Anda di halaman 1dari 33

ประเภทของเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ น

(Dust Collectors)

• Inertial Separators
• Fabric Collectors
• Wet Scrubbers
• Electorstatic Precipitators
จะเป็ นเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นออกจากสายของก๊าซโดยอาศัย
• เเรงเหวีย่ งจากศูนย์ กลาง
• เเรงโน้ มถ่ วง
• เเรงเฉื่อย
โดยเเรงเหล่ านีจ้ ะเคลือ่ นย้ ายอนุภาคฝุ่ นไปยังพืน้ ทีซ่ ึ่งมีการไหลของสาย
เเก็สน้ อย หลังจากนั้นอนุภาคฝุ่ นจะถูกเคลือ่ นย้ ายไปตามเเรงโน้ มถ่ วง
ของโลกเข้ าสู่ ตวั เก็บสะสมอนุภาคฝุ่ น (Hopper)
ประเภทของเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นเเบบ อาศัยเเรง
เฉื่อยเเบ่ งได้ เป็ น 3 ชนิด

* Settling Chamber
* Baffle Chamber
* Centrifugal Collector
• ประกอบไปด้ วยกล่ องขนาด
ใหญ่ การขยายขนาดอย่ างทันที
ของตัว Chamber จะทำให้
อนุภาคฝุ่ นทีอ่ ยู่ในสายเเก็ส เเละ
อนุภาคอืน่ ทีม่ นี ้ำหนักนั้นมี
ความเร็วลดลง ทำให้ สามารถถูก
กำจัดออกไปได้ ง่ายขึน้ Settling
Chamberไม่ ค่อยจะเป็ นทีน่ ิยม
นักเนื่องจากมันมีประสิ ทธิภาพ
ต่ำเเละมีขนาดใหญ่
• Baffle Chamber จะมีตวั กั้นอยู่
ภายในทำให้ สายก๊ าซทีเ่ ข้ ามามี
การเปลีย่ นทิศทางการไหลทันที
อนุภาคทีม่ ขี นาดใหญ่ จะไม่
สามารถเปลีย่ นทิศทางได้ ทนั
ตามสายก๊ าซ เนื่องจากอนุภาค
เหล่านั้นมีเเรงเฉื่อยมาก หลังจาก
นั้นอนุภาคเหล่ านั้นก็จะถูกกำจัด
ออกมา
• อาศัยการเหวีย่ งในการเเยกอนุภาคฝุ่ นออกจากสายก๊าซ โดยจะบังคับให้
สายก๊าซรวมทั้งอนุภาคฝุ่ นไหลหมุนวนอยู่ภายใน จากนั้นอนุภาคฝุ่ นเเละ
อนุภาคทีม่ ขี นาดใหญ่ กจ็ ะถูกเหวีย่ งไปทีผ่ นังของไซโคลน (Cyclone)
เเละสุ ดท้ ายอนุภาคเหล่านั้นก็จะตกลงไปในตัวเก็บสะสมอนุภาคฝุ่ นต่ อ
ไป (Hopper)
ประเภทของ Centrifugal Collector ทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมมีอยู่ 2 ประเภทด้ วย
กันคือ
* Single Cyclone Separator
* Multiple Cyclone Separators
• เครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นประเถ
ทนีจ้ ะมีกระเเสไหลวน (Vortex)
อยู่ 2 ประเภท คือ Main Vortex
เเละ Inner Vortex โดยทั้ง2 กระ
เเสไหลนีจ้ ะช่ วยกันรวบรวม
อนุภาคฝุ่ นไว้ ไนย่ านวงเเหวนระ
หว่ างกระเเสไหลวนทั้งสอง หลัง
จากนั้นอนุภาคฝุ่ นก็จะถูกกำจัด
ออกต่ อไป
• จะประกอบไปด้ วยไซโคลน
หลายๆตัวมาประกอบเข้ าด้ วย
กัน เเบบ Multiple
Cyclone จะมีประสิ ทธิ
ภาพในการทำงานมากกว่ า
เนื่องจากจะมีความยาวกว่ าเเละ
มีขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลางที่
เล็กกว่ าจึงดักจับอนุภาคได้
ละเอียดกว่ า นอกจากนีค้ วาม
ดันลดของ Multiple
Cyclone
Separatorsจะมีค่าสู ง
กว่ าด้ วย
• อนุภาคฝุ่ นเมือ่ ถูกดักจับจะเข้ าไปอยู่ในถุงกรองซึ่งจะทำจากวัสดุต่างๆ
เช่ น ฝ้ าย ใยสั งเคราะห์ หรือใยเเก้ว ประสิ ทธิทดี่ ขี องเครื่องกรองชนิดนีค้ อื
ผ้ ากรองนั้นต้ องอยู่ในสภาพทีม่ อี นุภาคฝุ่ นเกาะอยู่ในปริมาณพอสมควร
เพราะถ้ าผ้ ากรองยังใหม่ อยู่น้ันอนุภาคฝุ่ นจะหนีทะลุผ้าไปได้ ง่าย
การทีอ่ นุภาคฝ่ นมีการสะสมอยู่บริเวณผิวของผ้ ากรองเนื่องมาจากปัจจัย 4
อย่ างด้ วยกันคือ
• Inertial Collection เมือ่ สายเเก็สมีการเปลีย่ นทิศทางอย่ างรวดเร็ว
อนุภาคฝุ่ นหรืออนุภาคทีม่ ขี นาดใหญ่ กจ็ ะเปลีย่ นทิศทางตามสายเเก็ส
ไม่ ทนั เนื่องจากมีความเฉื่อยมาก ทำให้ ตดิ อยู่กบั ผ้ ากรอง
• Interception เมือ่ ขนาดของเส้ นใยของผ้ ากรองมีขนาดเล็กก็จะยิง่ เพิม่
การขัดขวางหรือทำการดักจับอนุภาคฝุ่ นได้ ดยี งิ่ ขึน้
• Brownian Movement เป็ นการเพิม่ พืน้ ทีผ่ วิ สั มผัสระหว่ างอนุภาคฝุ่ น
กับพืน้ ผิวของผ้ ากรอง
• Eletrostatic Force เเรงดึงดูดไฟฟ้ าสถิตจะดึงอนุภาคฝุ่ นเข้ าไปยัง
เส้ นใยของผ้ ากรอง
ประเภทของเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นเเบบถุงกรอง

ประเภทของเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นเเบบถุงกรอง เเยกโดยวิธีในการทำความ


สะอาด แบ่ งได้ 3 ประเภทคือ

•Mechanical Shaker
•Reverse Air
•Reverse Jet
• ผ้ากรองเเบบเขย่าอนุภาคฝุ่ นออก สาย
เเก็สที่มีอนุภาคฝุ่ นเจือปนจะเข้ามาทาง
ด้านล่างของเครื่ องกรองเเละทะลุผา่ นท่อ
กรองออกไปยังด้านนอก อนุภาคฝุ่ นที่ที่
ไม่สามารถผ่านออกไปได้กจ็ ะเกิดการ
สะสมอยูบ่ ริ เวณผิวภายในของท่อกรอง
ในการทำความสะอาดท่อกรองเกิดการ
สัน่ ในลักษณะวงเเหวนเเละอนุภาคฝุ่ นก็
จะหลุดออกมาสู่ ตวั เก็บสะสมอนุภาคฝุ่ น
(Hopper) ต่อไป
• ก๊าซจะเข้ามาทางด้านล่างจะทะลุ
ผ่านถุงกรองออกไปยังด้านนอก
อนุภาคฝุ่ นที่ไม่สามารถผ่านออกไป
ได้กจ็ ะสะสมอยูบ่ ริ เวณผิวภายใน
ของถุงกรอง ในการทำความสะอาด
จะมีการฉี ดอากาศเข้าไปที่ถุงกรอง
ในทิศทางตรงกันข้ามกับตอนเเรก
ส่ งผลให้อนุภาคที่เกาะอยูบ่ ริ เวณผิว
ของถุงกรองหลุดออกมาเเละตกลง
ไปยังตัวเก็บสะสมอนุภาคฝุ่ น
• ก๊าซจะเข้ามาทางด้านล่างจะทะลุผา่ นถุง
กรองออกไปยังด้านนอก อนุภาคฝุ่ นที่ไม่
สามารถผ่านออกไปได้กจ็ ะสะสมอยู่
บริ เวณผิวภายในของถุงกรอง ในการ
ทำความสะอาดการจะอาศัยการระเบิด
ออกของสายอากาศที่ถูกฉี ดเข้า ไปหลัง
จากการระเบิดออกของสายอากาศจะ
ทำให้ถุงกรองเกิดการโค้งงอ ส่ งผลให้
อนุภาคที่เกาะอยูบ่ ริ เวณผิวของถุงกรอง
หลุดออกมาเเละตกลงไปยังตัวเก็บสะสม
อนุภาคฝุ่ น
• เครื่ องดักจับอนุภาคฝุ่ นประเภทนี้ จะไม่เหมือนกับเครื่ องดักจับอนุภาคฝุ่ น
เเบบถุงกรองชนิดอื่น การออกเเบบรอยพับของเครื่ อง ทำให้มีพ้ืนที่ที่ใหญ่
กว่าถุงกรองแบบอื่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเดียวกัน ในระหว่างการกรอง
Cartridge Collectors จะฉี ดพ่นสายเเก็สที่มีอนุภาคฝุ่ นเจือปนเเบบพัลส์
(Pulse Jet) เป็ นห้วงๆจากด้านนอกเข้าด้านในถุงกรอง โดยการทำความ
สะอาดนั้นก็จะมีการเขย่าถุงเเละฉี ดอากาศจากด้านในด้วย ข้อดีคือสามารถ
กรองอนุภาคได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ตอ้ งหยุดการกรองชัว่ คราว
เครื่ องดักจับอนุภาคฝุ่ นแบบ
อาศัยของเหลว(โดยทัว่ ไปจะ
ใช้น ้ำ)หลักการทำงานคือจะ
อาศัยหยดของเหลวหรื อฟิ ล์ม
ของเหลวสัมผัสกับสายเเก็สที่
เข้าไปเพื่อทำการดักจับอนุภาค
ฝุ่ น
เครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นเเบบสครับเบอร์ (เเบบเปี ยก) มีหลายประ
เภทเเต่ อย่ างไรก็ตามจะมีหลักอยู่ 3 เเบบด้ วยกัน
• Gas Humidification เป็ นการเพิม่ ขนาดเพื่อที่จะถูกดักจับ
ได้ง่ายยิง่ ขึ้น
• Gas Liquid Contact หยดของเหลวเเละอนุภาคฝุ่ นจะมา
สัมผัสกัน โดยในการสัมผัสนั้นจะมีกลไกของเเรงเฉื่อย เเรงโน้มถ่วง
การสกัดกั้น,การเเพร่ และเเรงไฟฟ้ าสถิตเข้ามาเกี่ยวข้อง
• Gas Liquid Separation การเกาะกันระหว่างหยดน้ำ
และอนุภาคฝุ่ นมีขนาดใหญ่ข้ ึนก็จะถูกจัดเข้าไปในตัวเก็บสะสมอนุภาค
ฝุ่ นต่อไป
ประเภทของเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นเเบบสครับเบอร์
(เเบบเปี ยก)

เครื่ องสครับเบอร์เเบบชักนำสเปรย์ข้ ึนเองสามารถเเบ่งเป็ นหมวดหมู่ตาม


ความดันลด(Pressure Drop :in H2O) ได้ดงั นี้

• Low Energy Scrubbers (0.5 ถึง 2.5)


• Low to Medium Energy scrubbers (2.5 ถึง 6)
• Medium to High Energy Scrubbers (6 ถึง 15)
• High Energy Scrubbers (มากกว่า 15)
• กระบวนการตกตะกอนเชิง
ไฟฟ้ าสถิตจะเป็ นการดักจับอนุภาค
ฝุ่ นออกจากสายเเก็สโดยอาศัยเเรง
ที่เกิดขึ้นกับประจุไฟฟ้ าสถิต
ภายในสนามไฟฟ้ า เครื่ องดักจับ
อนุภาคฝุ่ นชนิดนี้ สามารถเก็บ
อนุภาคละเอียดได้ เกิดความดันสูญ
เสี ยน้อยกว่า เเละใช้ไฟฟ้ าน้อยกว่า
เครื่ องดักจับอนุภาคฝุ่ นชนิดอื่น
กระบวนการการตกตะกอนเชิงไฟฟ้ าสถิตประกอบด้ วยขั้นตอนดังนี้

• การใส่ ประจุไฟฟ้ าให้ กบั อนุภาค


• การสร้ างสนามไฟฟ้ า
• การไล่ อนุภาคทีเ่ ก็บได้ ออกจากเครื่องตกตะกอน
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อกระบวนการตกตะกอนเชิงไฟฟ้ าสถิตมีประสิ ทธิภาพใน
การดักจับอนุภาคฝุ่ นคือ
1. ตัวเก็บสะสมขนาดใหญ่ จะมีพนื้ ทีผ่ วิ มากเเละอัตราการไหลของสาย
ก๊าซทีม่ คี ่ าต่ำจำทำให้ มปี ระสิ ทธิภาพในการดักจับอนุภาคฝุ่ นเพิม่ ขึน้
เนื่องจากมีเวลาในการดักจับเพิม่ ขึน้
2. การเพิม่ ระดับความเร็วของการหลุดลอยหนีใหม่ ของอนุภาคทีจ่ ับได้
ซึ่งสามารถเพิม่ ได้ โดย
* การลดความเร็วงของสายเเก็ส
* การเพิม่ อุณหภูมขิ องสายเเก็ส
* การเพิม่ ความเเรงของสนามไฟฟ้ าทีใ่ ช้ เก็บอนุภาค
ประเภทของกระบวนการตกตะกอนเชิงไฟฟ้ าสถิตสามารถเเบ่ งออกเป็ น 2
ประเภทด้ วยกันคือ
* Plate Precipitators : เป็ นสนามไฟฟ้ าสำหรับเก็บประจุที่
ประกอบด้ วยขั้วเเผ่ นราบทีว่ างขนานกันโดยวางขนานกันประมาณ 8 -
12 นิว้

* Tubular Precipitators : เป็ นสนามไฟฟ้ าสำหรับเก็บ


ประจุทมี่ รี ู ปร่ างเป็ นท่ อทรงกระบอก รอบล้อมไปด้ วยขั้วไฟฟ้ าเพือ่ ใช้ ใน
การดักจับโดยอนุภาคฝุ่ นทีถ่ ูกดักจับบริเวณผนังท่ อจะถูกรวบรวมเเละถูก
ปล่ อยออกทางด้ านล่างของท่ อทรงกระบอกนั้นเอง

วิธีการเลือกเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ น

• เนื่องจากเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นมีมากมายหลากหลายประเภท ซึ่งเเต่


ละประเภทล้ วนมีข้อเสี ยเเละข้ อดีเเตกต่ างกันไป อย่ างไรก็ตามวิธีการ
เลือกเครื่องดักจับอนุภาคฝุ่ นให้ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ในการใช้ งาน
ถือว่ ามีความสำคัญอย่ างยิง่ โดยสรุปได้ ดงั นี้
• 1. ระดับความเข้ มข้ นของฝุ่ น เเละขนาดของอนุภาค
• 2. ระดับความต้ องการในการเก็บสะสมอนุภาคขึน้ อยู่กบั ผลกระทบ
ของอนุภาคนั้นทีม่ ตี ่ อสุ ขภาพของมนุษย์ ผลเสี ยเเก่สังคม ผลเสี ย
เเก่ต้นไม้ อัตราการปลดปล่อย เเละลักษณะเฉพาะตัวของอนุภาค
ฝุ่ นชนิดนั้นๆ
• 3. พฤติกรรมของสายอากาศทีม่ อี นุภาคฝุ่ นเจือปน
• 4. ลักษณะเฉพาะตัวของอนุภาคฝุ่ น
เเผนผังกระบวนการดักจับอนุภาคฝุ่ นอย่ างคราวๆภายใน
โรงงานต่ างๆ

Anda mungkin juga menyukai