Anda di halaman 1dari 12

ชุดคําสั่งสําหรับจัดการกับวัตถุใน 3 มิติ

ในการจัดตําแหนงและทิศทางการหันเหของวัตถุ 3 มิติ ไมวา วัตถุ 3 มิตนิ นั้ จะถูกสรางดวยเซอรเฟสหรือ


โซลิด เราสามารถทีจ่ ะจัดการกับวัตถเหลานัน้ ไดโดยใชคําสัง่ 2 มิติพนื้ ฐานธรรมดา อาทิ เชน คําสัง่
MOVE, ROTATE, ARRAY และ MIRROR เปนตน นอกจากเราจะใชคําสัง่ 2 มิตใิ นการจัดการกับ
ตําแหนงและทิศทางการหันเหของวัตถุ 3 มิติไดแลว ยังมีคําสั่งทีไ่ ดรับการออกแบบมาใหเราใชงาน
กับวั ตถุ 3 มิติ โดยเฉพาะ อาทิ เชน คําสั่ ง 3DMOVE, 3DROTATE, 3DALIGN, MIRROR3D,
ROTATE3D และ 3DARRAY นอกจากนีย้ งั มีคําสัง่ ALIGN ซึง่ ใชสําหรับเคลือ่ นยายและหมุนวัตถุได
ในทัง้ 2 และ 3 มิติ ซึง่ แตละคําสัง่ มีรายละเอียดและวิธใี ชงานดังตอไปนี้
9.1 Modify43D Operations43D Move | 3DMOVE | 3M | |
ใชคําสัง่ นีใ้ นการเคลือ่ นยายวัตถุ 2 มิตหิ รือวัตถุ 3 มิตไิ ปยังตําแหนงทีต่ อ งการ คําสัง่ นีท้ าํ งานคลายคําสัง่
Modify4Move (ซึง่ เปนคําสัง่ 2 มิติ แตสามารถใชงานใน 3 มิตไิ ดเชนเดียวกัน) แตสามารถบังคับให
วัตถุเคลือ่ นทีเ่ ฉพาะในแนวแกน X, Y, Z หรือบนระนาบ XY, YZ, XZ
จากรูปที่ 9.1 หากเราตองการเคลือ่ นยายวัตถุทวี่ างบนแผนสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขึน้ ในแนวดิง่ หรือในแนวแกน
Z เปนระยะทางเทากับ 200 หนวยเมือ่ เรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงานจะปรากฏขอความดังตอไปนี้

(1) (2) (3)

(4) รูปที่ 9.1 (5) (6)

chap-09.PMD 143 12/10/2549, 21:44


144

Command: _3dmove {จากรูปที่ 9.1 (1) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: 1 found {คลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 1 จะปรากฏดังรูปที่ 9.1 (2)}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม 2D Drafting
 Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ จะปรากฏไอคอนแกน X,Y,Z
ยึดติดกับตําแหนงของเคอรเซอรดงั รูปที่ 9.1 (3)}
Specify base point or [Displacement] <Displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ
มารคเกอร คลิกซาย สังเกตุวา วัตถุจะหลุดออกไปจากแนวแกน Z ดังรูปที่ 9.1 (4) เลือ่ นเคอรเซอรไปยัง
แกน Z ตรงจุดที่ 3 เมือ่ แกน Z เปลีย่ นเปนสีเหลือง ใหคลิกซาย เพือ่ ล็อคการเคลือ่ นยายวัตถุในแนวแกน Z
วัตถุจะกลับมาอยูใ นตําแหนงในแนวแกน Z เชนเดิมดังรูปที่ 9.1 (5) วัตถุจะถูกบังคับใหเลือ่ นขึน้ หรือลง
ในแนวแกน Z เทานัน้ }
Specify second point or <use first point as displacement>: 200 {พิมพระยะหาง 200 หนวย
แลวกดปุม Q วัตถุจะเคลือ่ นยายขึน้ ในแนวดิง่ เปนระยะ 200 หนวยดังรูปที่ 9.1 (6)}

Note หากเราตองการเลือ่ นวัตถุลงดานลางในแนวแกน Z ใหปอ นคาลบหรือปอนคา -200 หนวย เราไมสามารถ


เลื่อนเคอรเซอรนําแลวพิมพตัวเลขตามวิธี Direct distance entry ในคําสั่งนี้ได

Note หากตองการเคลื่อนยายวัตถุไปตามแนวแกนใด ใหล็อคแกนนั้น จากรูปที่ 9.2 แสดงการล็อคแกน X,


Y, Z และระนาบ XY, YZ, XZ ในการล็อคแกน X, Y, Z ใหเลื่อนเคอรเซอรไปบนแกนที่ตองการล็อค
(แกน X สีแดง แกน Y สีเขียว แกน Z สีน้ําเงิน) เมือ่ ปรากฏเวคเตอรเสนตรง และแกนที่ถูกเลือกปรากฏ
เปนสีเหลือง ใหคลิกซาย ในการล็อคระนาบ XY ใหเลือ่ นเคอรเซอรไปบนแกน X และแกน Y เพือ่ ใหแกน
ทั้งสองปรากฏเปนสีเหลือง แลวคลิกซาย ในการล็อคระนาบ YZ และ XZ ก็ใชวิธีเดียวกัน

รูปที่ 9.2

ล็อคการเคลื่ อนที่ ล็อคการเคลื่ อนที่ ล็อคการเคลื่ อนที่


ในแนวแกน X ในแนวแกน Y ในแนวแกน Z

ล็อคการเคลื่ อนที่ ล็อคการเคลื่ อนที่ ล็อคการเคลื่ อนที่


บนระนาบ XY บนระนาบ YZ บนระนาบ XZ

Note อันทีจ่ ริง เราสามารถใชคําสั่ง Modify4Move เพือ่ เคลื่อนยายวัตถุทั้งในแนวแกน X, Y, Z ไดเชน


เดียวกัน แตถา ตองการเคลือ่ นยายวัตถุในแนวแกน Z เราจะตองแนใจวา ) อยูใ นสถานะเปด
จึงจะสามารถเคลื่อนยายวัตถุในแนวแกน Z ได

9.2 Modify43D Operations43D Rotate | 3DROTATE | 3R | |


ใชคําสั่งนีใ้ นการหมุนวัตถุ 2 มิตแิ ละ 3 มิตติ ามแนวแกน X, Y หรือแกน Z

chap-09.PMD 144 12/10/2549, 21:44


145
ชุดคําสั่งสําหรับจัดการกับวัตถุใน 3 มิติ
รูปที่ 9.3

กําหนดจุดหมุนรอบแกน X กําหนดจุดหมุนรอบแกน Y กําหนดจุดหมุนรอบแกน Z

หมุนรอบแกน X = 90° หมุนรอบแกน Y = 90° หมุนรอบแกน Z = 90°

หมุนรอบแกน X = -90° หมุนรอบแกน Y = -90° หมุนรอบแกน Z = -90°

Command: _3drotate {จากรูปที่ 9.3 ใหแนใจวา # และ ) อยูใ นสถานะเปด}


Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0
Select objects: 1 found {คลิกบนวัตถุทตี่ อ งการหมุน}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ จะปรากฏ Rotate Grip tool ดังรูปที่
9.3 (แถวบน)}
Specify base point: {กําหนดจุดหมุนโดยเลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดหมุน เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย }
Pick a rotation axis: {เลือ
่ นเคอรเซอรไปบนวงกลม Rotate grip tool แลวคลิกแกน X วงกลมสีแดงหรือแกน Y
วงกลมสีเขียวหรือแกน Z วงกลมสีนา้ํ เงิน เพือ่ กําหนดแกนในการหมุน}
Specify angle start point: 90 {พิมพคา มุมทีต ่ อ งการ คามุมบวก หมุนทวนเข็มนาฬิกา จะปรากฏดังรูปที่
9.3 (แถวกลาง) คามุมลบ หมุนตามเข็มนาฬิกา จะปรากฏดังรูปที่ 9.3 (แถวลาง)}

Note ในขณะที่ปรากฏบรรทัดขอความ Specify angle start point: เราสามารถระบุคามุมที่ตองการหมุนได


ทันทีหรือใชเมาสคลิกเพือ่ กําหนดมุมเริม่ หมุน แลวเลื่อนเคอรเซอรเพื่อปรับคามุม เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify angle end point: ใหเลื่อนเคอรเซอร เพือ่ กําหนดคามุมในการหมุน แลวคลิกซาย เพื่อหมุนวัตถุ

9.3 Modify43D Operations4Align | ALIGN | AL


ใชคําสั่งนีส้ ําหรับเคลือ่ นยายและหมุนวัตถุ 2 มิตแิ ละ 3 มิตไิ ปยังตําแหนงและหันเหในทิศทาง 3 มิติท่ี
ตองการพรอมๆ กันในคําสัง่ เดียว เมือ่ เรียกคําสั่งนีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความดังตอไปนี้

chap-09.PMD 145 12/10/2549, 21:44


146

2D Drafting

กอ น รูปที่ 9.4 หลัง

Command: _align {จากรูปที่ 9.4 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: 1 found {เลือกวัตถุทตี่ อ งการเคลือ่ นยายและหมุน โดยคลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 1 }
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify first source point: {คลิกจุดที่ 1 เพือ ่ กําหนดจุดตนทางที่ 1}
Specify first destination point: {คลิกจุดที่ 2 เพือ ่ กําหนดจุดปลายทางที่ 1}
Specify second source point: {คลิกจุดที่ 3 เพือ ่ กําหนดจุดตนทางที่ 2}
Specify second destination point: {คลิกจุดที่ 4 เพือ ่ กําหนดจุดปลายทางที่ 2}
Specify third source point or <continue>: {คลิกจุดที่ 5 เพือ ่ กําหนดจุดตนทางที่ 3}
Specify third destination point or [eXit] <X>: {คลิกจุดที่ 6 เพือ ่ กําหนดจุดปลายทางที่ 3 วัตถุ 3
มิตจิ ะถูกเคลือ่ นยายและหมุนไปประกอบพอดีกบั วัตถุปลายทางดังรูปที่ 9.4 (ขวา)}

9.4 Modify43D Operations43D Align | 3DALIGN | 3AL |


คําสัง่ นีเ้ หมือนกับคําสัง่ Modify43D Operations4Align ซึง่ ใชสําหรับเคลือ่ นยายและหมุนวัตถุ 2 มิติ
และ 3 มิตไิ ปยังตําแหนงและหันเหในทิศทาง 3 มิตทิ ต่ี อ งการพรอมๆ กันในคําสัง่ เดียว เมือ่ เรียกคําสัง่ นี้
ออกมาใชงานจะปรากฏขอความดังตอไปนี้

กอ น รูปที่ 9.5 หลัง

Command: 3DALIGN {จากรูปที่ 9.5 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: 1 found {เลือกวัตถุทตี่ อ งการเคลือ่ นยายและหมุน โดยคลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 1 }
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify source plane and orientation ... {เริม ่ กําหนดจุด 3 จุดของกําหนดระนาบตนทาง}
Specify base point or [Copy]: { เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย
เพือ่ กําหนดจุดฐานหรือพิมพตวั เลือก C เพือ่ คัดลอกวัตถุตน ทางเก็บไวใชงาน}
Specify second point or [Continue] <C>: { เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร

chap-09.PMD 146 12/10/2549, 21:44


147
ชุดคําสั่งสําหรับจัดการกับวัตถุใน 3 มิติ

คลิกซาย เพือ่ ปรับใหจดุ ที่ 2 ตรงกับแกน X}


Specify third point or [Continue] <C>: { เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย
เพือ่ ปรับใหจดุ ที่ 3 ตรงกับแกน Y}
Specify destination plane and orientation ... {เริม ่ กําหนดจุด 3 จุดของกําหนดระนาบปลายทาง}
Specify first destination point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย
เพือ่ กําหนดจุดปลายทางจุดที่ 1}
Specify second destination point or [eXit] <X>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร
คลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดปลายทางจุดที่ 2}
Specify third destination point or [eXit] <X>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร
คลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดปลายทางจุดที่ 3}

Note คําสั่งนี้ใชงานคอนขางยุงยากกวาการใชคําสั่ง Modify43D Operations4Align เราจะตองกําหนด


ระนาบและทิศทางการหันเหของวัตถุตน ฉบับเสียกอน แลวจึงจะนําวัตถุตน ฉบับไปเทียบกับจุดปลาย
ทาง แตกม็ ขี อ ดีคอื สามารถเลือกตัวเลือก Copy เพือ่ คัดลอกวัตถุตน ฉบับเก็บไวในตําแหนงเดิมไดอกี ดวย

9.5 Modify43D Operations43D Mirror | MIRROR3D | 3DMIRROR


ใชคําสั่งนีส้ ําหรับคัดลอกวัตถุ 2 และ 3 มิตแิ บบพลิกกลับโดยกําหนดระนาบพลิกกลับใน 3 มิติ

รูปที่ 9.6

ZX
กอ น YZ

หลัง

XY
3 Points

Command: _mirror3d {จากรูปที่ 9.6 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: 1 found {เลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอกแบบพลิกกลับ}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify first point of mirror plane (3 points) or
[Object/Last/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>: {กําหนดระนาบพลิกกลับโดยคลิกจุด 3
จุดหรือพิมพตวั เลือก O เพือ่ ใชวตั ถุ 2 มิตเิ ปนระนาบพลิกกลับหรือพิมพตวั เลือก L เพือ่ ใชวตั ถุ 2 มิตลิ า สุด
เปนระนาบพลิกกลับหรือพิมพตวั เลือก Z เพือ่ กําหนดแกน Z แลวใชระนาบ XY เปนระนาบพลิกกลับหรือ
พิมพตวั เลือก V เพือ่ ใชระนาบทีข่ นานกับวิวพอรทเปนระนาบพลิกกลับหรือพิมพตวั เลือก XY เพือ่ ใช ระนาบ
XY เปนระนาบพลิกกลับหรือพิมพตวั เลือก YZ เพือ่ ใชระนาบ YZ เปนระนาบพลิกกลับหรือพิมพตวั เลือก ZX
เพือ่ ใชระนาบ ZX เปนระนาบพลิกกลับ}
Specify point on XY plane <0,0,0>: {กําหนดจุดทีร่ ะนาบพลิกกลับจะพาดผาน}
Delete source objects? [Yes/No] <N>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q หากไมตอ งการลบวัตถุตน ฉบับ}

chap-09.PMD 147 12/10/2549, 21:44


148

9.6 Modify43D Operations43D Array | 3DARRAY | 3A


ใชคําสั่งนี้สําหรับคัดลอกวัตถุ 3 มิติจากชิ้นเดียวไปเปนหลายๆ ชิ้นในลักษณะเปนแถวหรือคอลัมน 2D Drafting
(Rectangular array) โดยใชระนาบ XY ของ UCS ใชงานเปนฐานในการคัดลอกหรือคัดลอกแบบหมุน
รอบแกน(Polar array) โดยเราสามารถกําหนดแกนหมุนใหเอียงไปในทิศทางทีต่ อ งการใน 3 มิติได

Center
ระดับ(Level)

คอ ลมั น w)
( Column ว (Ro รูปที่ 9.7
) แถ

Command: _3darray {จากรูปที่ 9.7 (ซาย) การสรางอะเรยแบบ Rectangular Array}


Select objects: 1 found {เลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอกแบบ Array 3 มิต}ิ
Select objects: {คลิกขวาหรือQ เพือ ่ ยุตกิ ารเลือก}
Enter the type of array [Rectangular/Polar] <R>: R {พิมพ R เพือ ่ เลือกอะเรยแบบ Rectangular}
Enter the number of rows (---) <1>: 3 {พิมพจํานวนแถวในแนวแกน Y}
Enter the number of columns (|||) <1>: 4 {พิมพจาํ นวนคอลัมนในแนวแกน X}
Enter the number of levels (...) <1>: 5 {พิมพจาํ นวนระดับในแนวแกน Z}
Specify the distance between rows (---): 500 {กําหนดระยะหางของแถวในแนวแกน Y}
Specify the distance between columns (|||): 500 {กําหนดระยะหางของคอลัมนในแนวแกน X}
Specify the distance between levels (...): 500 {กําหนดระยะหางระดับในแนวแกน Z}

Command: _3darray {จากรูปที่ 9.7 (ขวา) การสรางอะเรยแบบ Polar Array }


Select objects: 1 found {เลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอกแบบ Array 3 มิต}ิ
Select objects: {คลิกขวาหรือQ เพือ ่ ยุตกิ ารเลือก}
Enter the type of array [Rectangular/Polar] <R>: P {พิมพ P เพือ ่ เลือกอะเรยแบบ Polar}
Enter the number of items in the array: 12 {พิมพจํานวนทัง้ หมดทีต ่ อ งการคัดลอก นับรวม
วัตถุตน ฉบับ}
Specify the angle to fill (+=ccw, -=cw) <360>: {คลิกขวาหรือQ เพือ ่ หมุนรอบวงกลม 360 องศา}
Rotate arrayed objects? [Yes/No] <Y>: {คลิกขวาหรือQ เพือ ่ หมุนวัตถุไปดวยในขณะคัดลอก}
Specify center point of array: {กําหนดจุดศูนยกลางของอะเรย}
Specify second point on axis of rotation: {กําหนดจุดศูนยกลางอีกดานหนึง่ ของอะเรย}

Note สังเกตุวา การใชคําสัง่ 3DARRAY เหมือนกับการใชคําสัง่ ARRAY ใน 2 มิตเิ กือบทุกประการ ยกเวนใน


Rectangular Array มีระดับ(Level)เพิ่มขึ้นมาใหม สวนใน Polar Array แตกตางจากใน 2 มิติเพียงการ
กําหนดจุดศูนยกลางของอะเรยสามารถกําหนดจุดใดๆ ใน 3 มิติไดอยางอิสระ

chap-09.PMD 148 12/10/2549, 21:44


149
ชุดคําสั่งสําหรับจัดการกับวัตถุใน 3 มิติ

9.7 Modify43D Operations4Interference Checking | INTERFERE | INF |


ใชคําสั่งนี้ในการตรวจสอบโซลิด 3 มิติหลายๆ ชิ้นที่นํามาประกอบเขาดวยกันในแอสเซมบลีวามี
ชิ้นสวนใดออกแบบผิดพลาดซึ่งซอนทับกันกับชิ้นสวนอื่นๆ ในแอสเซมบลีหรือไม ถามีคําสั่งนี้จะ
แสดงสวนที่ซอนทับกัน เราสามารถสรางโซลิดชิ้นใหมจากสวนที่ซอนทับกัน เพื่อนําไปแกไขขอ
ผิดพลาด โดยการนําโซลิดสรางจากคําสัง่ นี้ไปหักลบออกจากโซลิดทีอ่ อกแบบผิดพลาด เพื่อแกไข
มิใหมสี ว นทีซ่ อนทับกัน กอนทีจ่ ะนําโซลิดไปสรางชิน้ งานจริง
รูปที่ 9.8

Objects do not interfere Interfering pairs found

Command: _interfere {จากรูปที่ 9.8 (ซาย) โซลิดทัง้ สองทีป่ ระกอบเขาดวยกันไมมสี ว นใดซอนทับกัน}


Select first set of objects or [Nested selection/Settings]: {คลิกบนโซลิดจุดที่ 1}
Select first set of objects or [Nested selection/Settings]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q}
Select second set of objects or [Nested selection/checK first set] <checK>: {คลิกบนโซลิดจุดที่2}
Select second set of objects or [Nested selection/checK first set] <checK>:
{คลิกขวาหรือกดปุม Q}
Objects do not interfere {โปรแกรมรายงานวาโซลิดทัง้ สองไมมสี ว นใดซอนทับกัน}

Command: _interfere {จากรูปที่ 9.8 (ซาย) โซลิดทัง้ สองทีป่ ระกอบเขาดวยกันไมมสี ว นใดซอนทับกัน}


Select first set of objects or [Nested selection/Settings]: {คลิกบนโซลิดจุดที่ 1}
Select first set of objects or [Nested selection/Settings]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q}
Select second set of objects or [Nested selection/checK first set] <checK>: {คลิกบนโซลิดจุดที่2}
Select second set of objects or [Nested selection/checK first set] <checK>:
{คลิกขวาหรือกดปุม Q โปรแกรมรายงานวาพบโซลิดทีซ่ อ นทับกันและจะปรากฏโซลิดสวนทีท่ บั
ซอนกันเปนสีแดงดังรูปที่ 9.8 (ขวา) ซึง่ แสดงใหเราเห็นเนือ้ ของโซลิดของสวนทีท่ บั ซอนกัน และจะปรากฏ
ไดอะล็อคดังรูปที่ 9.9 }

ในขณะทีป่ รากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 9.9 เราสามารถใช


คําสั่ง Zoom, Pan, และ 3Dorbit เพือ่
ขยาย เลื่อนและหมุนมุมมอง เพื่อตรวจสอบโซลิดที่
ซอนทับกันวาอยูตรงจุดใด เราสามารถคลิกบนปุม
Previous หรือ Next เพื่อใหโปรแกรมคนหาโซลิดที่
รูปที่ 9.9 ซอนทับกัน ใชในกรณีที่มีโซลิดซอนทับกันหลายๆ
จุด โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให จะปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Zoom to pair โปรแกรมจะ
ขยายภาพของโซลิดทีซ่ อนทับกันใหมขี นาดใหญเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพโดยอัตโนมัติ หากเราตองการให
โปรแกรมสรางโซลิดที่โปรแกรมตรวจพบวาซอนทับกัน เราจะตองปลดเครื่องหมาย ออกจาก
เช็คบอกซ Delete interference objects created on Close

chap-09.PMD 149 12/10/2549, 21:44


150

ในบรรทัดขอความ Select first set of objects or [Nested selection/


Settings]: หากเลือกตัวเลือก Nested selection โปรแกรมจะยอม
ใหเราเลือกโซลิดแตละชิ้นที่เปนสวนประกอบของบล็อคหรือ 2D Drafting
เอกซเรฟ หากเลือกตัวเลือก Settings จะปรากฏไดอะล็อคดังรูป
ที่ 9.10 ซึง่ เราสามารถทีจ่ ะเลือกรูปแบบการแสดงผล Visual style
เลือกสีใหกับโซลิดที่ซอนทับกัน และเลือก Visual style เพื่อ
กําหนดใหกับโซลิดตางๆ ที่ไมไดมีสวนที่ซอนทับกัน โดยที่
รูปที่ 9.10
โปรแกรมกําหนดมาให วิชวลสไตลสําหรับโซลิดทีซ่ อ นทับกัน
เปนโหมด Realistic กําหนดใหเปนสีแดง(Red) วิชวลสไตล
สําหรับโซลิดทีไ่ มไดทบั ซอนกับเปนโหมด 3D Wireframe ในกรณีทใี่ นการเลือกโซลิดในกลุม แรกใน
บรรทัดขอความ Select first set of objects ... หากมีการเลือกโซลิด 1 ชิน้ ขึน้ ไป เราสามารถตรวจสอบ
การซอนทับกันเฉพาะในกลุมแรก โดยเลือกตัวเลือก K หรือ checK first set เพื่อตรวจสอบเฉพาะ
ในกลุม แรกกอนไดเชนเดียวกัน
9.8 Modify4Move | MOVE | M |
ในการเคลือ่ นยายวัตถุใน 3 มิติ นอกจากเราจะใชคําสัง่ Modify43D Operations43D Move ใน
การเคลื่อนยายวัตถุใน 3 มิตแิ ลว เรายังสามารถใชคําสัง่ Modify4Move เคลือ่ นยายวัตถุใน 3 มิติ
ไดเชนเดี ยวกัน โดยทั่ วไปเรานิยมใชคําสั่ ง Modify4 Move ในการเคลื่ อนยายวัตถุใน 3 มิติ
โดยเฉพาะอยางยิง่ ใน AutoCAD 2007 หากใชคําสัง่ Modify4Move รวมกับ เราจะสามารถ
เคลือ่ นยายวัตถุ 3 มิตขิ นึ้ หรือลงในแนวแกน Z อยางสะดวก

กอ น รูปที่ 9.11 หลัง

Command: _move {จากรูปที่ 9.11 (ซาย) ใหแนใจวา ) อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: 1 found {คลิกบนวัตถุ 3 มิตทิ ตี่ อ งการเคลือ่ นยาย ในทีน่ ี้ คลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 1}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify base point or [Displacement] <Displacement>: {คลิก ณ จุดใดๆ บนพืน ้ ทีว่ าดภาพ เพือ่
กําหนดจุดฐานในการเคลือ่ นยายวัตถุ ในทีน่ ี้ คลิกตรงจุดที่ 2}
Specify second point or <use first point as displacement>: 200 {เลือ ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่
ใหแนใจวาปรากฏ แสดงแนวแกน +Z แลวพิมพระยะหาง 200 หนวย แลว
กดปุม Q วัตถุ 3 มิตจิ ะถูกเคลือ่ นยายไปตามแนวแกน Z เปนระยะ 200 หนวยดังรูปที่ 9.11 (ขวา) }

chap-09.PMD 150 12/10/2549, 21:44


151
ชุดคําสั่งสําหรับจัดการกับวัตถุใน 3 มิติ

Note ในการเคลือ่ นยายวัตถุใน 3 มิตดิ ว ยคําสัง่ Modify4Move มีสงิ่ ทีต่ อ งพิจารณากอนทีจ่ ะลงมือเคลือ่ น
ยายวัตถุ เพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถเคลือ่ นยายวัตถุไปยังตําแหนงใน 3 มิตไิ ดอยางถูกตองและรวดเร็ว ขอแรก
ที่ตองพิจารณาก็คือวิวพอรทที่เหมาะสมจะใชสําหรับการเคลื่อนยาย ขอที่สองคือจุดใดๆ บนวัตถุ 3
มิติที่จะสามารถอางอิงระยะทางในการเคลื่อนยายไดงาย ขอสุดทายคือระนาบ XY ของ UCS ใชงาน
หันเหอยูใ นแนวเดียวกันกับทิศทางของวัตถุทจี่ ะเคลือ่ นยายหรือไม

Note โดยปกติในการเขียนแบบ 3 มิติ เราจะใชววิ พอรทแบบ 4 วิวพอรทสลับกับ 1 วิวพอรทเสมอ โดยวิวพอรท


4 วิวพอรท จะแสดงมุมมองจากทิศทางตางๆ อาทิ เชน Top, Front, Right, และ Isometric สําหรับการจัด
วิวพอรทแบบมุมที่ 3 (Third angle projection) หรือ Top, Front, Left และ Isometric สําหรับการจัด
วิวพอรทแบบมุมที่ 1 (First angle projection) เสมอ

Note ในการเคลื่อนยายวัตถุใน 3 มิติดวยคําสั่ง Modify4Move เราควรพิจารณาเลือกใชวิวพอรทที่


สามารถเคลือ่ นยายวัตถุไดสะดวกและรวดเร็วทีส่ ดุ ในบางกรณีเราสามารถเคลือ่ นยายวัตถุ 3 มิตเิ หมือน
กับที่เราเคลื่อนยายวัตถุ 2 มิติไดในวิวพอรทเดียว ซึ่งเรานิยมใชวิวพอรท Isometric หรือ Perspective
ในกรณีทใี่ ชววิ พอรทเดียว แตสว นใหญแลวเรามักจะตองใชววิ พอรทตัง้ แต 2 วิวพอรทซึง่ แสดงมุมมอง
ที่ตางกัน เพื่อที่เราจะสามารถมองเห็นและกําหนดจุดอางอิงไดอยางแมนยํา ปราศจากความผิดพลาด
บางครัง้ การเคลือ่ นยายวัตถุใน 3 มิตใิ นวิวพอรทใหญเพียงวิวพอรทเดียวอาจไมสะดวก เนือ่ งจากมีจดุ ที่
เราตองใชออฟเจกทสแนปซอนกันอยูหลายๆ จุดในระดับความลึกที่แตกตาง กัน จึงจะตองใชมากกวา
วิวพอรทหนึง่ วิวพอรทพรอมๆ กันจึงจะสามารถเคลือ่ นยายวัตถุไปยังตําแหนงทีต่ อ งการไดอยางถูกตอง

รูปที่ 9.12 Top Isometric

Top Isometric

จากรูปที่ 9.12 (บน) หากตองการเคลือ่ นยายชิน้ สวน 3 มิติทอ่ี ยูดา นบนออกจากชิน้ สวนทีอ่ ยูด านลาง
ตามระยะและทิศทางทีก่ ําหนดใหปรากฏดังรูปที่ 9.12 (ลาง) เราสามารถเลือกใชววิ พอรท Top หรือ
Isometric เปนวิวพอรทในการเคลือ่ นยายวัตถุได สังเกตุวาการเคลือ่ นยายวัตถุ 3 มิตแิ บบนีเ้ หมือนกับ
การเคลือ่ นยายวัตถุ 2 มิติธรรมดา
Command: _move {จากรูปที่ 9.12 (บน) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}
Select objects: 1 found {คลิกบนวัตถุทตี่ อ งการเคลือ่ นยายในวิวพอรทใดๆ}

chap-09.PMD 151 12/10/2549, 21:44


152

Select objects: {คลิกขวาหรือQ เพือ่ ยุตกิ ารเลือกวัตถุ}


{คลิก ณ ตําแหนงใดๆ เพือ่ กําหนดจุดอางอิงในการเคลือ่ นยาย
Specify base point or displacement:
ในวิวพอรท Top หรือ Isometric} 2D Drafting
Specify second point of displacement or <use first point as displacement>: 75 {เลือ ่น
เคอรเซอรไปทางแนวแกน Y แลวพิมพ 75 แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดระยะหางและทิศทางในการ
เคลือ่ นยาย }

Note จากรูปที่ 9.12 (บน) หากเปลี่ยนระนาบ XY ของ UCS ใหขนานกับวิวพอรท Front เราจะสามารถ
เคลือ่ นยายวัตถุไปยังทิศทางเดิมทีป่ รากฏดังรูปที่ 9.2 (ลาง)ได เพราะใน AutoCAD 2007 มีการกําหนด
ให UCS ในแตละวิวพอรทเปนอิสระตอกัน การปรับระนาบ XY ใหขนานกับวิวพอรทหนึ่งจะไมมผี ล
กับในอีกวิวพอรทหนึ่ง โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให ระนาบ XY จะขนานกับทุกๆ วิวพอรท ดังนั้น
เราสามารถที่จะเคลื่อนยายวัตถุไดในทุกๆ วิวพอรท

หากตองการเคลือ่ นยายสลัก(Pin)เขาไปในรูเจาะบนขอตอดังรูปที่ 9.13 เราจะตองใชออฟเจกทสแนป


ในโหมด Center ในบรรทัดขอความ Specify base point or displacement: แลวคลิกบนปลายดานหนึง่
ของสลักในวิวพอรท Top หรือ Front หรือ Isometric สวนวิวพอรท Left ไมสามารถใชได เพราะ
วาจุดศูนยกลางของสลักทั้งสองดานในวิวพอรทดังกลาวซอนกันอยูในระดับความลึกที่ตางกันพอดี
เราจึงไมทราบวาโปรแกรมจะเลือกจุดใดมาให จากนัน้ เราจะตองใชออฟเจกทสแนปในโหมด Center
ในบรรทัดขอความ Specify second point of displacement แลวคลิกลงบนปลายดานเดียวกันของรูเจาะ
บนขอตอในวิวพอรท Top หรือ Front หรือ Isometric สวนวิวพอรท Left ไมสามารถใชไดเชนเดียวกัน
เพราะวาจุดศูนยกลางของรูเจาะบนขอตอในวิวพอรท Left มีจดุ Center ซอนกันอยูใ นระดับความลึกที่
แตกตางกันถึง 4 จุด เราจะไมทราบเลยวาโปรแกรมจะเลือกจุดศูนยกลางของรูเจาะทีอ่ ยูในระดับลึก
ใดมาให การเคลือ่ นยายวัตถุโดยใชออฟเจกทสแนปในวิวพอรท Left จึงมีโอกาสผิดพลาดไดงา ย

รูปที่ 9.13 Front Left

Displacement
Base point

Top Isometric
Base point

Displacement
Base point
Displacement

Note ในทางปฏิบตั ิ เรามักจะใชววิ พอรท Isometric เพียงวิวพอรทเดียว แตขยายใหใหญเต็มจอภาพ เพราะเรา


สามารถมองเห็นจุดที่เราตองการจะใชออฟเจกทสแนปบนวัตถุ 3 มิติในวิวพอรท Isometric ไดอยาง
ชัดเจนทุกๆ จุดในเวลาเดียวกัน

chap-09.PMD 152 12/10/2549, 21:44


153
ชุดคําสั่งสําหรับจัดการกับวัตถุใน 3 มิติ

Note ในการเคลื่ อนยายวัตถุ 3 มิติ ความซับ ซอนของวัตถุที่อยูในวิวพอรท มีจํานวนมากเกินไปหรือไม


หากวัตถุมีจํานวนมากจะทําใหเราไมสามารถที่จะมองเห็นจุดที่เราตองการใชออฟเจกทสแนป ได
อยางชัดเจน จึงจําเปนที่จะตองปด(Off)หรือแชแข็ง(Freeze)เลเยอรที่ไมจําเปนกอนการคัดลอก

Note ในกรณีที่เคลือ่ นยายวัตถุโดยที่ไมใชออฟเจกทสแนป ระนาบ XY ของ UCS ไอคอนควรจะขนานกับ


วิวพอรททีต่ อ งการเคลือ่ นยายวัตถุ

ในการเคลื่อนยายวัตถุ 3 มิติอีกแบบหนึ่งที่มีการใชงานบอยๆ คือการอางอิงตําแหนงจากวัตถุอื่นๆ


ตัวอยางเชน มีกลองสีเ่ หลีย่ มขนาดใหญ 1 กลองและขนาดเล็ก 1 กลอง กลองสีเ่ หลีย่ มเล็กลอยอยูเ หนือ
กลองสีเ่ หลีย่ มใหญซงึ่ เราไมทราบระยะหางของระดับความสูงระหวางกลองทัง้ สองดังรูปที่ 9.14 (ซาย)
หากตองการเคลือ่ นยายกลองขนาดเล็กโดยใหมมุ กลองเล็กในระนาบ YZ และระนาบ XZ เสมอกับมุม
กลองใหญพอดี แตมีขอแมวากลองเล็กจะตองลอยอยูในระดับความสูงเทาเดิมดังรูปที่ 9.14 (ขวา)
ถาดูในวิวพอรท Top เราจะเห็นวามุมกลองเล็กและมุมกลองใหญจะทับกันพอดีและถาดูในวิวพอรท
Front และ Left กลองเล็กก็ยงั คงลอยอยูใ นระดับความสูงเทาเดิม

รูปที่ 9.14
ในการเคลือ่ นยายวัตถุในลักษณะเชนนีเ้ ราจะใชออฟเจกทสแนปไปจับทีม่ มุ กลองเล็กและมุมกลองใหญ
เลยไมได เพราะจะทําใหระดับความสูงของกลองเล็กเปลี่ยนไปอยูในระดับเดียวกันกับกลองใหญ
ความสูงของกลองเล็กจึงไมอยูในระดับเดิม เราสามารถเคลือ่ นยายกลองเล็กโดยใหมมุ กลองเล็กและ
มุมกลองใหญตรงกันในวิวพอรท Top และรักษาระดับความสูงของกลองเล็กไวเชนเดิม โดยใช Point
filters ชวยในการเคลือ่ นยายดังนี้
Command: _move {จากรูปที่ 9.14 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด}
Select objects: 1 found {คลิกเพือ่ เลือกกลองเล็กในวิวพอรทใดก็ได หรือคลิกตรงจุดที่ 1}
Select objects: {คลิกขวาหรือQ}
Specify base point or displacement: .XY {กดปุม  Shift คางไว แลวคลิกขวา แลวเลือก Point
filter4.XY หรือพิมพ .XY ผานคียบ อรด แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 2 หรือจุดที่ 3 ในวิวพอรท Top
หรือ Isometric เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย เพือ่ แยกจุดคอรออรดเิ นทบนระนาบ XY
ออกมาเก็บไวกอ น}
of (need Z): {โปรแกรมถามคา Z ใหเลือ ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 4 ในวิวพอรท Isometric แลวคลิกซาย

chap-09.PMD 153 12/10/2549, 21:44


154

โปรแกรมจะนําคอรออรดเิ นท .XY จากบรรทัดทีแ่ ลว มารวมกับคอรออรดเิ นทของระดับความสูง Z จุดที่


4 นัน้ มีคา Z = 0 (ศูนย)}
2D Drafting
Specify second point of displacement or <use first point as displacement>: .XY {กดปุม
Shift คางไว แลวคลิกขวา แลวเลือก Point filter4.XY หรือพิมพ .XY ผานคียบ อรด แลวเลือ่ นเคอรเซอร
ไปตรงจุดที่ 5 หรือจุดที่ 6 ในวิวพอรท Top หรือ Isometric เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย
เพือ่ แยกจุดคอรออรดเิ นทบนระนาบ XY ออกมาเก็บไวกอ น}
of (need Z): {โปรแกรมถามคา Z ใหเลือ ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 4 ในวิวพอรท Isometric แลวคลิกซาย
โปรแกรมจะนําคอรออรดเิ นท .XY จากบรรทัดทีแ่ ลว มารวมกับคอรออรดเิ นทของระดับความสูง Z จุดที่
4 นัน้ มีคา Z = 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 9.14 (ขวา)}

9.9 การเคลือ่ นยายหรือคัดลอกวัตถุตา งระนาบ


ในการเคลื่ อนยายหรือคัดลอกวัตถุจากระนาบหนึ่ งไปวางบนอี กระนาบหนึ่งใน AutoCAD 2007
ใชคําสั่ง Edit4Copy with Base Point (คัดลอกแบบกําหนดจุดสอดแทรก), Edit4Cut (ตัดเพือ่ เคลือ่ น
ยาย), Edit4Paste (วาง) แตจดุ สําคัญคือการควบคุมทิศทางการหันเหของระนาบ UCS โดยปกติ เมือ่ เรา
สรางวัตถุ 2 หรือ 3 มิติ เราจะสรางบนระนาบ XY เสมอ ดังนัน้ หากเราตองการเปลีย่ นทิศทางการหันเห
ของวัตถุใด เราจะตองกําหนดระนาบ XY ของ UCS ใหขนานกับระนาบทีต่ องการเสียกอน จากรูปที่
9.15 (ซาย) เราจะเห็นวามีรปู ทรงกระบอกกลมวางซอนอยูบ นกลองสีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัส โดยสวนฐานของ
ทรงกระบอกวางอยูบนพื้นผิวดานบนของกลอง หากเราตองการยายทรงกระบอกไปวางไวในพื้น
ผิวดานหนาหรือระนาบ XZ ของกลอง ใหใชคําสัง่ Edit4Cut เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: ให
คลิกบนทรงกระบอกตรงจุดที่ 1 ทรงกระบอกจะถูกตัดไปเก็บไวในหนวยความจํา แลวใชคําสัง่ Tools4
New UCS4Face แลวคลิกประมาณจุดที่ 2 เมือ่ ไอคอน UCS ปรากฏดังรูปที่ 9.15 (กลาง-ซาย) และเมือ่
ปรากฏขอความ Enter an option [Next/Xflip/Yflip] <accept>: ใหคลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่
ยอมรับ ใหแนใจวาโหมด อยูใ นสถานะ ปด แลวใชคําสัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify
insertion point: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังตําแหนงทีต่ อ งการวางรูปทรงกระบอก แลวคลิกซาย จะปรากฏ
ดังรูปที่ 9.15 (กลาง-ขวา) หากตองการคัดลอกทรงกระบอก เพียงแตเปลีย่ นคําสัง่ Edit4Cut เปนคําสัง่
Edit4Copy with Base Point หรือ Edit4Copy เทานัน้ จะปรากฏดังรูปที่ 9.15 (ขวา)
รูปที่ 9.15

เปนอันวาเราไดศกึ ษาคําสั่งตางๆ ทีใ่ ชในการเคลื่อนยายและกําหนดทิศทางการหันเหของวัตถุ 3 มิติ


มาทัง้ หมดแลว คําสัง่ ตางๆ ทีก่ ลาวมาในบทนีล้ ว นแลวแตมปี ระโยชนในการเขียนแบบ 3 มิตเิ ปนอยาง
มาก ดังนัน้ เราจึงควรทีจ่ ะเขาใจหลักและวิธกี ารใชคําสัง่ 3 มิตใิ นบทนีท้ งั้ หมด สวนการนําคําสัง่ ในบทนี้
ไปใชงาน เราจะไดศกึ ษาวิธกี ารใชงานในแบบฝกหัดตางๆ ในตอนที่ 2 บทของหนังสือเลมนี้
*********************************

chap-09.PMD 154 12/10/2549, 21:44

Anda mungkin juga menyukai