Anda di halaman 1dari 3

Unclassified Bangkok 000598 Thursday, 30 January 2007, 23:11

ไมจัดชั้นความลับ กรุงเทพ 000598 วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม 2550, 23:11 น.

Subject : RTG open to discussions with pharma “after CL’s are issued”
หัวขอ : รัฐบาลไทยเปดการเจรจากับบริษัทยา “ภายหลังการทําสิทธิเหนือสิทธิบัตรถูกประกาศ”

1. On January 29, Minister of Public Health Mongkol na Songhkla issued a statement officially
announcing compulsory licenses (CL) on Abbott Labs’ HIV medicine Kaletra, and the heart medication
Plavix, distributed by Sanofi-Aventis. The official notification for Kaletra was signed on January 24, and
for Plavix the following day. According to the statement, the CL on Kaletra will be effective for five
years, but for Plavix will have no expiration date.
1. เมื่อวันที่ 29 มกราคม, รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข มงคล ณ สงขลา ออกคําแถลงอยางเปนทาง
การเพื่อประกาศการทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร (CL) [สิทธิในการใชสิทธิบัตรของผูอื่นอยางถูกกฎหมายโดยได
รับการอนุญาตจากรัฐบาล] ตอยารักษาภาวะภูมิคุมกันบกพรอง (HIV) ของหองปฏิบัติการแอบบอต ยาคาเลต
ตรา, และยารักษาหัวใจ ยาพลาวิก, ซึ่งจําหนายโดยซาโนฟ-อเวนตีส หนังสือแจงอยางเปนทางการสําหรับยา
คาเลตตราถูกลงนามเมื่อวันที่ 24 มกราคม, และสําหรับยาพลาวิกในวันตอมา อางถึงคําแถลง, การทําสิทธิ
เหนือสิทธิบัตร (CL) ตอยาคาเลตตราจะมีผล 5 ป, แตสําหรับยาพลาวิกจะไมมีวันหมดอายุ
2. Mongkol’s statement offered an opening of sorts to pharmaceutical firms, saying that the government
would ask for voluntary price reductions from the firms before exercising compulsory licenses. He added
less than magnanimously that, “if we can buy the original drug at a price not higher than that available in
other places, we are willing to buy it.” In other words, any pharmaceutical firm that markets a patented
life-saving drug at a higher price than available generics faces the prospect of a compulsory license.
2. คําแถลงของมงคลเสนอการเปดทางเลือกตอบริษัทยา, โดยพูดวา รัฐบาลจะถามถึงความสมัครใจตอการ
ลดราคาจากบริษัทกอนดําเนินการทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร เขาเพิ่มเติมอยางไมคอยเอื้อเฟอวา, “ถาพวกเรา
สามารถซื้อยาตนตํารับที่ราคาที่ไมสูงกวาที่หาซื้อไดจากที่อื่น, พวกเรายินดีที่จะซื้อมัน” พูดงายๆคือ, บริษัท
ยาใดที่ขายยารักษาชีวิตที่มีสิทธิบัตรดวยราคาที่สูงกวาที่หาซื้อไดโดยทั่วไปจะเผชิญหนากับโอกาสแหงการ
ทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร
3. In a phone conversation with Econoff, Dr. Suwit Wibulpolprasert, the Senior Advisor on Health
Economics to the Minister of Public Health and a driving force behind the CLs, claimed that the Ministry
was open to meeting with pharmaceutical firms to discuss pricing, but only after the CL was issued. Suwit
said that the Ministry had opted against negotiating beforehand with patent holders, having had no luck in
previous discussions. He insisted that negotiations would only have delayed the process and would not
have resulted in lower prices, and noted that WTO rules did not require prior negotiations when used for
public non-commercial use. Suwit said despite pharmaceutical companies protests to the contrary there
were 3 - 4 cases of prior discussions they could publicize, but chose not to so that “the companies
wouldn’t lose face.”
3. ในการสนทนาทางโทรศัพทกับเจาหนาที่ดานเศรษฐกิจ, ดร. สุวิทย วิบูลผลประเสริฐ, ที่ปรึกษาอาวุโส
ดานเศรษฐศาสตรสุขภาพของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขและเปนพลังขับเคลื่อนอยูเบื้องหลังการ
ทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร (CL), อางวา กระทรวงเปดโอกาสการพบปะกับบริษัทยาเพื่อสนทนาเรื่องราคา, แต
[นั่น] หลังจากที่การทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร (CL) ถูกประกาศแลว สุวิทยกลาววา กระทรวงเลือกที่จะคัดคาน
การเจรจากอนลวงหนากับผูถือสิทธิบัตร, ซึ่งโชคไมเขาขางในการสนทนากอนหนานี้ เขายืนยันวาการเจรจา
เปนเพียงการทําใหกระบวนการลาชาและจะไมมีผลใหราคาลดลง, และระบุวา ขอตกลงขององคการการคา
โลก (WTO) ไมไดกําหนดในการเจรจากอนหนานี้ถา [การทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร] ใชเพื่อประโยชนตอสา
ธารณะที่ไมใชการคา สุวิทยพูดวา ถึงอยางไรก็ตามบริษัทยายังประทวงตอสิ่งที่ตรงขามกับ 3 - 4 กรณีจาก
การสนทนากอนหนานี้ซึ่งพวกเขายอมใหเผยแพร, แตเลือกที่จะไมเพื่อที่วา “บริษัทจะไมเสียหนา”
4. Pharmaceutical firms are up in arms over the newest declaration and are mulling their options,
including pursuing litigation. Lawyers for the local pharmaceutical association (and attorneys of record for
many of the local firms) say they plan to file an appeal to the Board of Patents on the CL on Merck’s drug
efavirenz. Thai law offers the opportunity to appeal a CL decision within 60 days of receiving notice of
the decision. Although there was no official government decree, Merck received notification on December
12, and thus plan to file their appeal by February 9 to meet the deadline. Any further litigation on this and
other products may have to wait until actual deliveries of generic versions of the drug are made in
Thailand.
4. บริษัทยาไมพอใจอยางมากตอการประกาศฉบับลาสุดและกําลังครุนคิดตอทางเลือกของพวกเขา, รวมทั้ง
การดําเนินการฟองรอง ทนายความจากบริษัทยาในประเทศ (และผูรับมอบอํานาจตามหนังสือของบริษัทใน
ประเทศหลายแหง) พูดวาพวกเขาวางแผนเพี่อเตรียมการอุทธรณตอคณะกรรมการสิทธิบัตรตอการทําสิทธิ
เหนือสิทธิบัตร (CL) ตอยาเอฟฟาไวเรนซ [ยารักษาโรคเอดส] ของเมอรค กฎหมายไทยเสนอโอกาสใหอุท
ธรณการตัดสินใจทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร (CL) ภายใน 60 วันที่ไดรับการแจงเกี่ยวกับการตัดสิน ถึงแมวาไมมี
พระราชกําหนดของรัฐบาลอยางเปนทางการ, เมอรคไดรับการแจงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม, และดวยเหตุนี้จึง
วางแผนเพื่อเตรียมการอุทธรณของพวกเขาในวันที่ 9 กุมภาพันธซึ่งตรงกับเสนตาย การฟองรองเพิ่มเติมใด
ตอสิ่งนี้และผลิตภัณฑอื่นอาจจะตองรอจนกระทั่งมีการกระจาย [สินคา] อยางแทจริงสําหรับยาที่ไมใช
สิทธิบัตร [ยาที่อาจมีหรือไมมีสิทธิบัตรของผูอื่น แตสามารถผลิตอยางถูกกฎหมายโดยไดรับอนุญาตจากรัฐ
บาล] ซึ่งจะถูกทํา [สิทธิเหนือสิทธิบัตร] ในประเทศไทย
5. The Swiss Ambassador brought up the CL issue on January 29 with Minister of Commerce Krirk-krai
Jirapaet, but the Minister simply referred the matter to the Ministry of Public Health. Merck had earlier
reported that the Minister had pledged in a meeting with them that no more compulsory licenses would be
issued, but with the Swiss he offered no more assurances other than that Thailand would respect its
international commitments.
5. เอกอัครราชทูตสวิสเอยถึงการประกาศทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร (CL) เมื่อวันที่ 29 มกราคมตอรัฐมนตรีวา
การกระทรวงพาณิชย เกริกไกร จีระแพทย, แตรัฐมนตรีอางอยางงายๆวา เปนเรื่องของกระทรวงสาธารณสุข
เมอรครายงานกอนหนานี้วา รัฐมนตรีใหสัญญาในการพบปะกับพวกเขาวา จะไมมีการประกาศทําสิทธิ
เหนือสิทธิบัตรมากกวานี้, แตกับ [เอกอัครราชทูต] สวิส เขาเสนอวาไมมีการรับประกันวาจะไมมียาอื่น [ที่
ตองทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร] มากกวานี้ซึ่งประเทศไทยจะเคารพตอขอตกลงสากล

Comment
ขอคิดเห็น

6. The Ministry of Public Health remains determined to forge ahead with its CL plans, and feels that it is
in a strong negotiating position. To date, no RTG ministries seem to be either willing or able to intervene
in the CL process. Our impression is that, in terms of group dynamics, the CL process is one “aye” (the
MoPH) in a room full of no-comments (the other ministries). Local media coverage has been minimal and,
aside from coverage of PReMA’s press release, uncritical.
6. รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขยังคงตัดสินใจที่จะเรงรัดไปขางหนาตอแผนการทําสิทธิเหนือสิทธิ
บัตร (CL), และรูสึกวา อยูในตําแหนงที่ [นาจะ] เจรจาไดอยางเขมแข็ง จากการประชุมรวม, ไมมีรัฐมนตรี
ของรัฐบาลไทย (RTG) ที่ดูเหมือนจะทั้งเต็มใจหรือสามารถแทรกแซงกระบวนการทําสิทธิเหนือสิทธิบัตร
(CL) ความประทับใจของพวกเราคือ, จากความเห็นของกลุมที่เคลื่อนไหว, กระบวนการทําสิทธิเหนือ
สิทธิบัตร (CL) เปน “การตอบรับ” (กระทรวงสาธารณสุข) ในหองที่เต็มไปดวยการไมออกความคิดเห็น
(กระทรวงอื่น) สื่อทองถิ่นรายงานขาววามีความเปนไดนอยและ, อีกดานจากการรายงานขาวของสื่อของ
สมาคมผูวิจัยและผลิตเภสัชภัณฑ (PReMA) ที่ออกมาวา, ไม [ใชเรื่อง] วิกฤต

Anda mungkin juga menyukai