Anda di halaman 1dari 26

กลุม คําสัง่ สําหรับการเขียนตัวอักษร

จากการพัฒนาของ AutoCAD 2000 ทีม่ ีการปรับปรุงคําสัง่ ในการเขียนตัวอักษร โดยสามารถใชงานฟอนท .ttf ของ


ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวไดสมบรูณก วารีลสี กอนๆ ไดสง ผลใหมผี ใู ชโปรแกรมหันไปใชฟอนท .ttf มากขึน้ อยางตอเนือ่ ง
ในทํานองเดียวกัน ผูที่เขียนตัวอักษร โดยใชฟอนท .shx ของ AutoCAD กลับลดจํานวนลงอยางตอเนื่องจนมาถึง
AutoCAD 2006 ในปจจุบนั เหตุผลทีเ่ ปนเชนนีก้ เ็ พราะฟอนท .shx ของ AutoCAD ไมสามารถใชงานรวมกับคําสัง่ ใน
การเขียนตัวอักษรดวยคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text ซึง่ คําสัง่ นีส้ ามารถเขียนตัวอักษรโดยใชไดเฉพาะฟอนท
.ttf และเขียนไดครัง้ ละหลายๆ บรรทัดเหมือนกับ Wordpad ของวินโดว สามารถกําหนดความสูงและสีทแี่ ตกตาง สามารถ
กําหนดตัวหนา(Bold) ตัวเอียง(Italic) ขีดเสนใต(Underscore) สามารถเขียนซับสคริปท(Subscript)และซูปเปอรสคริปท
(Superscript) เศษสวนและสัญลักษณพเิ ศษตางๆ และยังมีความสามารถพิเศษอืน่ ๆ ที่เหมือนกับซอฟทแวรเวิรด
โปรเซสเซอรอกี มาก การเขียนตัวอักษรโดยใชฟอนท .ttf ดวยคําสัง่ ดังกลาวนีจ้ งึ งายเหมือนกับการใชเวิรด โปรเซสเซอร
นัน่ จึงเปนเหตุผลเพียงพอทีผ่ ใู ชโปรแกรมจึงหันไปใชฟอนท .ttf ในการเขียนตัวอักษร อยางไรก็ตาม ผูเ ริม่ ตนใชโปรแกรม
สวนใหญยังไมทราบถึงปญหาและความยุง ยากเกีย่ วกับการใชฟอนท .ttf เฉพาะที่เปนภาษาไทยของวินโดวที่มชี ื่อ
ลงทายดวย UPC และ NEW การเขียนตัวอักษรภาษาไทยดวยคําสั่งดังกลาวนี้งา ยและรวดเร็วมาก ผูเริ่มตนใช
โปรแกรมอาจจะยังไมทราบถึงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับการพิมพแบบแปลนที่มตี ัวอักษรภาษาไทยหรือปญหาใน
การนําไฟลแบบแปลนไปเปดในคอมพิวเตอรเครือ่ งอืน่ ทีม่ รี ะบบปฏิบตั กิ าร Windows หรือมี AutoCAD ตางเวอรชนั่ กัน
หรือปญหาในการนําแบบแปลนไปเปดในอนาคตอีกหลายปขา งหนา แตผทู มี่ ปี ระสบการณกบั การใชงาน AutoCAD
จะทราบและเขาใจปญหานีเ้ ปนอยางดี เพราะหลายๆ ทานไดมโี อกาสประสบปญหาเหลานีม้ าบางแลว จึงมักจะไมยอม
ที่จะใชคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text เขียนตัวอักษร ถึงแมวาคําสั่งนีจ้ ะมีฟเ จอรหลากหลายทีน่ าใชงาน
มากกวาก็ตาม ถึงแมวาคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text จะไมมฟี เ จอรใดๆ ที่นาสนใจใหเลือกใชงาน
ประกอบกับความสวยงามของฟอนท .shx ไมสามารถเปรียบเทียบกับฟอนท .ttf ของวินโดวได แตผใู ชโปรแกรมทีม่ ี
ประสบการณกย็ งั คงเลือกใชแตคําสัง่ นีค้ วบคูก บั การใชฟอนทภาษาไทย .shx จนมาถึง AutoCAD ในเวอรชนั่ ปจจุบนั
ทั้งนี้เพราะผูที่มีประสบการณเหลานั้นทานทราบปญหานี้เปนอยางดี จึงไมตองการใหปญหาดังกลาวเกิดขึ้นกับ
แบบแปลนของตนเองในอนาคต

Note เหตุผลที่ผูเขียนไดกลาวมานี้ไมไดตองการชี้ใหเห็นวาคําสั่ง Draw4Text4Multiline Text กับ


ฟอนทภาษาไทย .ttf ของวินโดวไมมีขอดี เพียงแตตองการชี้ใหผูเริ่มตนไดทราบถึงปญหาที่อาจจะ
เกิดขึน้ และเตรียมการปองกันและแกไขปญหาไดอยางถูกตอง

การเขียนตัวอักษรใน AutoCAD 2006 แบงออกเปน 2 แบบคือแบบที่ 1 ใชฟอนท .ttf (True type fonts)ของระบบ
ปฏิบตั กิ ารวินโดว โดยใชคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text แบบที่ 2 ใชฟอนท .shx ซึง่ เปนฟอนทมาตรฐานของ

chap-07.PMD 163 13/10/2549, 1:28


164

AutoCAD โดยใชคําสั่ง Draw4Text4Single Line Text ซึง่ เราจะเลือกใชวิธีการเขียนตัวอักษรแบบใดก็ได


อยางไรก็ตาม การเขียนตัวอักษรทั้งสองแบบมีขอ ดีและขอเสีย ดังนัน้ กอนทีจ่ ะเลือกใชวิธีใด เราควรจะตองทราบ
2D Drafting
ขอดีและขอเสียของการเขียนตัวอักษรแตละแบบเสียกอน เพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถพิจารณาเลือกใชวธิ กี ารเขียนตัวอักษรได
เหมาะสมกับงานของเราไดมากทีส่ ดุ เพือ่ ปองกันมิใหเกิดปญหาทีอ่ าจเกิดขึน้ ในการพิมพแบบแปลน

7.1 ขอดีขอ เสียของการใชคาํ สัง่ Draw4Text4Multiline Text


ขอดีของการเขียนตัวอักษรดวยคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text นัน้ มีหลายประการคือตัวอักษรจะแสดงรูป
แบบและขนาดตามทีป่ รากฏจริงในลักษณะเดียวกันกับโปรแกรม Wordpad ของระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวดงั รูปที่ 7.1
และจะมีขนาดความสูงและตําแหนงที่จะปรากฏจริงบนพื้นที่วาดภาพไมเหมือนใน AutoCAD รีลสี กอนๆ จึงทําให
สะดวกตอการเขียนตัวอักษร การแกไขเปลีย่ นแปลงตัวอักษร การคนหา(Find)และแทนที(่ Replace)ตัวอักษร การใช
สัญลักษณพเิ ศษตางๆ อาทิ เชน ∅ Diameter, ± Plus/Minus, ° Degree, Supsript Subscript, Superscript Superscript,
1/4 Fraction และสัญลักษณพเิ ศษอืน่ ๆ สามารถทําไดคอ นขางงายและรวดเร็ว นอกจากนี้ เรายังสามารถเขียนขอความ
ไดครัง้ ละหลายๆ บรรทัด สามารถใช
Indent และ Tab จัดยอหนาและจัด
คอลัมนใหตรงกันไดอยางเปนระเบียบ
สามารถสอดแทรก Bullet ทั้ งแบบ
จุดกลม แบบตัวเลขและแบบตัวอักษร
สามารถสอดแทรกฟลด(Field) ขอมูล
อัตโนมัติตางๆ อาทิ เชน วันเดือนป
ชื่อไฟล ชื่อผูล็อคอินเขาสูระบบและ
อื่นๆ เปนตน และยังสามารถปดบัง รูปที่ 7.1
ดานหลัง(Mask Background)ของ
ตัวอักษร เพือ่ ปองกันมิใหมองเห็นวัตถุทอี่ ยูดานลางของตัวอักษรได สัญลักษณ
พิเศษจากช็อทคัทเมนู อาทิ เชน Degrees %%d, Plus/Minus %%p, Diameter %%c
ซึง่ ไมสามารถใชงานกับ Code Page เปน ANSI 874 ( ประเทศไทย) ใน AutoCAD
2005 แตสามารถใชงานไดอยางถูกตองใน AutoCAD 2006 และยังสามารถเรียกใช
สัญลักษณพเิ ศษอืน่ ๆ ไดอกี มากดังรูปที่ 7.2 โดยไมจําเปนตองใชพมิ พรหัส Unicode
\U+2205, \U+00B1, \U+00B0 เพือ่ เขียนสัญลักษณดงั กลาวอีกตอไป เพราะสามารถ
เรียกใชงานไดจากช็อทคัทเมนูโดยตรง แตถา ตองการเขียนสัญลักษณพเิ ศษดวยการ
พิมพรหัส Unicode ก็สามารถทําไดเชนเดิม สวนขอเสียของการใชคําสั่งนี้คอื เรา
สามารถใชฟอนท .ttf ของวินโดวเพียงฟอรแมตเดียวเทานัน้ ไมสามารถใชฟอนท .shx
ของ AutoCAD ได อีกปญหาหนึง่ ทีพ่ บบอยๆ คือฟอนท .ttf (ภาษาไทย) จะมีปญ  หา
รูปที่ 7.2 เฉพาะกับเครือ่ งพิมพรุนเกาๆ ทีอ่ อกมากอนระบบปฏิบัตกิ าร Windows XP (ครอบ
คลุมถึงเครือ่ งพิมพทไี่ มมไี ดรฟเวอรของ Windows XP) สระและวรรณยุกตจะเยือ้ งไป
ขางหนาหรือไมอยูใ นตําแหนงทีถ่ กู ตอง ซึง่ เครือ่ งพิมพเกาบางรุน ไมสามารถแกไขปญหานีไ้ ด อีกปญหาหนึง่ ของการใช
ฟอนท .ttf ของวินโดว การกําหนด Code Page ของระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวในเครือ่ งคอมพิวเตอรไมตรงกัน จะทําใหตวั
อักษรภาษาไทยทีใ่ ชฟอนท .ttf ภาษาไทย ไมสามารถอานออกในเครือ่ งคอมพิวเตอรเครือ่ งอืน่ ๆ ได ซึง่ ตัวอักษรอาจจะ
ปรากฏเปนเครือ่ งหมาย ??? ได ปญหานีม้ กั จะเกิดขึน้ ในกรณีทเี่ ราใช AutoCAD 2006 บนวินโดว XP แลวสงไฟลแบบ
แปลนไปใหกผ็ รู ว มงานทีใ่ ช AutoCAD 2000 หรือ 2002 บนวินโดว ME หรือ 98 ในทํานองเดียวกัน หากเราไดรบั ไฟลแบบ
แปลนทีส่ รางจาก AutoCAD 2000 หรือ 2002 บนวินโดว ME หรือวินโดว 98 ก็จะเกิดปญหานีไ้ ดเชนเดียวกัน ขอเสีย

chap-07.PMD 164 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 165

อีกประการหนึง่ ของฟอนท .ttf คือฟอนท .ttf เปนฟอนททมี่ รี ะบายสีภายในขอบเขตแบบปดของตัวอักษร เมือ่ สัง่ พิมพ
แบบแปลนทีม่ ตี วั อักษรจากฟอนท .ttf จํานวนมากๆ ลงบนกระดาษจะตองเสียเวลาในการพิมพแบบแปลนมากตามไป
ดวย ขอเสียอีกอยางหนึง่ คือถาหากไดทาํ การเขียนตัวอักษรทัง้ หมดเขาไปในแบบแปลนเรียบรอยแลว แตมคี วามประสงค
ที่จะเปลี่ยนฟอนทตัวอักษรในแบบแปลนใหมทั้งหมดไปใชฟอนท .ttf แบบอื่นๆ จะไมสามารถทําไดอยางสะดวก
เพราะจะตองใชคําสั่ง Modify4Object4Text4Edit เขาไปแกไขตัวอักษร MTEXT แตละยอหนาดวยตนเอง
ถาในแบบแปลนมีตัวอักษร MTEXT จํานวนมากก็จะเสียเวลาในการแกไขเปนอยางมากตามไปดวยเพราะเราจะ
สามารถแกไขตัวอักษรไดครัง้ ละยอหนาเทานัน้ นอกจากจะมีการใชคาํ สัง่ Format4Text Style สรางสไตลตวั อักษร
ขึน้ มากอนเหมือนกับคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text แตกม็ กี ฏขอยกเวน ทีจ่ ําเปนตองทราบและปฏิบตั ติ าม
เพือ่ ใหสามารถเปลีย่ นฟอนทใหมไดโดยอัตโนมัติ

7.2 ขอดีขอ เสียของการใชคาํ สัง่ Draw4Text4Single Line Text


ขอดีสําหรับการใชคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text เขียนตัวอักษรก็คอื ตัวอักษรทีส่ รางจากคําสัง่ นีส้ ามารถ
เลือกใชไดทงั้ ฟอนท .ttf ของวินโดวหรือใชฟอนท .shx ของ AutoCAD หากเลือกใชฟอนท .shx จะไมมปี ญ  หา เมือ่ มีการ
สงไฟลแบบแปลนจากคอมพิวเตอรเครือ่ งหนึง่ ไปใชงานในคอมพิวเตอรอกี เครือ่ งหนึง่ ถึงแมวา ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว
จะเปนเวอรชั่นทีแ่ ตกตางก็ตาม (แตตองสงฟอนท .shx ไปพรอมๆ กับไฟลแบบแปลน .dwg ดวย) ฟอนท .shx เปน
ฟอนทลายเสนทีไ่ มมีการระบายสีภายในตัวอักษร จึงสามารถพิมพลงกระดาษไดเร็วกวาแบบแปลนทีม่ ีตวั อักษร .ttf
หลายเทา สามารถกําหนดรูปแบบใหเขียนตัวอักษรตามแนวดิ่ง(Vertical) กลับหัว(Upside Down) ยอนกลับ
(Backwards) สามารถกําหนดแฟคเตอรความกวาง(Width Factor) สามารถกําหนดมุมออฟบลีก(Oblique)สําหรับ
เขียนตัวอักษรสําหรับภาพฉายไอโซเมตริก ถาหากเราไดทําการเขียนตัวอักษรดวยคําสัง่ นีใ้ นแบบแปลนเรียบรอยแลว
แตตอ งการเปลีย่ นไปใชฟอนท .shx หรือ .ttf รูปแบบอืน่ ๆ เราสามารถเปลีย่ นแปลงไดทงั้ แบบแปลนอยางรวดเร็ว โดยใช
คําสัง่ Format4Text Style นอกจากนีย้ งั มีขอ ดีคอื มีตวั เลือกตางๆ ในการจัดการชิดซายขวา บนลาง(Justification)
อาทิ เชน Align/Fit/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR ชวยใหเราจัดตําแหนงตัวอักษร
หรือขอความแตละบรรทัดไดอยางอิสระ เหมาะสําหรับการเขียนตัวอักษรในตาราง สวนขอเสียของการใชคําสัง่ นี้
ในการเขียนตัวอักษรคือเราจะตองเสียเวลาในการกําหนดรูปแบบและการเลือกฟอนทดว ยคําสัง่ Format4Text Style
เสียกอน การเขียนตัวอักษรและสามารถทําไดครัง้ ละบรรทัดเทานัน้ แตสามารถเขียนตัวอักษรหลายบรรทัดตอเนือ่ ง
ในคําสัง่ เดียวได หากมีการกดปุม Q เพือ่ ยอมรับตัวอักษร และขอความในแตละบรรทัดแลว จะไมสามารถยอน
กลับไปแกไขตัวอักษรในบรรทัดกอนได นอกจากจะออกจากคําสัง่ เสียกอน แลวดับเบิ้ลคลิกหรือใชคําสัง่ Modify4
Object4Text4Edit เพือ่ แกไขตัวอักษร ไมสามารถกําหนดรูปแบบฟอนทและความสูงของตัวอักษรทีแ่ ตกตางกัน
ในการเรี ยกใช คําสั่ งในครั้ งเดียว จึ งไม
สะดวกเหมื อ นคํ า สั่ ง Draw 4 Text 4
Multiline Text หากมีการใชภาษาไทย
บนบรรทั ด Command: จะไม ปรากฏ รูปที่ 7.3
ตัวอักษรทีส่ ามารถอานออกได (นอกจากจะมี Fixed-Width Font แบบภาษาไทยติดตัง้ ในเครือ่ งคอมพิวเตอร) แตจะ
ปรากฏตัวอยางตัวอักษรบนพืน้ ทีว่ าดภาพ ดังรูปที่ 7.3 ในขณะทําการพิมพตวั อักษร คําสัง่ นีไ้ มสามารถเขียนสัญลักษณ
ซับสคริปท (Subscript) ซุปเปอรสคริปท (Superscript) เศษสวน(Fraction) และสัญลักษณอื่นๆ แตสามารถเขียน
สัญลักษณเสนผาศูนยกลาง(Diameter) องศา(Degree)และ สัญลักษณบวกลบ(Plus/Minus)ได

Note ดาวนโหลด Fixed-Width Font ภาษาไทยสําหรับบรรทัด Command: ไดที่ http://software.thai.net/


download/fonts/courmon.ttf เมื่อดาวนโหลดแลวคัดลอกไปไวใน \Windows\Fonts เขาสู AutoCAD
เลือก Courier Mono Thai ในคําสั่ง Tools4Options ð Display ð Fonts จึงจะแสดงภาษาไทยได

chap-07.PMD 165 13/10/2549, 1:28


166

Note ไมวาจะเลือกใชคําสั่ง Draw4Text4Multiline Text หรือคําสั่ง Draw4Text4Single Line


Text เราควรทีจ่ ะใชคําสัง่ Format4Text Style เพือ่ กําหนดรูปแบบตัวอักษร เพือ่ สะดวกในการ
2D Drafting
แกไขเปลี่ยนแปลง ถึงแมวาจะไมจําเปนสําหรับคําสั่ง Draw4Text4Multiline Text ก็ตาม เรา
ก็ควรจะสรางสไตลเริ่มตนไวเสมอ

Note หากเลือกวิธีการเขียนตัวอักษรดวยคําสั่ง Draw4Text4Single Line Text และเลือกใชฟอนท


.shx ภาษาไทย เราสามารถเขาไปยังเวบไซตตางๆ อาทิ เชน www.caddplus.net, www.parnu.cjb.net
หรือ www.eppo.go.th เพือ่ ดาวนโหลดฟอนทภาษาไทย .shx มาใชงาน แลวคัดลอกฟอนท .shx ไปไวใน
โฟลเดอร \Program Files\AutoCAD 2006\Fonts เราจึงจะกําหนดฟอนท .shx ภาษาไทยในคําสัง่ Format
4Text Style ได อยางไรก็ตาม ในแผน DVD ชวยสอนทีแ่ นบหนังสือคูมือเลมนี้ ผูเขียนไดสราง
ฟอนทภาษาไทย .shx ไว 2 ฟอนทคือ Angsana.shx และ Cordia.shx (สลับภาษาไทย/อังกฤษได)
ผูอานสามารถคัดลอกฟอนทดังกลาวจากโฟลเดอร \Thai fonts ไปไวในโฟลเดอร \Program Files\
AutoCAD 2006\Fonts เพื่อนําไปใชในการเขียนแบบแปลนในงานจริงไดทนั ที

Note ฟอนท .shx ภาษาไทยแบงออกเปน 2 แบบคือแบบที่ 1 เปนฟอนท .shx ของ AutoCAD ยุคแรกๆ ที่ไม
สามารถสลับภาษาไทยอังกฤษได เพราะมีแตภาษาไทยลวนๆ ฟอนทประเภทนี้ไมนิยมใชงานแลว
แตยงั คงจําเปนสําหรับหนวยงานที่มีแบบแปลนเกาๆ ทีส่ รางในยุคของ AutoCAD R12 แบบที่ 2 เปน
ฟอนท .shx รุนใหมที่สามารถใชปุม Grave Accent ของระบบปฏิบัติการวินโดว สลับภาษาไทยและ
อังกฤษได ฟอนท .shx แบบนีเ้ ปนฟอนท Unicode มีตวั อักษรไดหลายชุดเหมือนฟอนท .ttf ของวินโดว
ดังนัน้ ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวจะตองมีการกําหนด Code page ใหตรงกับรหัสมาตรฐานของประเทศไทย
นั่นก็คือ ANSI 874 ตัวอักษรภาษาไทยทั้งแบบ .shx และแบบ .ttf จึงจะปรากฏถูกตอง

Note หากมีการใชฟอนท .shx เมื่อมีการสงไฟลแบบแปลนทีใ่ ชฟอนทดงั กลาวไปใชกบั คอมพิวเตอรเครือ่ ง


อื่นๆ เราจะตองคัดลอกฟอนท .shx สงไปพรอมกับไฟลแบบแปลน .dwg ดวย ซึง่ เราสามารถใชคําสั่ง
File4eTransmit ชวยคนหาและรวบรวมไฟล .shx และไฟลตา งๆ ที่เกี่ยวของใหเราโดยอัตโนมัติ

Note คําสั่ง Draw4Text4Single Line Text เหมาะสําหรับ การเขียนตัวอักษรเขาไปในชองตางๆ


ของตาราง อาทิ เชน ตารางรายการแบบ(Title block)

Note ในการใชงานฟอนท .ttf ของระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว ไมวาจะใชคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text


หรือคําสั่ง Draw4Text4Single Line Text มักจะเกิดปญหากับการใชตัวอักษรภาษาไทย
เมือ่ พิมพแบบแปลนลงบนกระดาษจะทําใหสระและวรรณยุกตเยือ้ งไปดานหนา ปญหาในลักษณะนีจ้ ะ
เกิดขึน้ เฉพาะกับเครื่องพิมพรุนเกาๆ ที่ออกวางตลาดในยุคของ Windows 95/98/ME/2000 ซึ่งยังไมมี
ไดรฟเวอรของ Windows XP เมื่อนําเครื่องพิมพดังกลาวมาใชงานบนวินโดว XP ซึ่งสามารถใชงาน
ไดรฟเวอรที่มากับวินโดว XP ได แตเครื่องพิมพสวนใหญจะเกิดปญหากับฟอนท .ttf ภาษาไทยคือ
สระเยื้องไปขางหนา ซึ่งไมสามารถแกไขได เนื่องจากเปนปญหาการติดตอระหวางไดรฟเวอรของ
เครือ่ งพิมพกับระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว อยางไรก็ตาม เครือ่ งพิมพรุนใหมๆ ทีม่ ีไดรฟเวอรของวินโดว
XP มาให สวนใหญมกั จะไมพบปญหานี้ ดังนัน้ หากเลือกซือ้ เครือ่ งพิมพรนุ ใหมๆ และตองการใชฟอนท
ภาษาไทย .ttf ของวินโดว เราควรตรวจสอบให แนใจว าเครื่ องพิมพ นั้ นไม มี ปญหาที่ กล าวมานี้
เครือ่ งพิมพบางเครือ่ งสามารถแกไขปญหาไดดว ยการเขาไปแกไขคอนฟกเกอเรชัน่ ของเครือ่ งพิมพ โดย
ใชคําสั่ง File4Plot คลิกบนปุม Properties ของแถบรายการ Plotter/Printer Name เลือกหัวขอ
Graphics คลิกหัวขอ True Type Fonts เลือกปุมเรดิโอ True Type Fonts as Text แลวบันทึกการเปลีย่ น
แปลงลงในไฟลคอนฟกเกอเรชัน่ ของเครื่องพิมพ จะสามารถแกไขปญหาสระและวรรณยุกตได

chap-07.PMD 166 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 167

7.3 การตรวจสอบและกําหนดมาตรฐาน Code Page


โดยปกติเมือ่ เราติดตัง้ ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว 98, ME, 2000 และวินโดว XP โปรแกรมจะกําหนด Code Page ของระบบ
ปฏิบตั กิ ารวินโดวใหเปนรหัส ANSI 874 ตามมาตรฐานของประเทศไทยโดยอัตโนมัตอิ ยูแ ลว ซึง่ Code Page นัน้ ชวย
ควบคุมและเลือกชุดตัวอักษรทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษจากฟอนท .ttf ของ Windows และฟอนท .shx ของ
AutoCAD ออกมาใชงานไดอยางถูกตอง แตบางกรณีระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวมกี ารกําหนด Code Page เปนรหัสของ
ประเทศอื่น อาทิ เชน ANSI 1252 (รหัสอเมริกา) ซึ่งก็สามารถใชไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเชนเดียวกันกับ
รหัส ANSI 874 (รหัสประเทศไทย) แตเมือ่ เราใช AutoCAD เขียนตัวอักษรลงในไฟลแบบแปลนโดยใชรหัส Code
Page เปน ANSI 874 ถาเราสงไฟลแบบแปลนไปใชงานในเครือ่ งคอมพิวเตอรทกี่ าํ หนดรหัส Code Page เปน ANSI
1252 จะทําใหระบบปฏิบตั ิการวินโดวเลือกชุด Code Page ของตัวอักษรจากฟอนท .ttf และฟอนท .shx ไมถกู ตอง
จึงทําใหตัวอักษรตางๆ โดยเฉพาะตัวอักษรภาษาไทยจะปรากฏเปนเครื่องหมาย ??? ซึ่งไมสามารถอานออกได
ในทํานองเดียวกัน หากเขียนตัวอักษรโดยใชรหัส Code Page เปน ANSI 1252 แลวสงไฟลแบบแปลนไปยังคอมพิวเตอร
ทีม่ ี Code Page เปน ANSI 874 ก็จะเกิดปญหากับตัวอักษรภาษาไทยเชนเดียวกัน แตปญ  หานีจ้ ะไมเกิดกับตัวอักษร
ภาษาอังกฤษ เนือ่ งจากตัวอักษรภาษาอังกฤษ ทั้งใน ANSI 874 และ ANSI 1252 ใชรหัส Code Page จากตาราง
เดียวกัน ดังนัน้ เพือ่ ใหการเขียนตัวอักษรถูกตองตามมาตรฐานของประเทศไทย เราควรตรวจสอบรหัส Code Page
ของวินโดววา มีรหัส Code Page เปน ANSI 874 หรือไม โดยในขณะทีอ่ ยูใ น AutoCAD เราสามารถพิมพคําสัง่ ตอไปนี้

Command: SYSCODEPAGE
SYSCODEPAGE = "ANSI_874" (read only)

ถาโปรแกรมรายงานออกมาเปน "ANSI_1252" (read only)


แสดงวา Code Page เปนมาตรฐานอเมริกัน เราจะตอง
เปลีย่ นแปลง Code Page ใหเปน ANSI 874 โดยเขาไปที่
Control Panel ของระบบปฏิบตั ิการวินโดว XP แลวดับเบิล้
คลิกบน ไอคอน Regional and Language Options คลิก
แถบคํา สั่ ง Advance เปลี่ ย นแถบรายการ Select a
Language to match .... จาก English (United States) ให
ปรากฏเปน Thai ดังรูปที่ 7.4 แลวเริ่มตนระบบปฏิบตั ิการ
วินโดวใหม Code page ของวินโดวจะเปลีย่ นเปน ANSI 874
ตามมาตรฐานของประเทศไทย เราสามารถพิ มพ คําสั่ ง
SYSCODEPAGE ผานบรรทัด Command: ของ AutoCAD
เพื่อตรวจสอบใหแนใจวา Code Page เปลี่ยนแปลงเปน
ANSI 874 อยางถูกตอง เมื่อตรวจสอบ Code Page ของ รูปที่ 7.4
ปฏิบตั กิ ารวินโดวเรียบรอยแลว เราก็พรอมทีจ่ ะใชคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text หรือคําสัง่ Draw4Text4
Single Line Text ของ AutoCAD ในการเขียนตัวอักษรในแบบแปลนตางๆ ไดอยางถูกตองและจะสามารถแลก
เปลีย่ นไฟลแบบแปลนระหวางหนวยงานตางๆ โดยปราศจากปญหาตัวอักษรภาษาไทยปรากฏไมถกู ตอง

7.4 Format4Text Style | STYLE | ST |


ใน AutoCAD 2006 ไมวา เราจะเขียนตัวอักษรดวยคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text หรือใชคาํ สัง่ Draw4Text4
Single Line Text เราควรทีจ่ ะสรางสไตลหรือรูปแบบตางๆ ของตัวอักษร (ถึงแมวา อาจจะไมจําเปนสําหรับคําสัง่

chap-07.PMD 167 13/10/2549, 1:28


168

Draw4Text4Multiline Text ก็ตาม แตเราควรสรางสไตลเพือ่ ความสะดวกในการแกไขเปลีย่ นแปลง) การกําหนด


สไตลตวั อักษรจะชวยใหเราสามารถเลือกฟอนทไฟล .ttf ของ Windows หรือฟอนท .shx ของ AutoCAD เพือ่ กําหนด
ฟอนท ตั ว อั ก ษรใช ง าน กํ า หนดความสู ง 2D Drafting
ตัวอักษร ถาใชกับฟอนท .shx ยังสามารถ
กําหนดแฟคเตอรความกวาง กําหนดมุมเอียง
ออฟบลีก(Oblique angle) กําหนดตัวอักษร
หัวกลับ(Upside down) กําหนดตัวอักษรยอน
กลับ (Backwards) และกําหนดตัวอักษรใน
แนวดิง่ (Vertical) โดยที่ โปรแกรมกําหนดมาให
STANDARD เปนรูปแบบตัวอักษรใชงาน ซึง่ มี
ฟอนท txt.shx เปนฟอนทใชงาน เราสามารถ
รูปที่ 7.5
เลือกใชฟอนท .shx อื่นๆ ของ AutoCAD ซึ่ง
ปรากฏเปน รูปไอคอน หรือเลือกใชฟอนท .ttf ของ Windows ซึง่ ปรากฏเปนรูปไอคอน ในการเขียนตัวอักษร
เมือ่ ใชคําสัง่ นี้ ออกมาใชงาน จะปรากฏ ไดอะล็อคดังรูปที่ 7.5
Style Name ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับสราง เปลี่ยนชื่อและลบสไตลตัวอักษร STANDARD คลิกปุม
บนแถบรายการนี้ เพือ่ เลือกรูปแบบตัวอักษรใชงาน New... คลิกบนปุม นี้ เพือ่ สรางรูปแบบตัวอักษรใหม โปรแกรมจะ
ตัง้ ชือ่ รูปแบบ Style1, Style2,... โดยอัตโนมัตดิ งั รูปที่ 7.6 เราสามารถตัง้ ชือ่ รูปแบบใหมได โดยพิมพชอื่ สไตลตวั อักษร
เขาไปแทนที่ Style1 โดยทัว่ ไป เรานิยมตัง้ ชือ่ สไตลตามชือ่ ฟอนททนี่ ํามา
ใชในคําสั่ง Text Style เพราะสะดวกในการใชงาน Rename... เลือกชื่อ
รู ปแบบที่ ต องการจากแถบรายการ Standard แล วคลิ กบนปุ มนี้ เพื่ อ
รูปที่ 7.6 เปลีย่ นชื่อรูปแบบตัวอักษร Delete... เลือกชือ่ รูปแบบที่ตอ งการจากแถบ
รายการ Standard แล วคลิ กบนปุ มนี้ เพื่ อลบรูปแบบตัวอั กษร เราไม
สามารถลบรูปแบบตัวอักษรได หากยังคงมี
ตั ว อั กษรบนพื้ นที่ ว าดภาพที่ ใช รู ป แบบ รูปที่ 7.7
ตัวอักษรที่ถูกเลือกนี้ Font ใชตัวเลือกใน
กลุ มนี้ สํ า หรั บ เลื อ กฟอนท ไ ฟล ที่ เก็ บ
บันทึกรูปแบบตัวอั กษรและกําหนดความ
สูงตัวอักษร Font Name คลิกบนปุม
ของแถบรายการนี้ เพื่ อเลื อกฟอนท ไ ฟล
ตัวอักษรที่ตองการ เราสามารถใชฟอนท
ไฟล .ttf ของ Windows และฟอนทไฟล
.shx ของ AutoCAD ในแถบรายการนี้ Font
Style ใชระบุฟอรแมตของฟอนท อาทิ เชน
ตัวหนา ตัวเอียงหรือตัวปกติ โดยปกติจะใชตัวเลือกนี้กบั ฟอนทตวั อักษรแบบ .ttf Height ใชกําหนดคาความสูงของ
ตัวอักษร โดยปกติ เรามักจะใชคาความสูงที่โปรแกรมกําหนดมาใหโดยใชคา Height =0.0000 เสมอ Use Big Font
ใช ตัวเลือกนีก้ ับฟอนท .shx สําหรับภาษาอื่นๆ ซึ่งมีจํานวนตัวอักษรมากกวามาตรฐาน อาทิ เชน ภาษาจีน เปนตน
Effects ใช ตัวเลื อกในกลุ มนี้ สําหรั บกําหนดเทคนิคพิเศษในการแสดงรูปแบบตัวอักษรดังรูปที่ 7.7 Normal
ตัวอักษรปกติ Upside down กําหนดตัวอักษรหัวกลับ ตัวเลือกนีใ้ ชไดกับฟอนทไฟล .shx และใชกับคําสัง่ Draw4
Text4Single Line Text เทานั้น Backwards กําหนดตัวอักษรยอนกลับ ตัวเลือกนีใ้ ชไดกบั ฟอนทไฟล .shx
เทานั้นและใชกับคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text เทานั้น Vertical กําหนดตัวอักษรในแนวตั้งตัวเลือก
นี้ใชกับฟอนท .shx เทานัน้ Width Factor กําหนดแฟคเตอรความกวางของตัวอักษร Oblique Angle กําหนด
มุมเอียงของตัวอักษร เพือ่ ใชในการเขียนตัวอักษรในภาพฉายไอโซเมตริกดังรูป 7.7 (ขวา) Preview แสดงตัวอยาง
รูปแบบตัวอักษรที่เราไดปรับแตงบนไดอะล็อค หากเราใชฟอนทภาษาไทยใหพิมพ AกBขCคDง เขาไปแทนที่
AaBbCcD แลวคลิกบนปุม Preview เพือ่ ที่เราจะไดเห็นตัวอยางเปนภาษาไทย

chap-07.PMD 168 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 169

7.4.1 ขัน้ ตอนในการสรางสไตลตวั อักษร


1. เลือกคําสัง่ Format4Text Style จากเมนูบาร จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.5
2. คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New Text Style พิมพชอื่ สไตลตวั อักษรทีต่ อ งการเขาไปใน
อิดทิ บอกซ Style Name หรือใชชอื่ รูปแบบตัวอักษรทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให style1 หรือ style2,
... ดังรูปที่ 7.6

Note เราควรใชชื่อสไตลตวั อักษรเหมือนกับชือ่ ฟอนทตวั อักษรในแถบรายการ Font Name: เมือ่ มีการสราง


สไตลตวั อักษรขึน้ มาหลายๆ สไตล เราจะสามารถจําไดวา ชือ่ ใดเปนสไตลตวั อักษรแบบใด แตถา เราใช
ชื่อ Style1, Style2,... ตามที่โปรแกรมกําหนดมาให เราจะไมสามารถจดจําสไตลที่กําหนดไวได

3. คลิกบนปุม ของแถบรายการ Font Name: จะปรากฏรายชือ่ ฟอนทไฟลตวั อักษรทัง้ หมดที่


สามารถนํามา ใชงานใน AutoCAD ได ใหเลือกฟอนทไฟลทตี่ อ งการ

Note หากตองการเขียนตัวอักษรภาษาไทยดวยคําสั่ง Draw4Text4Single Line Text เราควรเลือกใช


ฟอนท .shx เปนอันดับแรก แตถาหากจําเปนตองใชฟอนทภาษาไทย .ttf ที่มีชื่อลงทายดวย NEW
หรือ UPC อาทิ เชน AngsanaUPC, AngsanaNew, BrowalliaUPC, BrowalliaNew, CordiaUPC, CordiaNew
หรือฟอนทภาษาไทยอื่นๆ เราควรคํานึงและเขาใจผลดีผลเสียที่ไดกลาวไวในตอนตนของบทนี้ดวย
แตกไ็ มไดหมายถึงการหามมิใหใชฟอนทภาษาไทย .ttf แตเราควรจะสรางสไตลตวั อักษรขึน้ มาควบคุม
เพือ่ สะดวกแกไขเปลีย่ นแปลง

Note ถึงแมวาจะไมมีความจําเปนในการสรางสไตลสําหรับการเขียนตัวอักษรดวยคําสั่ง Draw4Text4


Multiline Text ก็ตาม แตเราก็ควรที่จะใชคําสั่งนี้ในการสรางสไตลเพื่อเลือกใชฟอนท .ttf เริม่ ตน
เพื่อทําใหฟอนท .ttf ที่ถูกเลือกเปนฟอนทใชงานและปรากฏในคําสั่ง Multiline Text โดยอัตโนมัติ
นอกจากนี้ การสรางสไตลจะชวยใหการเปลีย่ นฟอนท .ttf ใหมสามารถทําไดอยางสะดวก เพราะเพียง
แตเปลี่ยนฟอนท .ttf ใหมในคําสั่งนี้เทานั้น ตัวอักษร .ttf ทั้งแบบแปลนก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปดวย

Note ในแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือ AutoCAD 2006 เลมนี้ มีฟอนทภาษาไทย Angsana.shx และ
Cordia.shx อยูใ นโฟลเดอร \Thai fonts เราสามารถคัดลอกไฟลดงั กลาวไปไวในโฟลเดอร C:\Program
Files\ AutoCAD 2006\Fonts แลวออกจาก AutoCAD และกลับเขาสู AutoCAD อีกครัง้ จึงจะสามารถใช
คําสัง่ นีก้ ําหนดรูปแบบฟอนทภาษาไทยได

4. คลิกบนปุม Apply เพือ่ กําหนดรูปแบบตัวอักษรใชงาน แลวคลิกบนปุม Close เพือ่ ปดไดอะล็อค


เปนอันเสร็จสิน้ การสรางรูปแบบของตัวอักษรเพือ่ นําไปใชกบั คําสัง่ Draw4Text4Single Line
Text หรือคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text

Note หากเราเปลี่ยนคาความสูง(Height)ของตัวอักษรบนไดอะล็อคในขณะนี้ โดยที่ไมใชคา 0 (ศูนย) ที่


โปรแกรมกําหนดมาให คําสั่ง Draw4Text4Single Line Text จะไมยอมใหเราปอนคาความสูง
ใหมใหกบั ตัวอักษรอีกตอไป เมือ่ มีการเรียกใชรปู แบบตัวอักษรนี้ เพราะฉะนัน้ จึงไมควรเปลีย่ นแปลงคา
ความสูงตามที่โปรแกรมกําหนดมาให

Note ตัวเลือกอืน่ ๆ ทีอ่ ยูบ นไดอะล็อคซึง่ เราไมไดปรับแตง อาทิ รูปแบบฟอนท(Font Style) ความสูง(Height)
แฟคเตอรความกวาง (Width Factor) มุมเอียงของตัวอักษร(Oblique)และอืน่ ๆ ยังไมจําเปนทีจ่ ะตองปรับ
แตงในขณะนีเ้ พราะสามารถปรับแตงไดในภายหลัง ซึ่งเปนวิธที ี่สะดวกกวา

chap-07.PMD 169 13/10/2549, 1:28


170

7.5 Draw4Text4Multiline Text | MTEXT | MT |


2D Drafting
ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเขียนตัวอักษรหรือขอความหลายๆ บรรทัดติดตอกันเปนยอหนา(Paragraph)ลงบนพืน้ ทีว่ าดภาพ
การเขียน ตัวอักษรดวยคําสัง่ นี้ จะปรากฏหนาตางในลักษณะเดียวกันกับโปรแกรมเวิรด โปรเซสเซอร อาทิ เชน Wordpad
ของวินโดว เราสามารถทีจ่ ะพิมพขอ ความตัวอักษร กําหนดรูปแบบ ขนาด สี ระยะหางระหวางบรรทัด เขียนเศษสวนและ
เขียนสัญลักษณพเิ ศษตางๆ ซึง่ จะปรากฏบนหนาตางเหมือนกับทีจ่ ะปรากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพ ซึง่ ชวยใหเราสามารถ
แกไขปรับแตงขอความไดอยางสะดวก เมือ่ เรียกคําสัง่ ออกมาใชงาน จะปรากฏขอความดังตอไปนี้

Command: _mtext Current text style: "Standard" Text height: 2.5


{โปรแกรมรายงานชือ่ รูปแบบตัวอักษร ใชงาน STANDARD และความสูงของตัวอักษร 2.5}
Specify first corner: {คลิกทีม ่ มุ ซายดานบนของพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ กําหนดจุดเริม่ ตนของกรอบ
สีเ่ หลีย่ มชัว่ คราว ซึง่ เปนขอบเขตในการเขียนตัวอักษร}
Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]:
{คลิกทีม่ มุ ขวา ดานลางของพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ กําหนดอีกมุมหนึง่ ของกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราว
ซึง่ เปนขอบเขตในการเขียนตัวอักษร ซึง่ จะปรากฏหนาตาง Text Formatting ดังรูปที่ 7.8}

Note ในขณะที่ปรากฏบรรทัด Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/


Width]: แทนที่เราจะใชเมาสคลิก เพื่อกําหนดมุมขวาดานลางของกรอบสี่เหลี่ยมชั่วคราวในทันที เรา
สามารถกําหนดความสูง(Height) การจัดตัวอักษรชิดซายขวา(Justify) กําหนดระยะหางระหวางบรรทัด
(Line spacing) การหมุน(Rotation) สไตลตัวอักษร(Style)หรือกําหนดความกวาง(Width)ของยอหนา
ลวงหนาไว กอนที่จะเขาไปยังหนาตาง Text Formatting ดังรูปที่ 7.8 หากเรากําหนดตัวเลือกตางๆ
บนบรรทัดตัวเลือกนี้แลว เมื่อเขาไปยังหนาตาง Text Formatting จะมีผลตอการใชงานในทันที

รูปที่ 7.8

(1) สไตลตวั อักษร (2) ฟอนทไฟล (3) ความสูงตัวอักษร (4) ตัวหนา (5) ตัวเอียง (6) ขีดเสนใต (7) ยอนกลับ
(8) ทําซ้าํ (9) เศษสวน (10) สีตวั อักษร (11) ไมบรรทัด (12) ออกจากการเขียนตัวอักษร (13) เมนูแสดงตัวเลือก
(14) ชิดซาย (15) ชิดกลางแนวนอน (16) ชิดขวา (17) ชิดบน (18) ชิดกลางแนวตั้ง (19) ชิดลาง (20) บูลเลท
ตัวเลข (21) บูลเลท (22) บูลเลทตัวอักษร (23) สอดแทรกฟลดขอมูลตัวอักษร (24) เปลี่ยนตัวอักษรเปน
ตัวพิมพใหม (25) เปลี่ยนตัวอักษรเปนตัวพิมพเล็ก (26) ขีดบน (27) สัญลักษณ (28) มุมเอียงออฟบลีก (29)
บีบ/ขยายชองวางตัวอักษร (30) บีบ/ขยายความกวางตัวอักษร (31) ปรับระยะบรรทัดแรก (32) ปรับระยะ
ยอหนา (33) ตั้งแท็ป (34) เขียนขอความ (35) ปรับความกวางยอหนา

ในขณะที่ปรากฏขอความ Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]:


บนบรรทัดปอนคําสัง่ เราสามารถใชตวั เลือกตางๆ เพือ่ กําหนดคาเริม่ ตนตางๆ ในการเขียนตัวอักษร โดยมีรายละเอียด
ของตัวเลือกดังตอไปนี้

chap-07.PMD 170 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 171

Height พิมพ H จะปรากฏขอความ Specify height <2.5>: ใหพมิ พคาความสูงของตัวอักษรที่ตอ งการ Justify
พิมพ J จะปรากฏขอความ Enter justification [TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR] <TL>: ใหเลือกตัวเลือกสําหรับ
การจัดตัวอักษรชิดซายขวา TL Top Left จะจัดใหกลุมของตัวอักษรชิดมุมซายดานบน TC Top Center จะจัดใหกลุม
ของตั วอั กษรชิ ดกึ่ งกลางของด าน
บน TR Top Right จะจัดใหกลุม
ของตั ว อั กษรชิ ด มุ ม ขวาด านบน
ML Middle Left จะจัดใหกลุม ของ
ตั วอั กษรชิ ดกึ่ ง กลางของด านซ าย
MC Middle Center จะจัดใหกลุม
ของตั วอั กษรชิ ดจุ ดศู นย กลางของ
ตัวอักษร MR Middle Right จะจัด
ให กลุ ม ของตั ว อั กษรชิ ด กึ่ ง กลาง
ของดานขวา BL Bottom Left จะจัด
ให กลุ มของตั วอั กษรชิ ด มุ ม ซ าย
ดานลาง BC Bottom Center จะจัด
ให กลุ ม ของตั ว อั กษรชิ ด กึ่ ง กลาง
ของดานลาง BR Bottom Right จะ
จัดใหกลุมของตัวอักษรชิดมุมขวา
ดานลาง Line spacing ใช สําหรับ
กําหนดระยะห างระหว างบรรทั ด รูปที่ 7.9
จะปรากฏข อ ความ Enter line
spacing type [At least/Exactly] <At least>: หากเลือก At least จะทําใหระยะหางระหวางบรรทัดไมคงที่จะเปลี่ยน
แปลงไปตามความสูงของตัวอักษรดังรูปที่ 7.10 (ซาย) แตถาเลือก Exactly จะทําใหระยะหางระหวางบรรทัดคงที่

At Least รูปที่ 7.10 Exactly

เสมอและจะไมเปลี่ยนแปลงไปตามความสูงของตัวอักษรดังรูปที่ 7.10 (ขวา) เมื่อเลือกตัวเลือกในบรรทัดนี้แลว


จะปรากฏขอความ Enter line spacing factor or distance <1x>: หากตองการกําหนดระยะหางระหวางบรรทัดเทากับ
1 บรรทัด ใหกดปุม Q เพือ่ ยอมรับคา 1x หากตองการระยะหาง 1 บรรทัดครึง่ ใหพมิ พ 1.5x หากตองการระยะ
หาง 2 บรรทัด ใหพมิ พ 2x Rotation พิมพ R จะปรากฏขอความ Specify rotation angle <0>: ใหระบุมุมหมุน Style
พิมพ S จะปรากฏขอความ Enter style name (or '?') <STANDARD>: พิมพชอื่ รูปแบบตัวอักษรหรือพิมพเครือ่ งหมาย
? หากจําชือ่ รูปแบบไมได Width พิมพ W จะปรากฏขอความ Specify width: ใหพมิ พคา ความกวางของกรอบสีเ่ หลีย่ ม
ซึง่ กําหนดขอบเขตของขอความ โดยวัดระยะจากจุด first corner: ที่เราไดกําหนดไวในตอนตนของคําสั่ง เราสามารถ
ใชเมาสคลิก เพื่อกําหนดความกวางไดเชนเดียวกัน

Note เมือ่ เขาไปในหนาตาง Text Formatting เราจะไมสามารถแกไขเปลีย่ นแปลง Line spacing และ Rotation
ได นอกจาก เราจะเขียนตัวอักษรและออกจากหนาตาง Text Formatting ไปเสียกอน แลวจึงใชคําสั่ง
Modify4Properties จะปรากฏหนาตาง Properties ดังรูปที่ 7.11 (ซาย) แลวเลือกตัวอักษร MTEXT
เราสามารถปรับแตงคาตางๆ ของตัวอักษร MTEXT ไดตามตองการ

chap-07.PMD 171 13/10/2549, 1:28


172

2D Drafting

รูปที่ 7.11

หากคลิกขวาบนพืน้ ที่เขียนตัวอักษรของหนาตาง Text Formatting จะปรากฏเคอรเซอรเมนูดงั รูปที่ 7.11 (ขวา) เรา


สามารถเลือกคําสัง่ ตางๆ อาทิ เชน ยอนกลับ (Undo) ทําซ้ํา(Redo) ตัด(Cut) คัดลอก(Copy) วาง(Paste) ศึกษา
คําสัง่ Mtext (Learn about MTEXT) แสดง/ซอน
หนาตาง Text Formatting (Show Toolbar) แสดง/
ซอนปุมไอคอนตัวเลือก(Show Options) แสดง/
ซอนไมบรรทัด(Show Ruler) แสดงพื้นหลังของ
หนาตาง Text Formatting แบบทึบตัน (Opaque
Background)ดังรูปที่ 7.12 สอดแทรกฟลดขอมูล รูปที่ 7.12
(Insert Field) สอดแทรกสัญลักษณพิเศษ(Symbol)ดังเมนูในรูปที่ 7.13 นํา
ตัวอักษรจากเทกซไฟลฟอรแมต .txt และ .rtf เขามาใชงาน(Import Text) ตัง้
ยอหนาและตั้งแท็ป(Indents and Tabs) สอดแทรกหัวขอตัวเลขหรือหัวขอ
ตัวอักษรหรือจุดบูลเลท(Bullets
and Lists) กําหนดการปดบัง
พื้ นที่ ด านหลั ง ของตั ว อั ก ษร
(Background Mask) เมื่ อ
เลื อ กคํ าสั่ งนี้ จะปรากฏ
ไดอะล็ อคดั งรู ป ที่ 7.14 (บน) รูปที่ 7.14
คลิกใหปรากฏเครื่ องหมาย
บนเช็คบอกซ Use background
mask กํ าหนดแฟคเตอร ของ
รูปที่ 7.13 ระยะออฟเซทในอิ ดิ ท บอกซ
Border offset factor คลิกให
ปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Use drawing background color หรือเลือกสีอื่นๆ ไดตามตองการ เราสามารถ
จัดยอหนาชิดซายขวา (Justification) คนหาและแทนที(่ Find and Replace) เลือกตัวอักษรทัง้ หมด(Select All)
เปลี่ยนตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ถูกเลือกเปนตัวพิมพใหญหรือพิมพเล็ก(Change Case) เปดโหมด Caps Lock
อัตโนมัติ (AutoCAPS) ยกเลิกฟอรแมตตัวอักษร (Remove Formatting) รวมยอหนาหลายๆ ยอหนาเขาดวยกัน
(Combine Paragraphs)และกําหนดชุดตัวอักษร (Character Set)
หากเลือก Bullets and Lists บนเมนูในรูปที่ 7.11 (ขวา) จะปรากฏเมนูดงั รูปที่ 7.15 เราสามารถเลือกคําสั่งตางๆ อาทิ
เชน ปดโหมดบูลเลท(Off) เปดโหมดบูลเลทแบบตัวอักษร (Lettered) แบบพิมพเล็ก(Lowercase) แบบพิมพใหญ
(Uppercase) เปดโหมดบูลเลทแบบตัวเลข(Numbered) เปดโหมดบูลเลท(Bulleted) เริ่มตนนับลําดับตัวเลข

chap-07.PMD 172 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 173

หรือลําดับตัวอักษรใหม(Restart) ตอลําดับตัวเลขหรือลําดับตัวอักษรจากเดิม
(Continue) เขียนเลขลําดับอัตโนมัต(ิ Allow Auto-list) หากปรากฏเครื่อง
หมาย หนาคําสั่ง Allow Auto-list หากพิมพหัวขอตัวเลข 34. (ตามดวยจุด
Period) แลวกดปุม W และพิมพตวั อักษรหรือขอความตอไป เมือ่ กดปุม Q
รูปที่ 7.15 เพื่อขึ้นบรรทัดใหม จะปรากฏหัวขอตัวเลข 35. ใหโดยอัตโนมัติ นอกจากจุด
Period เราสามารถใชในการเปดโหมด Auto-list แลว เรายังสามารถใชเครือ่ งหมาย
Colon : เครื่องหมาย Close parenthesis ) เครื่องหมาย Close angle bracket >
เครือ่ งหมาย Close square bracket ] และเครือ่ งหมาย Close curly bracket } ในการเปดโหมด Auto-list เราสามารถเลือก
ใช Auto-list แบบอัตโนมัติกต็ อเมื่อมีการกดปุม W เทานัน้ (Use Tab Delimited Only) หากปรากฏเครือ่ งหมาย
หนาคําสั่ง Use Tab Delimited Only หากเราพิมพ 23. หรือพิมพ a) หรือพิมพ C> แลวกดปุม W และพิมพ
ขอความตัวอักษรตอไป แลวกดปุม Q จะปรากฏ 24. หรือ b) หรือ D> ในบรรทัดตอไปโดยอัตโนมัติ แตถา หาก
ไมปรากฏเครื่องหมาย หนาคําสั่ง Use Tab Delimited Only เราจะสามารถใชปมุ Space bar ในการเปดโหมด
Auto-list โดยอัตโนมัติไดอีกดวย แตเราไมปลดเครื่องหมาย ออกจากคําสั่งนี้ไมควรใชโหมดนี้ เพราะจะทําให
โปรแกรมเกิดความสับสนไดโดยงาย เราสามารถเปด/ปดโหมดบูลเลทและลิสท(Allow Bullets and Lists)
หากปรากฏเครื่องหมาย หนาคําสั่ง Allow Bullets and Lists เราจะสามารถกําหนดBullets และ Auto-list ใหกับ
ตัวอักษรและขอความในหนาตาง Text Formatting

Note สังเกตุวาหมายคําสั่งบนช็อทคัทเมนูดังรูปที่ 7.11 (ขวา) ซ้ํากับคําสั่งบนปุมไอคอนบนทูลบารของ


หนาตาง Text Formatting คําสั่งบนทูลบารมีเพียงคําสั่งที่จําเปนตอการใชงาน แตคําสั่งที่ปรากฏบน
ช็อทคัทเมนูนนั้ จะมีครบถวนทุกคําสัง่

Note ในการใชคําสั่งตางๆ ที่อยูบนเคอรเซอรเมนูดังรูปที่ 7.11 (ขวา) ในบางคําสั่ง อาทิ เชน Cut, Copy,
Uppercase, Lowercase, Remove Formatting, Combine Paragraphs นั้น เราจะตองมีการไฮไลท
ตัวอักษรตางๆ มากอน จึงจะสามารถใชคําสั่งเหลานั้นได สวนบางคําสั่ง อาทิ เชน Paste, Insert Field,
Symbol, Import Text นั้น เราเพียงวางเคอรเซอรในตําแหนงที่ตอ งสอดแทรกตัวอักษรหรือสัญลักษณ
เทานั้น

Note ถาเราเขียนตัวอักษรดวยคําสั่ง Draw4Text4Multiline Text ลงในแบบแปลนและตองการให


สามารถเปลี่ยนฟอนทใหมทั้งแบบแปลนไดอยางสะดวก โดยไมตองเสียเวลาตามไปแกไขตัวอักษร
MTEXT แตละยอหนา เราสามารถแกไขเพียงจุดเดียว ตัวอักษรในแบบแปลนทัง้ หมดจะเปลีย่ นฟอนท
ใหมโดยอัตโนมัติ เราสามารถทําได แตมขี อ หามทีต่ อ งปฏิบตั ติ ามก็คอื เราจะตองใชฟอนททสี่ รางจาก
คําสั่ง Format4Text Style เทานั้น หามเปลี่ยนฟอนทใหมจากแถบรายการ Font หามใชตัวหนา
(Bold)และตัวเอียง(Italic) บนหนาตาง Text Formatting อยางไรก็ตาม เราสามารถแกไขความสูง
ขีดเสนใตและกําหนดสีของ ตัวอักษรไดอยางอิสระ หากตองการเปลีย่ นฟอนทใหม ใหใชคําสัง่ Format
4Text Style เทานัน้ เพียงเทานี้ เราสามารถเปลีย่ นฟอนทใหมใหกบั ตัวอักษร MTEXT ทัง้ หมดทีอ่ ยู
ในแบบแปลน โดยใชคําสั่ง Format4Text Style ชวยในการเปลี่ยนฟอนทใหมโดยอัตโนมัติ

จากหนาตาง Text Formatting ดังรูปที่ 7.8 เราสามารถเลือกสไตลตวั อักษร เลือกฟอนทไฟลตวั อักษร .ttf กําหนดความสูง
กําหนดตัวหนา ตัวเอียง ขีดเสนใต เขียนเศษสวน เลือกสี ตัง้ แทปและตัง้ ยอหนา เปนตน และยังสามารถใชคําสัง่ อืน่ ๆ
จากเคอรเซอรเมนูตอ ไปได โดยมีรายละเอียดของตัวเลือกดังตอไปนี้
(1) Style ใชคําสัง่ Format4Text Style ในการกําหนดรูปแบบตัวอักษรและเลือกฟอนทใชงานเริ่มตน (2) Font
ใชแถบรายการนีส้ ําหรับเลือกฟอนท .ttf (ฟอนท .ttf ซึง่ ปรากฏเปนรูปไอคอน แปลงมาจากไฟล .shx ของ
AutoCAD) หรือเลือกใชฟอนท .ttf ของ Windows ซึ่งปรากฏเปนรูปไอคอน เมือ่ เริ่มเขามาในหนาตาง Text
Formatting เราสามารถเปลีย่ นฟอนทใหมไดเหมือนในเวิรด โปรเซสเซอรทวั่ ไป อนึง่ ถาเราเปลีย่ นฟอนท โดยไมผา น

chap-07.PMD 173 13/10/2549, 1:28


174

คําสั่ง Format4Text Style เราจะไมสามารถเปลี่ยนฟอนทใหกบั ตัวอักษร MTEXT ทีม่ อี ยูท งั้ หมดในแบบแปลน
โดยอั ตโนมั ติ เราจะต องตามไปแก ไขเปลี่ ยนแปลงฟอนท ให กับตั วอั กษร MTEXT แต ละย อหน าด วยตนเอง
ซึง่ จะเสียเวลาเปนอยางมาก (3) Text height กําหนดความสูงของตัวอักษรทีต่ อ งการ ความสูงทีเ่ รากําหนดจะมีผลกับ
2D Drafting
ตัวอักษรตัวตอไป หากตองการแกไขความสูงของตัวอักษรที่พมิ พไปแลว ใหไฮไลท โดยคลิกและลากเคอรเซอรไป
บนตัวอักษรที่ตอ งการ แลวปอนคาความสูงใหมที่ตองการ (4) Bold ตัวอักษรตัวหนา หากตองการแกไขความหนา
ของตัวอักษรทีพ่ มิ พไปแลวใหไฮไลทโดยคลิกและลากเคอรเซอรไปบนตัวอักษรทีต่ อ งการ แลวคลิกบนปุม (5)
Italic ตัวอักษรตัวเอียง หากตองการแกไขตัวเอียงของตัวอักษรทีพ่ มิ พไปแลว ใหไฮไลทโดยคลิกและลากเคอรเซอร
ไปบนตัวอักษรทีต่ องการ แลวคลิกบนปุม หากเลือกใชงาน Bold หรือ Italic เราจะสูญเสียความสามารถในการ
เปลีย่ นฟอนทใหกบั ตัวอักษร MTEXT ทีเ่ ปน Bold หรือ Italic ทีม่ อี ยูท งั้ หมดในแบบแปลนโดยอัตโนมัติ เราจะตองตาม
ไปแกไขเปลีย่ นแปลงฟอนทใหกับตัวอักษร MTEXT แตละยอหนาดวยตนเอง (6) Underline ใชสําหรับขีดเสนใต
หากตองการ แกไขตัวอักษรที่พิมพไปแลว ใหไฮไลทโดยคลิกและลากเคอรเซอรไปบนตัวอักษรที่ตองการ แลว
คลิกบนปุม (7) Undo ใชสําหรับยอนกลับผลของคําสั่งไปยังจุดที่กอนจะมีขอผิดพลาด (8) Redo
ทําซ้ําคําสั่งหรือยอนกลับผลของคําสั่ง Undo (9) Stack ใชสําหรับเขียนเศษสวนและพิกัดความเผื่อ โดยพิมพ
ตัวเลขเศษสวนในรูปแบบ 1/2 หรือ 1#2 หรือ +0.001^-0.002 แลวไฮไลทตัวเลขแตละชุด แลวคลิกบนปุม จะ
ปรากฏการจัดรูปแบบเศษสวนใหมคือ , , ตามลําดับ หากเราตองการเปลี่ยนแปลงหรือกําหนดรูปแบบ
ใหมใหกับเศษสวน เราจะตองไฮไลทเศษสวนและพิกัดความเผื่อนั้น แลวคลิกขวา เลือกคําสัง่ Stack Properties
จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.16 เราสามารถแกไขเปลีย่ นแปลงคุณสมบัตขิ องเศษสวนและพิกดั ความเผือ่ ไดตามตอง
การ Upper คือเศษสวนหรือพิกัดความเผื่อตัวบน Lower คือเศษ
สวนหรือพิกดั ความเผือ่ ตัวลาง Style ใชแถบรายการนี้ สําหรับเลือกรูป
แบบของเศษส วนและพิ กัดความเผื่ อ Fraction(Horizontal),
Fraction(Diagonal), Tolerance Position ใชแถบรายการ
Position สําหรับเลือกการจัดเศษสวนชิดดานบน(Top) การจัดใหอยู
ตรงกลาง(Center) และจัดใหชิดดานลาง (Bottom) Text size ใชแถบ
รายการนี้สําหรับกําหนดเปอรเซนตความสูงของตัวเลขเศษสวนหรือ
พิกัดความเผื่อเปรียบเทียบกับคาความสูงปกติของตัวอักษร หากตอง รูปที่ 7.16
การยกเลิกเศษส วนหรือพิ กัดความเผื่ อ ให ไฮไลทบนเศษสวนหรือ
พิกัดความเผื่อ แลวคลิกขวา เลือกคําสัง่ Unstack
หากคลิกบนปุม AutoStack บนไดอะล็อคดังรูปที่ 7.16 เราจะสามารถกําหนดการเปลีย่ นโหมดระหวางการเขียนเศษ
สวนและพิกดั ความเผือ่ โดยอัตโนมัตหิ รือการเขียนเศษสวนและพิกดั ความเผือ่ โดยใชปมุ Stack ดวยตนเองดังรูปที่
7.17
Enable AutoStacking หากไมตองการใชการเขียนเศษสวน
โดยอัตโนมัติ ใหปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซน้ี ถา
ปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซน้ี เมื่อเราพิมพตวั เลข 1/2
หรือ 1#2 หรือ 1^2 และกดปุม Space bar โปรแกรมจะแปลง
ตัวเลขใหเปนเศษสวนแบบ Diagonal Fration หรือ Horizontal
Fraction หรือ Tolerance โดยอัตโนมัติ Remove leading
blank หากมีเครื่องหมาย บนเช็คบอกซน้ี โปรแกรม จะลบ
ชองวางนําหนา หากเราพิมพ 1 2/3 หากไมมเี ครื่องหมาย บน
รูปที่ 7.17
เช็คบอกซนี้ เศษสวนจะปรากฏเปน หากมีเครื่องหมาย
บนเช็คบอกซน้ี เศษสวนจะปรากฏเปน สังเกตุวา ชองวางนําหนาเศษสวน 2/3 ถูกลบทิง้ ไปโดยอัตโนมัติ Convert
it to a diagonal fraction ใชปมุ เรดิโอนี้ เพือ่ แปลงใหเปนเศษสวนแบบทะแยง Convert it to a horizontal
fraction ใชปุมเรดิโอนี้ เพื่อแปลงใหเปนเศษสวนแบบแนวนอน Don’t show this dialog again หากมี
เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ จะไมปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.17 ทุกครั้งที่มีการแปลงตัวเลขใหเปนเศษสวน
อัตโนมัติ แตโปรแกรมจะใชคาตางๆ ที่กําหนดไวบนไดอะล็อค (9) Rulerใชปมุ นี้สําหรับเปด/ปดไมบรรทัดแสดง
ความกวางของยอหนา (10) Colorใชแถบรายการนี้บนหนาตาง Text Formatting สําหรับกําหนดสีใหตวั อักษรทีจ่ ะ

chap-07.PMD 174 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 175

พิมพใหม หากตองการแกไขสีของตัวอักษรทีพ่ มิ พไปแลว ใหไฮไลท โดยคลิกและลากเคอรเซอรไปบนตัวอักษรที่


ตองการแกไข แลวคลิกบนแถบรายการนี้ เพือ่ เลือกสีทตี่ อ งการ (12) OK บนหนาตาง Text Formatting หลังจากทีเ่ รา
พิมพตัวอักษรและขอความที่ตองการเรียบรอยแลว หากไมตองการใชเมาสคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากหนาตาง
เราสามารถกดปุม E คางไวแลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากโหมดการเขียนตัวอักษรไดเชนเดียวกัน

Note สังเกตุวาหัวขอหมายเลข 13 ถึงหัวขอ 35 จากรูปที่ 7.8 มิไดมีการอธิบายรายละเอียดในการใชงาน


เนื่องจากเปนผูเขียนไดอธิบายความหมายไวภายใตรูปที่ 7.8 เพียงพอตอการใชงานแลว จึงไมจําเปน
ที่จะตองอธิบายรายละเอียดอีกตอไป

7.5.1 การเขียนสัญลักษณพเิ ศษ
การเขียนสัญลักษณพเิ ศษ อาทิ เชน Diameter, Degree, Plus/Minus และสัญลักษณพิเศษอื่นๆ โดยใชคําสั่ง
Draw4Text4Multiline Text ใน AutoCAD 2006 บนระบบปฏิบัติการวินโดว XP ที่มีการกําหนดรหัส Code
Page ไวเปน ANSI 874 (รหัส Code Page ประเทศไทย) เราสามารถเรียกสัญลักษณตางๆ จากช็อทคัทเมนูดังรูปที่
7.13 ไดโดยตรง ไมเหมือนใน AutoCAD 2005 ซึง่ มีเพียงวิธเี ดียว โดยจะตองปอนรหัส Unicode อาทิ เชน \U+2205
(Diameter เครือ่ งหมายเสนผาศูนยกลาง), \U+00B1 (Plus/Minus เครื่องหมายบวกลบ), \U+00B0 (Degrees
เครือ่ งหมายองศา) เพือ่ เรียกสัญลักษณพเิ ศษออกมาใชงาน สวนใน AutoCAD 2006 เราสามารถเรียกใชสญ ั ลักษณ
พิเศษดังกลาวจากช็อทคัทเมนูดงั รูปที่ 7.13 ไดโดยตรง หรืออาจจะเลือกปอนรหัส Unicode เพือ่ เขียนสัญลักษณพเิ ศษได
เชนเดียวกัน
ในการเขียนตัวอักษรและสัญลักษณพเิ ศษใน AutoCAD 2006 เราควรสรางสไตลตวั อักษรเริม่ ตน โดยใชคาํ สัง่ Format4
Text Style คลิกบนปุม New ตัง้ ชือ่ Style Name อาทิ เชน AngsanaUPC หรือตัง้ ชือ่ อืน่ ๆ ตามชือ่ ฟอนททเี่ ลือกใช)
แลวเลือกฟอนท AngsanaUPC, Angsana New, BrowalliaUPC, Browallia New, CordiaUPC หรือฟอนท Cordia
New (ฟอนทภาษาไทย UPC และ New อืน่ ๆ สามารถนํามาเขียนตัวอักษรภาษาไทยได อนึง่ เมือ่ เลือกใชสญ ั ลักษณ
พิเศษดังรูปที่ 7.13 โปรแกรมจะเลือกฟอนทตวั อักษรให โดยอัตโนมัติ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ฟอนท ISOCPEUR
เปนฟอนทสัญลักษณพเิ ศษใชงาน เราสามารถเปลีย่ นไปใชฟอนท ISOCP, ISOCP2, ISOCP3, ISOCT, ISOCT2,
ISOCT3, ISOCTEUR รวมทั้งฟอนท Simplex, RomanS และฟอนทอื่นๆ เฉพาะที่มีสัญลักษณ นําหนา
สวนฟอนทอนื่ ๆ ทีม่ สี ญ
ั ลักษณ นําหนาจะไมสามารถนํามาเขียนสัญลักษณพเิ ศษดังกลาวได
นอกจากสัญลักษณพเิ ศษตางๆ บนช็อทคัทเมนูดงั รูปที่
7.13 แลว เรายังสามารถเรียกใชงานสัญลักษณพเิ ศษ
อืน่ ๆ อีกจํานวนมาก โดยเลือกคําสัง่ Other... บนช็อทคัท
เมนูดงั รูปที่ 7.13 จะปรากฏไดอะล็อค Character Map
ของวินโดว XP ดังรูปที่ 7.18 เราสามารถเลือก Font
(ฟอนททสี่ ามารถใชงานได จะตองเปนฟอนท .ttf ทีแ่ ปลง
มาจากฟอนท .shx ของ AutoCAD เทานั้น อาทิ เชน
ฟอนท Simplex, Complex, Romanc และอืน่ ๆ เปนตน)
แลวเลือกสัญลั กษณ ในตาราง คลิกบนปุ ม Select
ไฮไลทสัญลักษณในอิดิทบอกซ Characters to copy
คลิกบนปุม Copy เพื่อคัดลอกสัญลักษณเขาสูห นวย รูปที่ 7.18
ความจํา ตอไปกลับสูหนาตาง Text Formatting ของ
AutoCAD แลวคลิกขวาในตําแหนงทีต่ อ งการและเลือกคําสัง่ Paste สัญลักษณพเิ ศษก็จะปรากฏบนหนาตาง Text
Formatting

chap-07.PMD 175 13/10/2549, 1:28


176

ในการเขี ย นเศษส ว น(Fraction) ซั บสคริ ปท (Subscript) และซู ปเปอร ส คริ ป ท ( Superscript) ด วยคํา สั่ ง
Draw4Text4Multiline Text สามารถทําไดโดยงาย โดยใชปุมไอคอน (Stack) บนหนาตาง Formatting
โดยใชรวมกับเครือ่ งหมาย ^, # และ / ดูรายละเอียดในตารางดังรูปที่ 7.19 2D Drafting
สัญลั กษณ รูปแบบ ตัวอยาง ขัน้ ตอนการใชงาน
ไฮไลทเฉพาะ [ชองวาง]^12 แลวคลิกปุม
Subscript A[ชองวาง]^12
ตัวอักษร A ไมตองไฮไลท
Superscript ไฮไลทเฉพาะ -2^[ชองวาง] แลวคลิกปุม
ยกกําลัง 10-2^[ชองวาง] ตัวเลข 10 ไมตองไฮไลท
เสนผาศูนยกลาง เลือกจากเมนู เลือกเมนู Symbol4Diameter พิมพ 50
องศา เลือกจากเมนู พิมพ 60 เลือกเมนู Symbol4Degree
บวกลบ เลือกจากเมนู เลือกเมนู Symbol4Plus/Minus พิมพ 0.1
เศษสวนแบบ ไฮไลทเฉพาะ 1#2 แลวคลิกปุม ตัวเลข 5
5 1#2 ไมตองไฮไลท
Diagonal
เศษสวนแบบ ไฮไลทเฉพาะ 1/4 แลวคลิกปุม ตัวเลข 2
2 1/4
Horizontal ไมตองไฮไลท
รูปที่ 7.19

Note หลังจากที่ เขียนซับสคริปท ซูปเปอรสคริปทและเศษสวนตางๆ แลวหากตองการปรับ ขนาดใหม


ใหไฮไลทซบั สคริปท ซูปเปอร สคริปทหรือเศษสวนนัน้ แลวคลิกขวาและเลือกคําสัง่ Stack Properties
จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.16 เราสามารถกําหนดขนาดความสูงของซับสคริปท ซูปเปอรสคริปทหรือ
เศษสวนนั้นไดเปนเปอรเซนตของความสูงในแถบรายการ Text size ไดตามตองการ

Note สังเกตุวา หลังจากทีเ่ ราพิมพ 1/2 หรือ 1/4 แลวกดปุม Space bar จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.17 ขึ้นมา
บนจอภาพ เพื่ อให โปรแกรมสร างเศษส วนโดยอัตโนมั ติ หากไม ต องการใช เศษส วนอั ตโนมั ติ
(AutoStack) ก็ใหปลดเครือ่ งหมาย ออกจาก Enable AutoStacking แลวใชปมุ แทนไดเชนเดียวกัน

Note สังเกตุวาอันที่จริง Subscript และ Superscript ดัดแปลงมาจากการใชเศษสวนแบบ Tolerance นั่นเอง


โดยที่ Subscript จะใชคา Lower แต Superscript จะใชคา Upper นั่นเอง

Note ในการเขียนตัวอักษรและสัญลักษณพเิ ศษใน AutoCAD 2006 บนวินโดว XP เราควรจะตองเริม่ จากสราง


สไตลตัวอักษรเริ่มตน โดยใชคําสั่ง Format4Text Style คลิกบนปุม New ตั้งชื่อ Style Name
อาทิ เชน AngsanaUPC หรือ Angsana New หรือตัง้ ชือ่ อืน่ ๆ ตามชือ่ ฟอนทที่เลือกใช) แลวเลือกฟอนท
AngsanaUPC, Angsana New, BrowalliaUPC, Browallia New, หรือฟอนท CordiaUPC (ฟอนทภาษา
ไทย UPC และ New อื่นๆ ไมสามารถใชงานได) จากแถบรายการ Font Name คลิกปุม Apply และ
Close ตามลําดับ

chap-07.PMD 176 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 177

7.5.2 ขั้นตอนการเขียนสัญลักษณและเศษสวน
ใน AutoCAD 2006 เราจะใชวธิ เี ขียนสัญลักษณพเิ ศษโดยเรียกจากช็อทคัดเมนูไดโดยตรง จึงไมเปนปญหาเหมือนใน
AutoCAD 2005 เราสามารถใชสญ ั ลักษณ %%c, %%p, %%d และสัญลักษณพเิ ศษอืน่ ๆ จากช็อทคัดเมนูและจาก
Character Map ของวินโดว ไมวา Code Page ของวินโดวจะถูกกําหนดเปน ANSI 1252 (อเมริกา) หรือเปน ANSI
874 (ประเทศไทย) เราจะสามารถเขียนสัญลักษณพเิ ศษตางๆ ใน AutoCAD 2006 ไดทนั ทีโดยมีขนั้ ตอนดังตอไปนี้

รูปที่ 7.20

1. ใชคําสัง่ File4New แลวเลือกเทมเพล็ทไฟล acadiso.dwt


2. กดปุม ฟงชัน่ คีย & เพือ่ แสดงจุดกริด(Grids) แลวใชคําสัง่ View4Zoom4All เพือ่ ขยาย
ขอบเขตลิมิต กดปุมฟงชัน่ คีย & เพื่อปดจุดกริด
3. กําหนดสไตลตวั อักษร โดยใชคําสัง่ Format4Text Style จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.5
คลิกบนปุม New แลวพิมพชอื่ สไตล AngsanaUPC แลวคลิกปุม OK เลือกฟอนท AngsanaUPC
จากแถบรายการ Font แลวคลิกบนปุม Apply และ Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค
4. ใชคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text หรือพิมพคาํ สัง่ MTEXT หรือพิมพคําสัง่ ยอ MT หรือ
T ผานคียบ อรดจะปรากฏดังนี้

Specify first corner: {คลิกมุมซายบนของพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ กําหนดขอบเขตซายบนตัวอักษร}


Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]: H
{พิมพ H เพือ่ กําหนดความสูงเริม่ ตนของตัวอักษร}
Specify height <2.5>: 10 {พิมพ 10 เพือ ่ กําหนดความสูงเริม่ ตน 10 หนวย}
Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]: L
{พิมพ L เพือ่ กําหนดระยะหางระหวางบรรทัด}
Enter line spacing type [At least/Exactly] <Exactly>: E {พิมพ E เพือ่ กําหนดระยะหาง
ระหวางบรรทัดทีแ่ นนอน}
Enter line spacing factor or distance <1x>: 1.2x {พิมพ 1.2x เพือ่ กําหนดระยะหางระหวาง
บรรทัด 1.2 เทาของบรรทัด}
Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]: W
{พิมพ W เพือ่ กําหนดความกวางเริม่ ตนของยอหนา}
Specify width: 300 {พิมพ 300 เพือ่ กําหนดความกวางเริม่ ตนของยอหนา}
Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]:
{คลิกมุมขวาดานลางทะแยงมุมจากมุมซายบน เพือ่ สรางกรอบสีเ่ หลีย่ มผืนผาชัว่ คราว กําหนด
ขอบเขตในการเขียนตัวอักษร โดยประมาณของยอหนา จะปรากฏหนาตาง Text Formatting }

5. ใหแนใจวาปรากฏความสูงตัวอักษร 10 หนวยในแถบรายการ Text Height

chap-07.PMD 177 13/10/2549, 1:28


178

6. เริ่มเขียนตั วอักษรและ Subscript โดยพิมพตัวอั กษร “25 ^1” แลวไฮไลท “ ^1” (รวม
ชองวางนําหนาดวย) ดังรูปที่ 7.21 (1) แลวคลิกบนปุม จะปรากฏตัวอักษรและ Subscript
ดังรูปที่ 7.21 (2) 2D Drafting

(1) (2) รูปที่ 7.21 (3) (4)

7. เริ่มเขียนตัวอักษรและ Superscript โดยพิมพตัวอักษร “x 10-3^ ” แลวไฮไลท “-3^ ”


รวมทัง้ ชองวางทีต่ ามหลังดวยดังรูปที่ 7.21 (3) แลวคลิกบนปุม จะปรากฏดังรูปที่ 7.21 (4)
8. เริ่มเขียนตัวอักษร เครือ่ งหมายเสนผาศูนยกลาง เครือ่ งหมายบวกลบ เครือ่ งหมายองศา โดย
คลิกขวา ณ ตําแหนงที่ตองการสอดแทรกสัญลักษณ จะปรากฏช็อทคัทเมนูดังรูปที่ 7.13
เลือกคําสั่ง Symbol4Diameter สัญลักษณเสนผาศูนยกลางจะถูกสอดแทรกเขามาใชงาน
ในหนาตาง Text Formatting แลวพิมพตัวอักษรและสอดแทรกสัญลักษณอื่นๆ ตอไป โดยใช
Symbol4Plus/Minus และ Symbol4Degrees ตามวิธเี ดิมใหปรากฏดังรูปที่ 7.22

รูปที่ 7.22

9. เริม่ เขียนตัวอักษรและเศษสวนแบบ Diagonal และแบบ Horizontal โดยพิมพขอ ความ “ความยาว


5 1#2“ แลวกดปุม Space bar เพือ่ เวนชองวาง จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.17 คลิกใหปรากฏ
เครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Remove leading blank และเลือกปุม เรดิโอ Convert to a diagonal
fraction แลวกดปุม OK แลวพิมพขอ ความ “ นิว้ ความกวาง 2 1/4” แลวกดปุม Space bar เพือ่
เวนชองวาง จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.17 ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ
Remove leading blank แลวเลือกปุม เรดิโอ Convert to a horizontal fraction แลวพิมพขอ ความ
“ นิว้ ” จะปรากฏดังรูปที่ 7.23

รูปที่ 7.23

10. เปนอันเสร็จสิน้ การเขียนสัญลักษณพเิ ศษและเศษสวน ใหกดปุม E คางไวแลวกดปุม Q


ขอความตัวอักษรจะปรากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพดังรูปที่ 7.24
รูปที่ 7.24

7.5.3 ขัน้ ตอนการเขียนตัวอักษรแบบจัดยอหนา


การเขียนตัวอักษรแบบจัดยอหนาใหอยูในแนวเดียวกันในคําสั่ง Draw4Text4Multiline Text ของ AutoCAD
2006 สามารถทําไดโดยงายเหมือนกับการจัดยอหนาเอกสารในโปรแกรม Microsoft Word โดยสามารถกําหนด
ตําแหนง First line, ตําแหนง Paragraph และสามารถตัง้ Tab เพือ่ จัดตําแหนงยอหนา นอกจากนี้ ยังสามารถ
ใชบลู เลททัง้ ตัวเลขและตัวอักษรไดอกี ดวย

chap-07.PMD 178 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 179

1. ทําตามขอ 1 ถึงขอ 5 ในหัวขอ 7.5.2 จนกระทัง่ ปรากฏหนาตาง Text Formatting คลิกขวาบน


หนาตาง Text Formatting เลือกคําสัง่ Bullets and Lists ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนา
คําสัง่ Allow Auto-list คําสัง่ Use Tab Delimited Only และคําสัง่ Allow Bullets and Lists
2. พิมพ 1. แลวกดปุม W พิมพขอ ความ การเขียนตัวอักษร แลวกดปุม Q เพือ่ ขึน้ บรรทัด
ใหม จะปรากฏตัวเลขอัตโนมัติดงั รูปที่ 7.25 (ซาย)
รูปที่ 7.25

3. เนือ่ งจากระยะตําแหนง Paragraph และตําแหนง Tab ทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหโดยอัตโนมัติ


มีระยะหางเกินไป ใหคลิกและลาก Paragraph และ Tab กลับไปทางดานซาย 1 ขีด จะ
ปรากฏดังรูปที่ 7.25 (ขวา)
4. คลิกปุมไอคอน เพือ่ ยกเลิกตัวเลขอัตโนมัติ แลวกดปุม W พิมพ 1.1) แลวกดปุม W
พิมพขอ ความ Mtext แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 7.26 (ซาย)
5. พิมพ Text แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 7.26 (ขวา)

รูปที่ 7.26

6. กดปุม Backspace บนคียบ อรด เพือ่ ยกเลิกตัวเลขอัตโนมัติ แลวคลิกปุม ไอคอน จะปรากฏ


ดังรูปที่ 7.27(ซาย)
7. คลิกและลาก Paragraph และ Tab เพือ่ ปรับตําแหนงเคอรเซอรใหอยูใ นเดียวกันกับยอหนา
ของบรรทัดที่แลว แลวพิมพ การเขียนเสนบอกขนาด แลวกดปุม Q เพือ่ ขึ้นบรรทัด
ใหม จะปรากฏตัวเลขอัตโนมัตดิ งั รูปที่ 7.27 (ขวา)

รูปที่ 7.27

8. คลิกบนปุม ไอคอน แลวกดปุม W พิมพ 2.1) กดปุม W พิมพ Dimlinear แลวกดปุม


Q เพื่อขึน้ บรรทัด ใหม จะปรากฏตัวเลขอัตโนมัตดิ งั รูปที่ 7.28 (ซาย)
9. พิมพ Dimaligned แลวกดปุม Q คลิกปุม ไอคอน กดปุม Backspace 2 ครัง้ จะปรากฏ
ดังรูปที่ 7.28 (ขวา) เปนอันเสร็จสิน้ การเขียนตัวอักษรแบบจัดยอหนาอัตโนมัติ

รูปที่ 7.28

chap-07.PMD 179 13/10/2549, 1:28


180

Note ในการจัดยอหนา เรามักจะพิมพขอความหรือนําขอความจากเทกซไฟล .txt เขามาใชงานเสียกอน


แลวจึงไฮไลทขอ ความทีต่ อ งการจัดยอหนา แลวจึงคลิกและลากปุม First line และปุม Paragraph
2D Drafting
ไปยังตําแหนงยอหนาทีต่ อ งการ เรายังสามารถคลิกบนบรรทัด Ruler เพือ่ ตัง้ Tab ใหม โดยใชรว มกับ
ปุม W บนคียบ อรดเพื่อจัดยอหนาไดตามตองการ

Note นอกจากเราจะใชวิธีคลิกและลากเพื่อกําหนดตําแหนง First line, Paragraph และ Tab แลว


เรายังสามารถคลิกขวาบนบรรทัด Ruler แลวเลือกคําสัง่ Indents and Tabs หรือเลือกคําสัง่ Indents and
Tabs จากช็อทคัทเมนู จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.29 เราสามารถกําหนดคาตางๆ ผานไดอะล็อค
ไดเชนเดียวกัน

รูปที่ 7.29

Note ในการเขียนตัวอักษรที่มคี วามสูงและสีแตกตางกัน เราสามารถพิมพตวั อักษรหรือขอความทัง้ หมดไป


กอน โดยใชความสูงเทาใดก็ได ซึง่ ตัวอักษรหรือขอความทัง้ หมดจะมีความสูงและสีเหมือนกัน เมือ่ พิมพ
ตัวอักษรทัง้ หมดแลว ไฮไลทตวั อักษรหรือขอความทีต่ อ งการเปลีย่ นแปลง แลวจึงกําหนดความสูงและสี
ใหกบั ตัวอักษรหรือขอความทีถ่ กู เลือกใหม

Note ในการเขียนตัวอักษรหรือขอความในรูปแบบของตาราง เราสามารถใชวิธีตง้ั Tab ณ ตําแหนงตางๆ ได


เหมือนกับการตัง้ Tab ใน Microsoft Word ทุกประการ ดังนัน้ เพือ่ ประหยัดหนากระดาษ จึงไมขออธิบาย
รายละเอียด ณ ที่นี้

Note หากเราตองการเปลี่ยนแปลงฟอนทใหกับขอความทั้งหมดที่สรางจากคําสั่ง Mutiline Text ถามีการ


สรางรูปแบบตัวอักษรมากอน เราสามารถใชคําสัง่ Format4Text Style แลวเปลีย่ นฟอนทใหมหรือเลือก
Bold หรือ Italic ไดตามตองการ ตัวอักษรและขอความทัง้ แบบแปลนทีใ่ ชสไตลตวั อักษรนัน้ จะเปลีย่ น
แปลงโดยอัตโนมัติ

Note หลังจากที่ออกจากหนาตาง Text Formatting แลว หากตองการเปลี่ยนแปลงความกวาง(Width)ของ


ยอหนา เราสามารถคลิกและลากบนจุดกริป๊ สของตัวอักษร MTEXT เพือ่ ปรับความกวางได หรือคลิกขวา
บนบรรทัด Indents and Tabs แลวเลือกคําสั่ง Set Mtext Width ไดตามตองการ

Note หลังจากทีเ่ ราไดเขียนตัวอักษรหรือขอความ MTEXT แลว หากตองการแกไขเปลีย่ นแปลง เราสามารถ


ดับเบิล้ คลิกบนตัวอักษรหรือขอความ MTEXTหรือใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit เพือ่
แกไขขอความไดตามตองการ

chap-07.PMD 180 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 181

7.6 Draw4Text4Single Line Text | TEXT | DT |


ใช คําสั่ งนี้ สําหรั บเขี ยนตั วอั กษรบรรทั ดเดียวหรื อหลายบรรทั ดลงบนพื้ นที่ วาดภาพ การเขี ยนตั วอั กษรด วย
คําสัง่ นีจ้ ะปรากฏใหเห็นตัวอักษรตามรูปแบบและขนาดทีก่ ําหนดในขณะทีเ่ รากําลังพิมพตวั อักษรบนพืน้ ทีว่ าดภาพ
กอนทีจ่ ะเรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน เรามักจะใชคาํ สัง่ Format4Text Style เพือ่ สรางสไตลตวั อักษรรูปแบบทีต่ อ ง
การเสียกอน แลวจึงเรียกคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text หรือพิมพคาํ สัง่ TEXT หรือ DTEXT ผานคียบ อรด
หรือพิมพคําสัง่ ยอ DT ผานคียบ อรดดังตอไปนี้

รูปที่ 7.30

Command: _dtext Current text style: "CordiaSHX" Text height: 2.5000


{โปรแกรมรายงานรูปแบบตัวอักษรใชงาน “CordiaSHX” และความสูงตัวอักษรใชงาน}
Specify start point of text or [Justify/Style]: {คลิกบนพืน้ ทีว่ าดภาพเพือ่ กําหนด
จุดเริม่ ตนหรือพิมพตวั เลือก เพือ่ เลือกการจัดชิดซายขวา(Justify)หรือเปลีย่ นสไตลตวั อักษร}
Specify height <2.5000>: {กําหนดความสูงของตัวอักษร คาทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหคอ ื 2.5 หนวย
หรือใชเมาสคลิก เพือ่ กําหนดความสูงโดยในขณะทีป่ รากฏขอความดังกลาวนี้ ใหเลือ่ นเคอรเซอร จะ
ปรากฏเสนตรงชัว่ คราวยึดติดกับครอสแฮร เมือ่ เลือ่ นเมาสจนไดความยาวของเสนตรงตามตามการ
แลวคลิกเมาสซา ย}
Specify rotation angle of text <0>: {ในกรณีทต ่ี อ งการเขียนตัวอักษรตามปกติ ควรคลิกขวาหรือ
กดปุม Q หรือพิมพคา มุมเอียงของตัวอักษรทีต่ อ งการ จะปรากฏกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวทีม่ ี
ขนาดเทากับตัวอักษรบนพืน้ ทีว่ าดภาพ ใหพมิ พตวั อักษรตามตองการ แลวกดปุม Q
จะปรากฏกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวขึน้ มาในบรรทัดตอไป พิมพตวั อักษรในบรรทัดตอไปแลวกดปุม
Q หากพิมพตวั อักษรเสร็จเรียบรอยแลว กดปุม Q เพือ่ ยุตกิ ารใชคาํ สัง่ }

Note ในการสรางสไตลตัวอักษรดวยคําสั่ง Format4Text Style ถาหากมีการกําหนดความสูงของ


ตัวอักษรในอิดิทบอกซ Height จะไมปรากฏบรรทัดขอความ Specify height <2.5000>: ซึ่งเราจะไม
สามารถเปลีย่ นแปลงความสูงของตัวอักษรใหมได

Note ในขณะที่เรากําลังพิมพขอความในคําสั่งนี้ เราสามารถคลิกขวาบนกรอบสี่เหลี่ยมชั่วคราว แลวเลือก


คําสัง่ Opaque background เพือ่ กําหนดใหพนื้ หลังของกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวปรากฏทึบตันมิใหมองเห็น
วัตถุทอี่ ยูดานลางหรือเลือกคําสั่ง Insert Field เพื่อสอดแทรกขอมูลอัตโนมัตหิ รือเลือกคําสั่ง Cut(ตัด)
Copy(คัดลอก) Paste(วาง) Change Case(เปลีย่ นตัวอักษรพิมพใหญเปนพิมพเล็กหรือเปลีย่ นพิมพเล็กเปน
พิมพใหญ)

ในขณะทีป่ รากฏตัวเลือกในบรรทัด Specify start point of text or [Justify/Style]: เราสามารถเลือกวิธกี ารจัดตัวอักษร


ชิดซายชิดขวา (Justify)หรือเลือกรูปแบบของตัวอักษรอืน่ ๆ ทีไ่ ดสรางไวจากคําสัง่ Format4Text Style ไดเชนเดียว
กับคําสัง่ MTEXT ไดดงั นี้
จากรูปที่ 7.31 จุดกริป๊ สเล็กๆ สีเ่ หลีย่ มสีนา้ํ เงินทีป่ รากฏบนตัวอักษรเปนจุดอางอิงทีเ่ ราจะตองใชเมาสคลิกเพือ่ กําหนด
ตําแหนงทีจ่ ะจัดวางตัวอักษร เมือ่ เลือกตัวเลือก Justify จะปรากฏตัวเลือกยอยสําหรับควบคุมการจัดวางตัวอักษรดังนี้

chap-07.PMD 181 13/10/2549, 1:28


182

Start point Align Fit Center 2D Middle


Drafting

Right TL TC TR ML

MC MR BL BC BR
รูปที่ 7.31

Align/Fit/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR:

Align กําหนดจุดสองจุด ซึง่ เปนจุดที่ชดิ มุมลางดานซายและมุมลางดานขวาของตัวอักษร สวนความสูงของตัวอักษร


โปรแกรมจะกําหนดใหไดอตั ราสวนพอดีโดยอัตโนมัติ Fit กําหนดจุดสองจุด ซึง่ เปนจุดทีช่ ดิ มุมลางดานซายและมุม
ลางดานขวาของตัวอักษรและใหกําหนดความสูงของตัวอักษร Center กําหนดจุดกึง่ กลางของฐานตัวอักษร ความสูง
มุมเอียงของตัวอักษร เมือ่ พิมพขอความตัวอักษรเสร็จเรียบรอยแลว ฐานของกลุม ของตัวอักษรจะอยูต รงจุดกึง่ กลาง
ของจุดที่เลือกโดยอัตโนมัติ Middle กําหนดจุดศูนยกลาง ความสูง มุมเอียงของตัวอักษร เมือ่ พิมพขอความตัวอักษร
เสร็จเรียบรอยแลว โปรแกรมจะจัดใหกลุมของตัวอักษรใหอยูตรงจุดศูนยกลางของจุดที่เลือกโดยอัตโนมัติ Right
กําหนดมุมลางดานขวาของตัวอักษร ความสูง มุมเอียงของตัวอักษร เมื่อพิมพขอความตัวอักษรเสร็จเรียบรอยแลว
โปรแกรมจะจัดใหมุมขวา ดานลางของกลุมตัวอักษรใหชดิ จุดที่เลือกโดยอัตโนมัติ

Note ตัวเลือก TL (Top Left), TC (Top Center), TR (Top Right), ML (Middle Left), MC (Middle Center),
MR (Middle Right), BL (Bottom Left), BC (Bottom Center), BR (Bottom Right)ของคําสัง่ นีใ้ ชสําหรับ
จัดตัวอักษรชิดซายขวาเหมือนกับคําสั่ง MTEXT (ดูคําอธิบายตัวเลือกดังกลาวนี้ไดในคําสั่ง MTEXT
หนา 171)

Note การเขียนสัญลักษณพิเศษ ∅, ±, ° ดวยคําสั่งนี้ หากเลือกใชฟอนท .ttf ของ Windows เราจะตอง


ใชรหัส \U+2205, U+00B1, U+00B0 แตถาเลือกใชฟอนท .shx ของ AutoCAD เราจะตองใชรหัส
%%c ใชแทนเครื่องหมายเสนผาศูนยกลาง ∅, %%p ใชแทนเครื่องหมายบวกลบ ±, %%d
ใชแทนเครือ่ งหมายองศา ° , %%o ใชแทนการกําหนดจุดเริม่ ตนของการขีดเสนเหนือตัวอักษร หาก
ตองการกําหนดจุดสิ้นสุดของการขีดเสนเหนือตัวอักษร ใหพิมพ %%o อีกครั้ง, %%u ใชแทนการ
กําหนดจุดเริม่ ตนของการขีดเสนใตตวั อักษร หากตองการกําหนดจุดสิน้ สุดของการขีดเสนใตตวั อักษร
ใหพิมพ %%u อีกครั้ง

7.7 Modify4Object4Text4Edit | DDEDIT | ED |


เมื่อเขียนตัวอักษรดวยคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text หรือคําสั่ง Draw4Text4Single Line Text
เรียบรอยแลว แตปรากฏวาตัวอักษรบางตัวมีการพิมพผิดพลาด เราสามารถเรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏ
ขอความ Select an annotation object or [Undo]: ใหคลิกบนขอความตัวอักษรทีต่ อ งการแกไข ในกรณีทเี่ ปนตัวอักษร
ทีส่ รางจากคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text จะปรากฏหนาตาง Text Formatting ดังรูปที่ 7.8 เราสามารถแกไข

chap-07.PMD 182 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 183

ตัวอักษรหรือขอความทีต่ อ งการไดทนั ที ในกรณีทเี่ ปนตัวอักษรทีส่ รางจากคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text


จะปรากฏกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวบนตัวอักษรหรือขอความทีถ่ กู เลือก เราสามารถแกไขขอความไดตามตองการ

Note นอกจากจะใชคําสัง่ นีใ้ นการแกไขตัวอักษรแลว เรายังสามารถใชคําสัง่ นีใ้ นการแกไขตัวเลขบอกขนาด


ของเสนบอกขนาดแบบตางๆ ซึ่งสรางจากคําสั่งคอลัมนคําสั่ง Dimension ไดอีกดวย

Note ใน AutoCAD 2002, 2004, 2005, 2006 หากเราไมตอ งการเสียเวลาในการเรียกคําสัง่ Modify4Object4


Text4Edit จากเมนูบารหรือไมตองการเสียเวลาพิมพคําสั่งยอ ED ผานคียบ อรด เราสามารถ
ดับเบิล้ คลิกบนตัวอักษรหรือขอความทีต่ อ งการแกไขไดทนั ที

7.8 Modify4Object4Text4Scale | SCALETEXT |


ใชคําสัง่ นีส้ าํ หรับเปลีย่ นสเกลใหกบั กลุม ของตัวอักษร MTEXT หรือ TEXT จํานวนมากๆ โดยสามารถเลือกจุดยึด(Base
point) ในการเปลีย่ นสเกลได ซึง่ จะทําใหเราสามารถควบคุมการเปลีย่ นแปลงของตัวอักษรทัง้ หมดได เราอาจจะยึด
สวนใดสวนหนึ่งของตัวอักษรใหอยูกับที่เพื่อบังคับใหอีกสวนหนึ่งที่ไมตองการควบคุมใหเปลี่ยนแปลงความสูงได
อยางอิสระ

Text Height = 5 Text Height = 10


กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 7.32 หลังใชคําสั่ง

Command: _scaletext {จากรูปที่ 7.32 (ซาย)}


Select objects: Specify opposite corner: 19 found {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกตัวอักษร
ทัง้ หมดรวมเสนหรือวัตถุอนื่ ๆ ไปดวยก็ได}
3 were filtered out. {เสนตรงหรือวัตถุอน ื่ ๆ 3 ชิน้ ทีไ่ มเกีย่ วของจะถูกเลือกออกไปโดยอัตโนมัต}ิ
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q}
Enter a base point option for scaling
[Existing/Left/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR] <ML>: ML
{พิมพตวั เลือกเพือ่ กําหนดจุดยึดในการเปลีย่ นสเกล ในทีน่ เี้ ลือก ML หรือ Middle Left}
Specify new height or [Match object/Scale factor] <10>: 10 {พิมพคา ความสูงของตัวอักษร
ใหม ในทีน่ พี้ มิ พ 10 หรือพิมพ M แลวคลิกบนตัวอักษรอืน่ ทีม่ คี วามสูงใหมหรือพิมพ S แลวกําหนด
สเกลแฟคเตอรโดยเทียบจากขนาดเดิม ตัวอักษรทัง้ หมดจะเปลีย่ นขนาดมีความสูงใหมเทากับ 10
ดังรูปที่ 7.32 (ขวา)}

Note หากใชตวั เลือก Existing โปรแกรมจะใชจุดสอดแทรกเดิมของตัวอักษรเปนจุดยึดในการเปลี่ยนสเกล


หากไมตองการใชจุดสอดแทรกเดิมของตัวอักษรเปนจุดยึด เราสามารถเลือกตัวเลือก Left(ลางซาย),
Center(กลางลาง), Middle(กลางตัวอักษร), Right(ขวาลาง), TL(บนซาย), TC(บนกลาง), TR(บนขวา),
ML(กลางซาย), MC(กลางตัวอักษร), MR(กลางขวา), BL(ลางซาย), BC(ลางกลาง), BR(ลางขวา)
เปนจุดยึดใหมไดตามตองการ

chap-07.PMD 183 13/10/2549, 1:28


184

7.9 Modify4Object4Text4Justify | JUSTIFYTEXT |


2D Drafting
ใชสาํ หรับเปลีย่ นจุดสอดแทรกใหกบั ตัวอักษรMTEXT หรือ TEXT โดยไมทําใหตวั อักษรและขอความเปลีย่ นตําแหนงไป
จากเดิม

Justification = Left Justification = MC


กอ นใชคําสั่ง รูปที่ 7.33 หลังใชคําสั่ง

Command: _justifytext {จากรูปที่ 7.33 (ซาย)}


Select objects: Specify opposite corner: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกตัวอักษรทัง้ หมด
รวมเสนหรือวัตถุอนื่ ๆ ไปดวยก็ได}
3 were filtered out. {เสนตรงหรือวัตถุอน ื่ ๆ 3 ชิน้ ทีไ่ มเกีย่ วของจะถูกเลือกออกไปโดยอัตโนมัต}ิ
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q}
Enter a base point option for scaling
[Existing/Left/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR] <Left>: MC
{พิมพตวั เลือกเพือ่ จัดตัวอักษร ชิดซายขวาใหม ในทีน่ เี้ ลือก MC จุดสอดแทรกของตัวอักษรทัง้ หมด
ทีถ่ กู เลือกจะยายไปอยูต รงกลางตัวอักษร (Middle Center) แตเราจะไมเห็นการเปลีย่ นแปลงจนกวา
จะคลิกทีต่ วั อักษรเพือ่ ใหปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงินดังรูปที่ 7.33 (ขวา)}

7.10 TEXTFILL
ใชตัวแปรระบบนีส้ ําหรับควบคุมการระบายสีบนตัวอักษรจากฟอนท .ttf ของระบบปฏิบัตกิ ารวินโดว

Command: TEXTFILL
Enter new value for TEXTFILL <1>: {โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดให TEXTFILL = 1 นัน่ หมายถึงจะ
มีการระบายสีลงบนตัวอักษร หากไมตอ งการใหมกี ารระบายสีตวั อักษร ใหกาํ หนดคา 0 (ศูนย)}

7.11 TEXTQLTY
ใชตวั แปรระบบนีส้ ําหรับควบคุมคุณภาพความละเอียดและความราบเรียบของตัวอักษรจากฟอนท .ttf ของระบบ
ปฏิบตั กิ ารวินโดว คาทีใ่ ชไดอยูร ะหวาง 0 ถึง 100 หากกําหนดคามาก คุณภาพตัวอักษรจะสูงขึน้ แตความเร็วในการ
พิมพจะลดลง หากกําหนดคาต่ํา คุณภาพตัวอักษรจะลดลง แตความเร็วในการพิมพจะสูงขึน้

Command: TEXTQLTY
Enter new value for TEXTQLTY <50>: {โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดให TEXTQLTY = 50 นัน่ หมายถึงจะ
คุณภาพตัวอักษรจากฟอนท .ttf ของระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวอยูใ นระดับปานกลาง}

chap-07.PMD 184 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 185

7.12 Insert4Field | FIELD


ใชคําสัง่ นีใ้ นการสอดแทรกขอความตัวอักษร ซึง่
เปนขอความที่โปรแกรมสรางขึ้นโดยอัตโนมัติ
อาทิ เชน วันทีส่ รางแบบแปลน (CreateDate)
วั น ที่ ป จ จุ บั น (Date) วั น ที่ พิ มพ แ บบแปลน
(PlotDate) วันทีบ่ นั ทึกแบบแปลน(SaveDate)
ชื่อไฟล(Filename) ขนาดไฟล (Filesize) ชื่อ
ล็อกอิน(Login) และอื่นๆ เปนตน นอกจากนีย้ งั
สา มา รถสอด แทรก
ขอความที่ผูใชโปรแกรม
กําหนดใหกับคุณสมบัติ
ของแบบแปลน (Drawing
Properties) ดวยคําสั่ง
รูปที่ 7.34 File4 Drawing รูปที่ 7.35
Properties อาทิ เชน ชื่อ
(Title) เรือ่ ง(Subject) ผูเ ขียน(Author) และอื่นๆ เปนตน เมือ่ เรียกคําสั่งออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
7.34 เราสามารถเลือกขอมูลทีต่ องการสอดแทรกได โดยเลือกจากขอมูลทั้งหมด(All)หรือเลือกประเภทขอมูลตางๆ
ไดจากแถบรายการ All ดังรูปที่ 7.35 เมือ่ เลือกประเภทขอมูลและคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความดังนี้

MTEXT Current text style: "Standard" Text height: 2.5000


{โปรแกรมรายงานชือ่ สไตลตวั อักษรใชงานและความสูง)
Specify start point or [Height/Justify]: {เราสามารถกําหนดความสูงของตัวอักษร(Height)
หรือกําหนดการจัดตัวอักษรชิดซายขวา(Justify)หรือคลิกเพือ่ กําหนดตําแหนงของจุดสอดแทรกของ
ตัวอักษรฟลด}

Note ขอความทีถ่ กู สอดแทรกจากคําสัง่ นีจ้ ะเปลีย่ นแปลงไปตามขอมูลจริง ซึง่ จะมีการปรับปรุง(Update)โดย


อัตโนมัติในกรณีที่มีการใชคําสั่ง Save, Open, Regen, Plot และ eTransmit ตามที่มีการกําหนดไวใน
คําสั่ง Tools4Options ð User Preferences ð Field Update Settings นอกจากนี้ เรายังสามารถใชคําสัง่
Tools4Update Fields เพือ่ ปรับปรุงฟลดขอ มูลใหเปนปจจุบัน แลวคลิกบนฟลดที่ตอ งการปรับปรุง
ดวยตนเอง

Note โดยที่โปรแกรมกําหนดให ขอมูลฟลดจะปรากฏพื้นหลัง(Background)เปนสีเทา หากไมตองการให


พืน้ หลังของฟลดปรากฏเปนสีเทา ใหใชคําสัง่ Tools4Options คลิกแถบคําสัง่ User Preferences ปลด
เครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ Display background of fields

7.13 การเขียนตัวอักษรลงบนแบบแปลน
วิธเี ขียนแบบทีน่ ยิ มใชงานในปจจุบนั เราจะเขียนเฉพาะชิน้ งานดวยขนาดจริงลงบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปส(Model space)
เมื่อเขียนชิ้นงานเสร็จเรียบรอยแลว จึงเขาสูพ้นื ที่เลเอาทเปเปอรสเปส(Layout paperspace)เพือ่ จัดหนากระดาษ
สรางวิวพอรทและกําหนดสเกล หลังจากนั้นจึงจะเริม่ เขียนคําอธิบายตางๆ ลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปสโดยตรง

chap-07.PMD 185 13/10/2549, 1:28


186

ขอดีในการเขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปสคือความสะดวกในการกําหนดขนาดความสูงของตัวอักษร


เพราะเราสามารถเลือกใชคา ความสูงของตัวอักษรตามความเปนจริงทีจ่ ะปรากฏลงบนกระดาษ ตัวอยางเชน หากมี
2D Drafting
การจัดหนากระดาษโดยใชหนวยวัดเปนมิลลิเมตรและตองการเขียนตัวอักษรสูง 3.5 มิลลิเมตร เราก็สามารถกําหนดคา
ความสูง(Text Height) เทากับ 3.5 หนวยไดทันที หากมีการจัดหนากระดาษโดยใชหนวยวัดเปนเมตร และตองการ
เขียนตัวอักษรสูง 2.5 มิลลิเมตร เราก็สามารถกําหนดคาความสูง(Text Height) เทากับ 0.0025 หนวยไดทนั ทีเชนเดียวกัน
สังเกตุวา การกําหนดคาความสูงของตัวอักษรตรงไปตรงมา เนือ่ งจากเราเขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส
ซึง่ เปนพืน้ ทีท่ จี่ ะพิมพลงบนกระดาษโดยตรงดวยขนาดจริง จึงทําใหเราจะตองกําหนดความสูงของตัวอักษรใหเปนไป
ตามความเปนจริงเชนเดียวกัน อยางไรก็ตาม การเขียนตัวอักษรลงบนชิน้ งานในพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสแบบเดิมๆ จะมีความ
แตกตางอยางสิ้นเชิง เนื่องจากตัวอักษรที่เขียนในโมเดลสเปสจะปรากฏมีขนาดเทาใดนั้นจะขึ้นอยูกับสเกลของ
วิวพอรท การกําหนดความสูงของตัวอักษรจึงตองทราบมาตราสวนทีจ่ ะกําหนดใหกบั วิวพอรทเสียกอน จึงจะนําสเกล
ของวิวพอรทไปคูณความสูงของตัวอักษรจริงทีต่ อ งการ ในกรณีทมี่ มี าตราสวนของวิวพอรทเปน 1:2, 1:5, 1:10, 1:100,...
หรือนําสเกลของวิวพอรทนําไปหารความสูงของตัวอักษรจริงทีต่ องการ ในกรณีทมี่ มี าตราสวนของวิวพอรทเปน 2:1,
5:1, 10:1, 100:1,... จึงจะไดคา ความสูงทีเ่ ราจะตองนําไปเขียนหรือแกไขตัวอักษรบนพืน้ ที่โมเดลสเปส สังเกตุวา
การเขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ที่โมเดลสเปสเปนวิธที ี่ยงุ ยากและเริ่มที่จะลาสมัยแลว เพราะเราจะตองทราบสเกลหรือ
มาตราสวนของวิวพอรทเสียกอนจึงจะสามารถกําหนดความสูงของตัวอักษรทีถ่ กู ตองได ดังนัน้ ในปจจุบนั เราจึงนิยม
เขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส ซึง่ มีความสะดวกและรวดเร็วกวามาก
7.13.1 การคํานวณความสูงตัวอักษรในโมเดลสเปสเมือ่ จัดพิมพในเปเปอรสเปส
ในการเขียนตัวอักษรอธิบายสวนตางๆ ของชิน้ งานในแบบแปลน เราสามารถเลือกทีจ่ ะเขียนขอความตัวอักษรอธิบาย
แบบแปลนลงบนพื้ นที่ โมเดลสเปส(Model space)โดยตรงหรื อบนเลเอาท เ ปเปอร ส เปส(Layout paper
space)ไดตามความตองการ ใน AutoCAD 2002 จนถึง 2006 หากเราเลือกทีจ่ ะเขียนเสนบอกขนาดบนพืน้ ทีเ่ ลเอาท
เปเปอรสเปส เราควรทีจ่ ะเขียนขอความตัวอักษรอธิบายแบบแปลนลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปสดวยเชนเดียวกัน
การเขียนตัวอักษรบนพื้นที่เลเอาทเปเปอรสเปสชวยใหเราไมตองคํานวณสเกลของตัวอักษรใหเปนทีย่ งุ ยากเหมือน
กับการเขียนตัวอักษรในโมเดลสเปส หากเราเลือกที่ จะเขียนตัวอักษรอธิบายแบบแปลนลงในเปเปอรสเปสซึ่ ง
บรรจุไตเติ้ลบล็อคหรือตารางรายการแบบ เราสามารถเขียนตัวอักษรดวยขนาดความสูงจริงๆ ไดทันที อาทิ เชน
ถาแบบแปลนเขียนดวยระบบ 1 หนวยเทากับ 1 มิลลิเมตร หากเราตองการเขียนตัวอักษรสูง 2.5 มม. เราสามารถ
กําหนดความสูงตัวอักษรเทากับ 2.5 หนวยไดทนั ที ถาเราเขียนแบบแปลนดวยระบบ 1 หนวยเทากับ 1 เมตร หากตองการ
เขียนตัวอักษรสูง 3.5 มม. เราก็สามารถกําหนดความสูงตัวอักษรเทากับ 0.0035 หนวยไดทนั ทีเชนเดียวกัน สังเกตุวา การ
เขียนตัวอักษรในเลเอาทเปเปอรสเปสสามารถทําไดโดยปอนคาความสูงของตัวอักษรทีเ่ ปนขนาดทีจ่ ะปรากฏจริงเขา
ไปโดยตรง โดยไมตองคํานึงถึงสเกลของวิวพอรทตางๆ ในเลเอาทเปเปอรสเปส และไมจําเปนตองยอนกลับไปแกไข
หรือปรับความสูงของตัวอักษรใหถูกตองตามสเกลของวิวพอรทในเปเปอรสเปส สวนการเขียนตัวอักษรบนพืน้ ที่
โมเดลสเปสและมีการจัดกระดาษสรางวิวพอรทในเปเปอร สเปส ความสูงของตัวอักษรทีเ่ ราเขียนในโมเดลสเปสขึน้ อยู
กับสเกลของวิวพอรทซึ่งจะทําใหตัวอักษรเปลีย่ นความสูงไปตามสเกลของวิวพอรทที่เลือกใชงาน ดังนั้น จึงตองมี
การปรับความสูงของตัวอักษร หลังจากทีม่ ีการกําหนดสเกลใหกบั วิวพอรทในเปเปอรสเปส จึงทําใหเกิดความไม
สะดวกและเสียเวลาในการทํางาน

Note ในปจจุบนั เรานิยมเขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส เนือ่ งจากความสะดวกและรวดเร็วใน


การใชงาน ไมตอ งเสียเวลายอนกลับมาแกไขความสูงตัวอักษรใหเหมาะสมกับสเกลของวิวพอรทตาม
วิธีการเขียนตัวอักษรบนพื้นทีโ่ มเดลสเปส

chap-07.PMD 186 13/10/2549, 1:28


กลุ มคําสั่งสําหรับการเขียนตัวอักษร 187

อยางที่ไดกลาวในตอนตนวาการเขียนตัวอักษรในเลเอาทเปเปอรสเปสนั้นไมมีขั้นตอนที่ยุงยาก เพียงแตใชคําสั่ง
Format4Text Style กําหนดสไตลของตัวอักษร แลวใชคําสัง่ Draw4Text4Multiline Text หรือคําสั่ง
Draw4Text4Single Line Text เขียนตัวอักษรลงในตําแหนงตางๆ บนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปสดวยขนาดจริง
ไดทนั ที แตถา เราเลือกทีจ่ ะเขียนตัวอักษรลงในโมเดลสเปส เราก็สามารถทําได แตเราควรที่จะตองทราบวาจะใช
มาตราสวนของวิวพอรทในเลเอาทเปเปอรสเปสเทาใดเสียกอน เพราะถาหากเราไมทราบสเกลของวิวพอรทในเลเอาท
เปเปอรสเปสแลว เมือ่ พิมพแบบแปลนลงกระดาษ ตัวอักษรจะปรากฏมีขนาดไมถกู ตองตามทีต่ องการ
ใน AutoCAD 2006 ถึงแมวา เราจะเขียนตัวอักษรบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปสไดโดยงายอยางทีไ่ ดกลาวมาในตอนตน
แตเราก็ควรทีจ่ ะทราบวิธกี ารเขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสดวยเชนเดียวกัน ถึงแมวา เราจะไมเลือกใชการเขียน
ตัวอักษรดวยวิธีนกี้ ็ตาม เหตุที่เราควรจะทราบและทําความเขาใจกับการเขียนตัวอักษรในโมเดลสเปสก็เพราะวา
หากเราไดรบั แบบแปลนจากผูร ว มงานหรือหนวยงานอืน่ ๆ ทีย่ งั มีการเขียนตัวอักษรบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปส เราก็จะสามารถ
จัดการกับขนาดความสูงของตัวอักษรไดอยางถูกตอง โดยทั่วไป เมื่อเริ่มตนเขียนตัวอักษรบนพื้นที่โมเดลสเปส
เรามักเขียนตัวอักษรดวยความสูงโดยประมาณใหมีขนาดเหมาะสมกับชิ้นงานในโมเดลสเปสไปกอน โดยไมตอง
กําหนดคาความสูงทีแ่ นนอนในตอนแรก เมือ่ กําหนดสเกลหรือมาตราสวนใหกบั วิวพอรทในเลเอาทเปเปอรสเปสแลว
เราจึงกลับไปแกคา ความสูงของตัวอักษรทัง้ หมดพรอมๆ กัน อยางไรก็ตาม ความสูงตัวอักษรในโมเดลสเปสจะแปรผัน
ไปตามสเกลของวิวพอรทในเปเปอรสเปส เราสามารถคํานวณหาคาความสูงของตัวอักษรในโมเดลสเปสตามสเกลของ
วิวพอรทในเปเปอรสเปสไดดงั นี้
7.13.2 การคํานวณหาความสูงตัวอักษร(Text Height)
ในกรณีทขี่ นาดของชิน้ งานจริงเล็กกวาขนาดของกระดาษหรือหากใชสเกลหรือมาตราสวนของวิวพอรท อาทิ เชน 5:1,
10:1, 20:1, 100:1 เปนตน เราจะตองใชสตู รที่ 1 ในกรณีทขี่ นาดของชิน้ งานจริงใหญกวาขนาดของกระดาษหรือหาก
ใชสเกลหรือมาตราสวนของวิวพอรท อาทิ เชน 1:5, 1:10, 1:20, 1:100 เปนตน เราจะตองใชสตู รที่ 2 ดังตอไปนี้

สูตรที่ 1 Text height = Print text size/Viewport Scale

สูตรที่ 2 Text height = Print text size*Viewport Scale

Text height ความสูงของตัวอักษรที่จะตองนําไปกําหนดใหกับตัวอักษรในโมเดลสเปส


Print text size ความสูงของตัวอักษรที่ตอ งการใหปรากฏลงบนกระดาษ เชน 2.5 ม.ม.หรือ 3 ม.ม.
Viewport scale สเกลหรือมาตราสวนของวิวพอรทซึ่งกําหนดระหวางชิ้นงานและไตเติ้ลบล็อค

ตัวอยางในการคํานวณหา Text Height


ตัวอยางที่ 1 สมมุตวิ า นําเอาชิน้ งานเขามารวมกับไตเติล้ บล็อคขนาด A2 (594x420 มิลลิเมตร) แลวกําหนดสเกลของ
วิวพอรท(Viewport scale)เทากับ 20:1 ซึ่งหมายความวาชิ้นงานมีขนาดเล็กกวาไตเติ้ลบล็อค ถาตองการให
ตัวอักษร(Print text size)ปรากฏลงในกระดาษมีขนาดเทากับ 2.5 มิลลิเมตรพอดี จะตองกําหนดคา Text Height
เทาใดใหกบั ตัวอักษรหรือขอความทีจ่ ะเขียนในโมเดลสเปส

chap-07.PMD 187 13/10/2549, 1:28


188

ใชสูตรที่ 1 แทนคาสูตร Text height = 2.5 /20 = 0.125 Ans


2D Drafting
ตัวอยางที่ 2 สมมุตวิ า นําเอาชิน้ งานเขามารวมกับไตเติล้ บล็อคขนาด A4 (297x210 มิลลิเมตร)แลวกําหนดสเกลหรือ
มาตราสวนของวิวพอรท(Viewport scale)เทากับ 1:50 ซึ่งหมายความวาชิ้นงานมีขนาดใหญกวาไตเติ้ลบล็อค
ถาตองการใหตวั อักษร(Print text size)ปรากฏลงในกระดาษมีขนาดเทากับ 3.5 ม.ม. จะตองกําหนดคา Text height
เทาใดใหกบั ตัวอักษรหรือขอความทีจ่ ะเขียนในโมเดลสเปส

ใชสูตรที่ 2 แทนคาสูตร Text height = 3.5 x 50 = 175 Ans

Note เมือ่ ไดคา Text height แลวใชคําสัง่ MTEXT หรือ DTEXT กําหนดคาความสูงของตัวอักษร (Height)ให
กับตัวเลือกของคําสั่งตามที่คํานวณได เมื่อพิมพแบบแปลนออกมาโดยใชสเกลในการพิมพ (Plotting
scale)เทากับ 1:1 ในระบบมิลลิเมตรหรือ 1000:1 ในระบบเมตร จะทําใหตวั อักษรปรากฏลงบนกระดาษ
มีขนาดถูกตองตามตองการ

Note ในกรณีที่เขียนตัวอักษรดวยความสูงโดยประมาณบนพื้นที่โมเดลสเปสมากอน เมื่อทราบสเกลของ


วิวพอรทในเลเอาทเปเปอรสเปสและคํานวณคาความสูงของตัวอักษรไดแลว เราสามารถใชคําสั่ง
Modify4Properties แกไขความสูงตัวอักษรได เพื่อใหตัวอักษรมีความสูงที่ถูกตอง เมื่อทําการ
พิมพแบบแปลนลงกระดาษหรืออาจจะใชคําสัง่ Tools4Quick Select ชวยเลือกตัวอักษรจํานวน
มากๆ ในแบบแปลน เพื่อนํามาแกไขดวยคําสั่ง Modify4Properties ในครั้งเดียวได

Note การกําหนดขนาดความสูงของตัวอักษรดวยวิธีที่กลาวมานี้ ใชประกอบกับการเขียนชิ้นงานในโมเดล


สเปสดวยขนาดจริงและเขียนไตเติล้ บล็อคในเปเปอรสเปสดวยขนาดจริงในหนวยวัดเดียวกัน แลวจึง
กําหนดสเกลระหว างชิ้ นงานในโมเดลสเปสและไตเติ้ ลบล็ อคในเปเปอรสเปส เมื่ อได สเกลตาม
ทีต่ อ งการแลว จึงกําหนดขนาดความสูงของตัวอักษรทีต่ อ งการ แลวเขียนตัวอักษรลงไปในโมเดลสเปส
แตถาหากเขียนตัวอักษรลงบนเปเปอรสเปสโดยตรง เราสามารถใชขนาดจริงของตัวอักษรไดทันที

เปนอันวาในบทนี้ เราไดศกึ ษาการใชคาํ สัง่ ตางๆ ชวยในการเขียนตัวอักษรมาอยางละเอียดทัง้ หมดแลว จะเห็นไดวา การ


เขียนตัวอักษรใน AutoCAD 2006 ไดรบั การพัฒนาใหใชงานงายกวาเดิม โดยเฉพาะอยางยิง่ ในการเขียนเศษสวนและ
สัญลักษณพเิ ศษตางๆ มีการแกไขขอบกพรองทัง้ หมดเรียบรอยแลว จึงใชงานไดสะดวกและรวดเร็วอยางมาก เมือ่ เรา
เขาใจการเขียนตัวอักษรใน AutoCAD 2006 เปนอยางดีแลว ในบทตอไปเราจะเริม่ ศึกษาหลักและวิธกี ารเขียนเสนบอก
ขนาดลงบนชิ้นงานซึง่ จะศึกษาทัง้ วิธกี ารเขียนเสนบอกขนาดลงบนชิน้ งานในโมเดลสเปสและวิธีการเขียนเสนบอก
ขนาดผานวิวพอรทของเลเอาทเปเปอรสเปส
*******************************

chap-07.PMD 188 13/10/2549, 1:28

Anda mungkin juga menyukai