องการหา

วิธีหาโมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกนสะเทินของรูปตัว T
1. หาจุดศูนย์ถ่วงของรูปตัว T โดยใช้สมการ
y = (A1y1 + A2y2 )/( A1+ A2)
IN.A ของรูปตัว T ทั้งหมด = IN.A ของรูปในแนวนอน + IN.A ของรูปในแนวตั้ง

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- กล่าวถึง ความเค้นที่เกิดขึ้นกับคานหรือชิ้นส่วนและโครงสร้างต่างๆ
- สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เรื่อง “ การแสดงความเคารพต่อสถานที”่
2. ขั้นสอน
- ยกตัวอย่างการเกิดความเค้นดัดในวัสดุต่างๆ อันเนื่องมาจากโมเมนต์ดัด เช่น คาน เพลาข้อ
เหวี่ยง ก้านสูบ แหนบรถยนต์
- อธิบายข้อกาหนดที่ใช้ในการคานวณความเค้นดัดในคานที่มีหน้าตัดต่างๆ
- อธิบายและยกตัวอย่างการหาระยะห่างจากแกนศูนย์ถ่วงของหน้าตัดกับแกนสะเทิน
- อธิบายและยกตัวอย่างการคานวณหาค่าโมเมนต์ของความเฉื่อยของหน้าตัดแบบต่างๆ
- ยกตัวอย่างการคานวณความเค้นดัดในคานที่มีหน้าตัดแบบต่างๆ ได้
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ให้นักเรียนช่วยกันสรุป สาเหตุที่ทาให้ชิ้นส่วนหรือโครงสร้างต่างๆ เกิดการเปลี่ยนรูปร่างจนไม่
สามารถใช้งานได้
- ทบทวนวิธีการคานวณความเค้นดัดในคานที่มีหน้าตัดแบบต่างๆ
41
สื่อการสอน
- แผ่นใสเรื่อง ความเค้นดัดในคาน
- โมเดลแสดงตาแหน่งการรับความเค้นดัดของหน้าตัดคาน

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
42
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. Neutral axis มีความหมาย ไม่ ตรงกับข้อใด
ก. แนวแกนของหน้าตัดคานใดๆ
ข. แนวที่ความเค้นดัดมีค่าเป็นศูนย์
ค. ความยาวส่วนที่โค้งมากที่สุดของคาน
ง. ชั้นของหน้าตัดคานที่ไม่มีความยืดและหดตัว

2. โมเมนต์ดัดสูงสุดจะเกิดขึ้นที่ตาแหน่งใดของหน้าตัดคาน
ก. แนวแกนสะเทิน
ข. ตาแหน่งใดๆของหน้าตัด
ค. y
ง. แนวแกนศูนย์ถ่วงของหน้าตัด

3. ข้อใดอธิบายความสัมพันธ์ของสมการ  = Mc/I ไม่ถูกต้อง


ก. I/c คือโมดูลัสของห้าตัดเพลา
ข. การหาค่าของ c จะต้องรู้ตาแหน่งของแนวแกนสะเทิน
ค. คานที่รับโมเมนต์ดัดได้มากจะมีความเค้นกระทากับคานมากด้วย
ง. คานที่รับโมเมนต์ดัดได้มากจะต้องมีระยะจากแนวแกนสะเทินน้อยที่สุด

4. คานแบบยื่นมีพื้นที่หน้าตัด 120x 180 mm2 ยาว 2.60 m. มีแรงกระทาที่ปลายคาน 20 kN คานท่อนนี้


จะรับความเค้นดัดได้เท่าใด
ก. 50 N/mm2
ข. 60 N/mm2
ค. 70 N/mm2
ง. ง. 80 N/mm2

5. ข้อใด ไม่ ถูกต้อง


ก. ความเค้นเฉือนประมาณ 95% จะเกิดขึ้นที่ web
ข. ความเค้นเฉือนจะเกิดขึ้นในแนวดิ่งของหน้าตัดคาน
ค. ความเค้นเฉือนจะเกิดขึ้นในแนวระดับของหน้าตัดคาน
ง. ของคานความเค้นเฉือนสูงสุดจะเกิดขึ้นในแนวแกนสะเทินของหน้าตัดคาน
43
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 15
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 16 คาบที่ 46-48 เรื่อง ความเค้นเฉือนในคาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายการเกิดโมเมนต์ดัดและความเค้นเฉือนในคานได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาความเค้นเฉือนในคานที่มีหนาตัดรูปต่างๆ ได้

เนื้อหา
ความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นที่หน้าตัดของคาน

พิจารณาคานช่วงเดียวที่มีหน้าตัดสี่เหลี่ยม มีแรง P กระทาบนคาน ทาให้เกิดความเค้นดัดกระทาตั้งฉากกับ


หน้าตัดของคานและเกิดความเค้นเฉือนในแนวแกน x และแกน y ของหน้าตัดคาน ซึ่งหน้าตัดคานอยู่ในภาวะสมดุลย์
ดังนั้น การหาค่าความเค้นเฉือน จึงสามารถหาได้จากสมการ
 = VQ/Ib
เมื่อ  คือ ความเค้นเฉือนในคาน
V คือ แรงเฉือนในแนวดิ่ง
Q คือ โมเมนต์ของพื้นที่รอบแนวแกนสะเทิน = ay
I คือ โมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแนวแกนสะเทินของคาน
b คือ ความกว้างของคาน
สมการหาความเค้นเฉือนในคานรูปหน้าตัดต่างๆ
1. หน้าตัดคานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
max = 3 V /(2A) = 1.5mean
2. หน้าตัดคานเป็นรูปวงกลม
max = 4 V /(3A) = (4/3)mean
3. หน้าตัดคานเป็นรูปตัวไอ
max = VQ /(It)
เมื่อ t คือ ความหนาของ wab
44
วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- ยกตัวอย่าง การพังของเขื่อน
- สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมเรื่อง “ การเป็นผู้ให้ดีกว่าเป็นผู้รับ”
2. ขั้นสอน
- อธิบายการเกิดโมเมนต์ดัดและความเค้นเฉือนในคาน
- ยกตัวอย่างการคานวณความเค้นเฉือนในคานที่มีหน้าตัดรูปต่างๆ ของคาน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ให้ช่วยกันหาคาตอบจากโจทย์ที่กาหนดให้ แล้วส่งตัวแทนกลุ่มมา
แสดงวิธีการหาคานวณหน้าชั้นเรียน
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ทบทวนตาแหน่งและทิศทางการเกิดโมเมนต์ดัดและความเค้นเฉือนในคาน
- สรุปวิธีการคานวณความเค้นเฉือนในคานที่มีหนาตัดรูปต่างๆ ของคาน

สื่อการสอน
- แผ่นใสเรื่อง ความเค้นเฉือนในคาน

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัด

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
45
แบบฝึกหัดท้ายบท

โจทย์ จากรูปจงตอบคาถามข้อ 1

1. V max มีค่าเท่าใด
ก. 30 N ข. 40 N
ค. 50 N ง. 60 N

โจทย์ จากรูปจงตอบคาถามข้อ 2-3

2. ความเค้นเฉือนสูงสุดที่คานรับได้ มีค่าเท่าใด (ให้ w = 5 kn/m)


ก. 180 kN/m2 ข. 190 kN/m2
ค. 200 kN/m2 ง. 210 kN/m2

3. แรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นกับคาน มีค่าเท่าใด
ก. 5 N ข. 10 N
ค. 15 N ง. 20 N

โจทย์ จากรูปจงตอบคาถามข้อ 4 – 5

4. แรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นกับคาน มีค่าเท่าใด
ก. 40 N ข. 50 N
ค. 60 N ง. 70 N

5. M max มีค่าเท่าใด
ก. 210 N-m ข. 220 N-m
ค. 230 N-m ง. 240 N-m
46
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 16
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 17 คาบที่ 49-51 เรื่อง การโก่งของคาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนอธิบายวิธีการหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคาน
โดยวิธี moment-area ได้
2. เพื่อให้นักเรียนคานวณหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคาน
โดยวิธี moment-area ได้

เนื้อหา
การโก่งของคาน
คานเป็นส่วนของโครงสร้างที่ทาหน้าที่รับโมเมนต์ดัดและแรงเฉือน ซึ่งเกิดจากแรงภายนอกที่กระทาจึงเป็น
สาเหตุทาให้คานเกิดการแอ่นตัวลงหรือโก่งงอทาให้คานไม่อยู่ในแนวตรง และบางครั้งเมื่อคานต้องรับแรงหรือน้าหนัก
มากเกินกาหนดก็จะทาให้คานเกิดการเสียหายได้
เนื่องจากการคานวณหาระยะโก่งโดยวิธี moment-area จาเป็นที่จะต้องรวมโมเมนต์ของพื้นที่รอบแกนๆ หนึ่ง
เสมอ ดังนั้นการหาจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ชนิดต่างๆ สามารถหาได้จากพื้นที่ของรูป ต่อไปนี้

วิธีการหาค่าความลาดเอียงและระยะโก่งตัวของคานโดยวิธี moment-area
1. คานวณหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับของคาน
2. คานวณหาค่าโมเมนต์ดัดและเขียนแผนภาพโมเมนต์ดัด (BMD)
3. เขียนเส้นโค้งอีลาสติก แสดงลักษณะการโก่งตัวของคาน
47
4. เขียนแผนภาพของ M/EI diagram
5. ลากเส้นสัมผัสจุดที่ต้องการหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคาน เช่น ที่จุด
รองรับหรือจุดที่กาหนดให้
6. คานวณหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคานจากสูตรทีไ่ ด้จากการพิจารณา

วิธีการสอน
1. ขั้นนา
- กล่าวนาถึงการใช้เครื่องตั้งศูนย์ เครื่องกลึง เครื่องกัด กับเพลาหรือชิ้นส่วนต่างๆ ที่
โก่งตัว (แอ่นตัว)
- สอดแทรกคุณธรรมเรื่อง “ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น”
2. ขั้นสอน
- ครูซัก-ถาม นักเรียนเกี่ยวกับการวิธีการอื่นๆ ที่ทาให้เพลาสมดุลหรือมีค่าความโก่งลดลง
- ครูอธิบายวิธีการหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคานโดยวิธี moment-area
- ครูยกตัวอย่างการคานวณหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคานโดย วิธี moment-
Area
3. ขั้นปฏิบัติ
- กาหนดกิจกรรม ให้นักเรียนวัดอุปกรณ์ต่างๆด้วยหน่วยวัดอย่างหนึ่งแล้วคิดคานวณแปลงเป็น
หน่วยอีกอย่างหนึ่ง
4. ขั้นสรุป
- ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปวิธีการหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคานโดยวิธี
moment-area

สื่อการสอน
- แผ่นใสเรื่อง การหาความลาดชันและระยะการโก่งตัวของคานโดยวิธี moment-area

วิธีการประเมิน
- ถาม- ตอบ
- ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

หนังสืออ่านประกอบ
- กลศาสตร์ของแข็ง สุรเชษฐ์ รุ่งวัฒนพงษ์
- Solid of material ชนะ กสิภาร์
48

แบบฝึกหัดท้ายบท
โจทย์ : จากรูป จงตอบคาถาม ข้อที่ 1- 2

1. จุดศูนย์ถ่วง ของโมเมนต์พื้นที่ อยู่ในตาแหน่งใด


ก. (1/3) L
ข. (2/3) L
ค. (3/8) L
ง. (1/5) L
2. y max (ระยะโก่งสูงสุด) มีค่าเท่าใด
ก. (1/3PL)/EI
ข. (1/3PL2)/EI
ค. (1/3PL3)/EI
ง. (1/3PL4)/EI

โจทย์ จงตอบคาถามข้อ 3-5 โดยใช้ข้อมูลดังนี้


A: เขียนเส้นโค้งอีลาสติก
B : คานวณหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ
C : เขียนแผนผังของ M/EI ไดอะแกรม
D : เขียน BMD
E : เลือกจุดบนเส้นโค้งอีลาสติกที่ทราบระยะโก่ง
F : คานวณหาการเคลื่อนที่ของจุดเทียบจากเส้นสัมผัสในข้อ E
G : คานวณหาระยะโก่งและความลาดเอียง

3. ข้อใดคือขั้นตอนที่ 1 ในการหาค่าความลาดชันและระยะโก่งตัวของคาน
ก. A ข. B
ค. C ง. D
4. ข้อใดคือขั้นตอนที่ 2 ในการหาค่าความลาดชันและระยะโก่งตัวของคาน
ก. C ข. D
ค. E ง. F
5. ข้อใดคือขั้นตอนที่ 3 ในการหาค่าความลาดชันและระยะโก่งตัวของคาน
ก. A ข. B
ค. C ง. D
49
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 17
รหัสวิชา 3100-0107 วิชา ความแข็งแรงของวัสดุ
สัปดาห์ที่ 18 คาบที่ 52-54 เรื่อง สอบเก็บคะแนนปลายภาค

Anda mungkin juga menyukai