Anda di halaman 1dari 60

แบบฝกหัดที่ 2

งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

ในการเขียนแบบสถาปตยกรรมในบานเรานิยมใชระบบเมตริก หลายๆ องคกรหรือหลายๆ หนวยงานใชวธิ ีการ


เขียนแบบโดยกําหนด 1 หนวยบนพืน้ ทีว่ าดภาพของ AutoCAD เทากับ 1 เมตร บางองคกรใช 1 หนวยเทากับ 1 มิลลิเมตร
(แตใช Scale factor ของเสนบอกขนาดเพื่อแปลงคาออกมาเปนเมตร) โดยสวนใหญจะนิยมใช 1 หนวยเทากับ 1
เมตร อยางไรก็ตาม ไมวา เราจะเขียนแบบชิน้ งานดวยหนวยวัดใด หนวยของชิน้ งานในโมเดลสเปสจะตองเปนหนวย
เดียวกันกับหนวยวัดของกระดาษเลเอาทเปเปอรสเปส หากมีการเขียนชิน้ งาน 1 หนวยเทากับ 1 เมตร เราจะตองนํา
ชิน้ งานไปใชกบั เลเอาทหรือตารางรายการแบบทีม่ หี นวยเปนเมตร หากมีการเขียนชิน้ งาน 1 หนวยเทากับ 1 มิลลิเมตร
เราจะตองนําชิ้นงานไปใชกบั เลเอาทหรือตารางรายการแบบทีม่ ีหนวยเปนมิลลิเมตรเชนเดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อใหการ
กําหนดสเกลสามารถทําไดอยางตรงไปตรงมาไมมขี นั้ ตอนทีย่ งุ ยากซับซอน
จุดประสงคของแบบฝกหัดนี้ เพือ่ ใหผอู า นสามารถนําแนวทางปฏิบตั ใิ นการเขียนชิน้ งานเบือ้ งตน การกําหนดหนวยวัด
ของชิน้ งาน การรวมชิ้นงานเขากับตารางรายการแบบ การสรางวิวพอรทแสดงภาพฉาย การกําหนดสเกลใหกับ
ภาพฉายและการพิมพแบบแปลนไปใชงานรวมกับ Sheet Set Manager ซึง่ เปนเครือ่ งมือชวยอํานวยความสะดวกใน
การจัดการกับแบบแปลนตางๆ ที่มีอยูจ าํ นวนมากในโครงการหนึ่งๆ การใชงาน Sheet Set Manager นั้นมีขอดีคือ
หากมีการแกไขขอมูลคุณสมบัตขิ อง Sheet Set Manager ขอมูลตัวอักษรบนตารางรายการแบบ ชีททุกแผนทีอ่ ยูใ น
ชีทเซทจะเปลีย่ นแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ Sheet Set Manager ยังชวยในการคนหาภาพฉายหรือ
แบบแปลนไดอยางรวดเร็ว ชวยใหเราสามารถเปดภาพฉายหรือแบบแปลนออกมาใชงานไดอยางสะดวกและยัง
สามารถสั่งพิมพแบบแปลนหรือชีททุกๆ แผนไดในครั้งเดียว ซึ่งจะชวยประหยัดเวลาในการจัดการแบบแปลน
จํานวนมากไดเปนอยางดี
ในแบบฝกหัดนี้ เราจะเขียนแบบบานเดีย่ ว 2 ชัน้ ดังรูปที่ 18.1 ซึง่ เปนแบบแปลนสถาปตยกรรม ในการเขียนแบบดวย
AutoCAD เราจะตองเขียนแบบชิน้ งานดวยขนาดจริง 1:1 หรือ Full scale (จะตองไมมกี ารทดสเกลเหมือนกับการเขียน
แบบดวยมือบนโตะเขียนแบบ) โดยทั่วไป แบบสถาปตยกรรมนิยมกําหนดหนวยวัดเปนเมตร โดยจะกําหนดให 1
หนวยของชิน้ งานบนพืน้ ทีว่ าดภาพของ AutoCAD เทากับระยะ 1 เมตร ในกรณีนี้ เราจะตองนําชิน้ งานไปใชกบั ตาราง
รายการแบบหรือเลเอาททมี่ หี นวยวัดเปนเมตรเทานัน้ เพราะถาหนวยวัดชิน้ งานกับกระดาษไมตรงกัน เราจะไมสามารถ
ใชคําสั่ง Modify4Properties เพือ่ กําหนดสเกลใหกบั วิวพอรทและไมสามารถใชคําสัง่ Place on Sheet ของ
Sheet Set Manager เพื่อสรางภาพฉายแสดงชิน้ งานในสเกลที่ถกู ตองได หลังจากที่เราเขียนแบบบานและบันทึก
มุมมอง(Views)ภาพฉายตางๆ เสร็จเรียบรอยแลว เราจะใช Sheet Set Manager นําตารางรายการแบบ ISO-A3-M
ขนาด A3 ทีม่ หี นวยเปนเมตรซึง่ ถูกสรางขึน้ ในแบบฝกหัดทีแ่ ลว มาจัดหนากระดาษและสรางภาพฉายดวยคําสัง่ ตางๆ
ของ Sheet Set Manager เราไมสามารถนําเทมเพล็ทไฟลตา งๆ ของ AutoCAD มาใชงานได เนือ่ งจากเทมเพล็ทไฟล
เหลานั้นมีหนวยวัดเปนมิลลิเมตร อีกทั้งยังมิไดออกแบบมาเพื่อใชงานรวมกับ Sheet Set Manager จึงไมสามารถ
นํามาใชงานได

chap-18.PMD 549 13/10/2549, 1:38


550

รูปที่ 18.1
2D Drafting

Note ถึงแมวาแบบแปลนในแบบฝกหัดนี้เปนงานเขียนแบบสถาปตยกรรม แตผูอานที่ตองการศึกษาการ


เขียนแบบเครื่องกล งานเขียนแบบไฟฟาหรืองานเขียนแบบประเภทอื่นๆ ก็สามารถนําแนวทางใน
แบบฝกหัดนีไ้ ปใชกบั แบบแปลนในงานเขียนแบบประเภทอืน่ ๆ ไดเชนเดียวกัน เพราะในแบบฝกหัด
นีม้ ีเทคนิคตางๆ ที่สอดแทรกไว สามารถนําไปประยุกตใชงานเขียนแบบประเภทอื่นๆ ไดเชนเดียวกัน

Note แบบฝกหัดนี้จะใชการเขียนแบบในโหมด Color dependent plot style โดยใชรหัสสีเขามาควบคุม


ความหนาและคุณสมบัตเิ สน

Note หากมีตารางรายการแบบที่มหี นวยวัดเปนมิลลิเมตร แตไมมีตารางรายการแบบที่มหี นวยเปนเมตร เรา


สามารถเขียนชิ้นงานโดยกําหนดให 1000 หนวยบนพืน้ ที่วาดภาพเทากับ 1 เมตร เพื่อที่จะนําไปใชกับ
ตารางรายการแบบทีม่ หี นวยเปนมิลลิเมตร เมือ่ ตองการเขียนเสนบอกขนาดโปรแกรมจะรายงานออกมา
โดยมีหนวยวัดเปนมิลลิเมตร แตเราสามารถกําหนดสเกลแฟคเตอร 0.001 ใหกับสไตลเสนบอกขนาด
เพือ่ บังคับใหเสนบอกขนาดรายงานออกมามีหนวยเปนเมตร ถึงแมวา ชิน้ งานจะมีหนวยเปนมิลลิเมตร
ก็ตาม แตวิธีนี้ไมคอยสะดวกในการทํางาน จึงนิยมใช 1 หนวยเทากับ 1 เมตร แลวนําไปใชกับตาราง
รายการแบบทีม่ หี นวยเปนเมตรเชนเดียวกัน เพือ่ ชวยใหการกําหนดสเกลตรงไปตรงมาไมตอ งเสียเวลา
กดเครือ่ งคิดเลขคํานวณหาสเกลทีต่ อ งการ

Note กอนทีจ่ ะทําแบบฝกหัดนี้ เราควรทีจ่ ะตัง้ คาเริม่ ตนตางๆ ใหตรงกันเสียกอน โดยใชคําสัง่ Tools4Options
ð User Preferences ð ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Shortcut menu in drawing
area ðใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Turn on time-sensitive right-click แลวคลิก
แถบคําสัง่ Display ใหแนใจวา Crosshair size = 100 เปอรเซนตและใชคําสั่ง Tools4Drafting Settings
ð Object Snap กําหนดโหมดออฟเจกทสแนปใชงานคือ Endpoint, Midpoint, Center, Intersection
และ Extension รวมทั้งใหแนใจวาบรรทัดแสดงสถานะปรากฏ SNAP = ปด(OFF), GRID = ปด,
ORTHO = ปด, POLAR = เปด, OSNAP = เปด(ON), OTRACK = ปด, DYN = เปด, LWT = ปด

chap-18.PMD 550 13/10/2549, 1:38


551
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
1. เริม่ แบบแปลนใหม โดยใชคาํ สัง่ File4New จะปรากฏไดอะล็อค Select template ใหเลือก
ไฟลตน แบบ Acadiso.dwt โปรแกรมจะนําเราไปสูพ น้ื ทีว่ าดภาพโมเดลสเปสระบบเมตริกในโหมด
Color dependent plot style
2. กดปุม ฟงชัน่ คีย ( เพือ่ เปดโหมดสแนป(Snap)และปุม & เพือ่ เปดโหมดแสดงจุดกริด(Grid)
แลวใชคําสัง่ View4Zoom4All ขยายขอบเขตลิมติ ใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ
3. กําหนดขอบเขตลิมติ ใหม โดยใชคําสัง่ Format4Drawing Limits จะปรากฏขอความดังนี้

Specify lower left corner or [ON/OFF] <0.0000,0.0000>: {กดปุม Q เพือ่ ใชคา มุมซายลาง
เทากับ 0,0 เสมอ}
Specify upper right corner <420.0000,297.0000>: 20,15 {กําหนดมุมขวาบนขอบเขตลิมติ
20,15}

Note 20,15 ไดมาจากขนาดคราวๆ ของชิน้ งานในรูปที่ 18.1 ซึง่ ชิน้ งานมีความยาวประมาณ 12 หนวย (เมตร)
มีความสูงประมาณ 9 หนวย (เมตร) ดังนั้น เราสามารถกําหนดขอบเขตลิมิตใหมคราวๆ โดยใชคา
20,15 ซึง่ มีขนาดใหญกวาชิน้ งานประมาณสองเทา อยางไรก็ตาม เราใชขอบเขตลิมติ เพือ่ ปรับขนาดของ
พื้นที่วาดภาพใหเหมาะสมกับขนาดของชิน้ งาน ซึ่งจะใชเฉพาะตอนเริ่มตนเขียนชิ้นงานเทานั้น

4. ใชคาํ สัง่ View4Zoom4All เพือ่ ขยายขอบเขตลิมติ ทีเ่ ราไดกาํ หนดใหมขี นาดใหญเต็มพืน้ ที่
วาดภาพ

Note สั งเกตุ วาเคอรเซอรครอสแฮร สามารถเลื่ อนไปมาได ไม สะดวก เพราะระยะกระโดด(Snap)ของ


เคอรเซอรนั้นหางมากจนเกินไป จนไมสามารถเลื่อนเคอรเซอรได เนื่องจากระยะกระโดด Snap ใน
แนวแกน X และ Y ของเคอรเซอรที่โปรแกรมกําหนดมาใหมีคาเทากับ 10 หนวย ซึ่งมีระยะประมาณ
ครึ่งหนึ่งของขอบเขตลิมิต 20,15 ดังนั้น เคอรเซอรครอสแฮรจึงไมสามารถเลื่อนไปมาไดอยางอิสระ
นอกจากเราจะกดปุมฟงชั่นคีย ( เพื่อปดโหมดสแนปหรือปรับระยะกระโดดของสแนป ใหมให
เหมาะสม

Note ทุกครัง้ ทีใ่ ชคําสัง่ Format4Drawing Limits เราจะตองใชคําสัง่ View4Zoom4All ตอไปในทันที


แลวทดลองตรวจสอบขอบเขตลิมติ โดยเลือ่ นเคอรเซอรไปทีม่ มุ ขวาดานบนของขอบเขตลิมติ บนพืน้ ที่
วาดภาพ ถาอานคาบนบรรทัดแสดงสถานะได ประมาณหรือใกลเคียงกับ 20,15 หนวยแสดงวาถูกตอง

5. ปรับระยะสแนปและกริด(Grid)ใหมใหเหมาะสมกับขอบเขตลิมติ โดยคลิกขวาบนปุม
บนบรรทัดแสดงสถานะ แลวเลือกคําสัง่ Settings หรือใชคําสัง่ Tools4Drafting Settings
จะปรากฏไดอะล็อค Drafting Settings ใหเลือกแถบคําสัง่ Snap and Grid แลวกําหนด Snap X
รูปที่ 18.2 Spacing, Snap Y Spacing เทากับ 0.5 หนวยและกําหนด
Grid X Spacing, Grid Y Spacing เทากับ 0 (ศูนย) แลวคลิก
OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค เคอรเซอรครอสแฮรจะสามารถ
เลือ่ นไดอยางอิสระ พรอมทัง้ ปรากฏจุดกริดและขอบเขตลิมติ
ดังรูปที่ 18.2
6. ใชคําสั่ง Format4Layer แลวคลิกบนปุม สราง
เลเยอรใหมชื่อ Outline รหัสสี Color = White (สีขาว),
Linetype = Continuous, Lineweight = 0.25 mm. เพือ่ เก็บ
เสนแนวเสาและแนวพืน้ ตางๆ แลวคลิกบนปุม กําหนดให

chap-18.PMD 551 13/10/2549, 1:38


552

เลเยอร Outline เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) ดังรูปที่ 18.3


รูปที่ 18.3
2D Drafting

7. จากรูปที่ 18.2 เขียนเสนตรงกําหนดแนวพืน้ โดยใหแนใจวาเลเยอร


เปนเลเยอรใชงาน เขียนเสนตรงในแนวนอน โดยใชคําสัง่ Draw4Line เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify first point: คลิกหรือพิมพจุดคอรออรดิเนท 2,3 เพือ่ กําหนดจุดเริ่มตน เมื่อปรากฏ
ขอความ Specify next point or [Undo]: เปดโหมดออรโธ * เพือ่ บังคับใหเสนอยูใ นแนวนอน
และแนวตัง้ เลือ่ นเคอรเซอรไปทางขวาในแนวนอน แลวพิมพ 15 กดปุม Q 2 ครัง้ จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.4 (ซาย)

รูปที่ 18.4

Note อันที่จริง เราไมจําเปนตองใชจุดคอรออรดเิ นท 2,3 เปนจุดเริม่ เขียนเสนตรง เราจะใชจุดอื่นๆ ก็ได แต


ควรจะเปนจุดทีค่ อนไปทางดานซายลางของขอบเขตลิมิต

8. ใชคําสั่ง Format4Layer แลวคลิกบนปุม สรางเลเยอรใหมชื่อ CenterLine รหัสสี


Color = Blue (สีนา้ํ เงิน), Linetype = CENTER (คลิกบนเสน Continuous คลิกปุม Load เลือกเสน
CENTER คลิกปุม OK คลิกเสน CENTER คลิกปุม OK), Lineweight = 0.13 mm. แลวคลิกบนปุม
กําหนดใหเลเยอร CenterLine เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) ดังรูปที่ 18.4 (ขวา)
9. ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน เริม่ เขียนเสนเซ็นเตอรกําหนดแนว
ดานซายของบาน โดยใชคําสัง่ Draw4Line เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point: ปด
โหมด OSNAP # คลิกหรือพิมพจุดคอรออรดิเนท 4,3 เพื่อกําหนดจุดเริ่มตน เมื่อปรากฏ
ขอความ Specify next point or [Undo]: เปดโหมดออรโธ * เลือ่ นเคอรเซอรขน้ึ ในแนวดิง่
แลวพิมพคา 10 และกดปุม Q 2 ครั้ง เพื่อออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.5 (ซาย)

รูปที่ 18.5

10. กดปุม ฟงชัน่ คีย * เพือ่ ปดโหมดออรโธ(Ortho) กดปุม ฟงชัน่ คีย ( เพือ่ ปดโหมดสแนป(Snap)
และปุม & เพือ่ ปดโหมดแสดงจุดกริด(Grid)

chap-18.PMD 552 13/10/2549, 1:38


553
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
11. ปรับสเกลแฟคเตอรของเสนประ โดยพิมพ LTSCALE หรือ LTS ผานบรรทัด Command: เมือ่
ปรากฏขอความ Enter new linetype scale factor <1.0000>: พิมพคา 0.03 จะปรากฏดังรูปที่
18.5 (ขวา)

Note โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให หากกําหนดสเกลแฟคเตอร LTSCALE = 1 ชวงขีดยาวของเสนเซ็นเตอร


ไลนที่กําหนดไวในไฟล Acadiso.lin มีคาเทากับ 31.75 ซึ่งทําใหเสนประเซ็นเตอรไมปรากฏเปนเสน
ประ หลังจากที่เราไดเปลี่ยนสเกลแฟคเตอร 0.03 จะทําใหขีดยาวของเสนประเซ็นเตอรมีความยาว
เทากับ 0.03x31.75 = 0.9525 หรือประมาณ 1 หนวย

12. จากรูปที่ 18.5 (ขวา) เริม่ สรางเสนคูขนาน หางจากเสนจุดที่ 1 ไปทางขวาที่ระยะ 0.55, 3.75,
5.95, 8.95, 9.65, 10.95 โดยใชคําสัง่ Modify4Offset

Command: _offset {จากรูปที่ 18.5 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <Through>: {ปอนระยะหาง 0.55 หนวย}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1}
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }
Command: {จากรูปที่ 18.5 (ขวา) คลิกขวาหรือกดปุม
 Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET}
OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.5500>: {ปอนระยะหาง 3.75 หนวย}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1}
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
Command: {จากรูปที่ 18.5 (ขวา) คลิกขวาหรือกดปุม
 Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET}
OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <3.7500>: {ปอนระยะหาง 5.95 หนวย}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1}
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
แลวคลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET ตอไปโดยกําหนดระยะออฟเซทเทากับ
8.95, 9.65 และ 10.95 ตามลําดับ โดยใชเสนจุดที่ 1 ในบรรทัดขอความ Select object to
offset... และใชจดุ ที่ 2 ในบรรทัด Specify point on side to offset... เชนเดิม จนกระทัง่ ปรากฏ
ดังรูปที่ 18.6 (ซาย)

รูปที่ 18.6

chap-18.PMD 553 13/10/2549, 1:38


554

13. จากรูปที่ 18.6 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคู


ขนานในแนวดิง่ เพือ่ กําหนดแนวเสาและผนังระยะหาง 0.1, 0.05 และ 0.5 หนวยกําหนดใหเสนคู
ขนานยายเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน โดยใชคําสั่ง Modify4Offset 2D Drafting
Command: _offset {จากรูปที่ 18.6 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}
Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <Through>: L {พิมพตวั เลือก L}
Enter layer option for offset objects [Current/Source] <Source>: C {พิมพตวั เลือก C
เพือ่ สรางเสนคูข นานเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน ไมใชเลเยอรของวัตถุตน ฉบับ}
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <Through>: .1 {กําหนดระยะหาง 0.1}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 2 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 2 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 7 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 8 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 9 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 2 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }
Command: {จากรูปที่ 18.6 (ซาย) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET}
OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Current OFFSETGAPTYPE=0
{ใหแนใจวา Layer = Current เนือ่ งจากเราตองการใหเสนคูข นานยายไปอยูใ นเลเยอรใชงาน }
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.1000>: .05 {กําหนดระยะหาง 0.05}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
Command: {จากรูปที่ 18.6 (ซาย) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET}
OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Current OFFSETGAPTYPE=0
{ใหแนใจวา Layer = Current เนือ่ งจากเราตองการใหเสนคูข นานยายไปอยูใ นเลเยอรใชงาน }
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.1000>: .5 {กําหนดระยะหาง 0.5}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
Command: {จากรูปที่ 18.6 (ซาย) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET}
OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Current OFFSETGAPTYPE=0
{ใหแนใจวา Layer = Current เนือ่ งจากเราตองการใหเสนคูข นานยายไปอยูใ นเลเยอรใชงาน }
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.1000>: .5 {กําหนดระยะหาง 0.5}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 9 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
จะปรากฏดังรูปที่ 18.6 (ขวา)}

chap-18.PMD 554 13/10/2549, 1:38


555
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
14. จากรูปที่ 18.6 (ขวา) แชแข็งเลเยอร CenterLine โดยคลิกแถบรายการควบคุมเลเยอร แลว
คลิกบน ไอคอน ของเลเยอร CenterLine จนกระทัง่ ปรากฏเปนรูปไอคอน แลวกําหนดให
เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม จะปรากฏดังรูปที่ 18.7 (ซาย)

รูปที่ 18.7

15. สรางเลเยอรใหม เพือ่ ใชเก็บเสนพืน้ และขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิก


บนปุม สรางเลเยอรใหมชอื่ Decor รหัสสี Color = 30 (สีสม), Linetype = Continuous,
Lineweight = 0.25 mm. แลวคลิกบนปุม กําหนดใหเลเยอร Decor เปนเลเยอรใชงาน
(Current layer) ดังรูปที่ 18.7 (ขวา)
16. จากรูปที่ 18.7 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สราง
รูปที่ 18.8 เสนคูข นานในแนวนอน เพื่อกําหนดแนวพื้นและขอบ
ปูนปน โดยใชคําสั่ง Modify 4Offset ตามวิธีใน
ขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เพื่อกําหนดให
เสนคูข นานยายเขาไปอยูใ นเลเยอร ใชงาน แลวกําหนด
ระยะหาง 0.4, 0.5, 0.95, 1, 1.1, 2.95, 3.05, 3. 55,
3.6, 3.7, 4.55, 4.65, และ 6.2 หนวย โดยสรางเสนคู
ขนานในแนวนอนหางจากเสนจุดที่ 1 ขึน้ ดานบน โดย
คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 ในบรรทัด Select object to
offset... แลวคลิกจุดที่ 2 ในบรรทัด Specify point on
side to offset... แลวคลิกขวา ใหปรากฏดังรูปที่ 18.8
17. จากรูปที่ 18.8 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim

Command: _trim {จากรูปที่ 18.8 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Current settings: Projection=UCS, Edge=None
Select cutting edges ... {เลือกขอบตัด}
Select objects or <select all>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1, 4 และ 5 เพือ่ ใชเปนขอบตัด}
Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: F {พิมพตวั เลือก F เพือ่ กําหนดโหมดการเลือก
แบบ Fence ซึง่ จะเลือกตัดเสนไดหลายๆ เสน}
Specify first fence point: {คลิกตรงจุดที่ 2}
Specify next fence point or [Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 3}
Specify next fence point or [Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมด Fence}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6, 7, 8, และ 9}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ Trim
จะปรากฏดังรูปที่ 18.9 }

chap-18.PMD 555 13/10/2549, 1:38


556

รูปที่ 18.9

2D Drafting

18. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคาํ สัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17 ใหแนใจวา
OSNAP # อยูในสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบน
เสนขอบตัดจุดที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ...
เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา
เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first
fence point:... คลิกจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ...
เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 11 และ 12 แลว
คลิกขวา เมื่อปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 13 และ 14 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออก
จากคําสัง่
19. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify
4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 2, 3, 4 และ 5 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ
ขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence
point:... คลิกจุดที่ 15 และ 16 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือก
ตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 17 และ 18 แลวคลิกขวา
เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first
fence point:... คลิกจุดที่ 19 และ 20 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่
20. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify
4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1, 21, 2, 3, 22, และ 6 แลวคลิกขวา
เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first
fence point:... คลิกจุดที่ 16 และ 23 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ...
เลือกตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 24 และ 25
แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 26 และ 27 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select
object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 20
และ 28 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่
21. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify
4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 2, 3, 22, 4 และ 29 แลวคลิกขวา
เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first
fence point:... คลิกจุดที่ 30 และ 31 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ...

chap-18.PMD 556 13/10/2549, 1:38


557
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
เลือกตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 32 และ 33
แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 28 และ 34 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออก
จากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.10

รูปที่ 18.10

22. จากรูปที่ 18.10 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify
4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ
Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 2 และ 5 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
23. จากรูปที่ 18.10 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify
4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ
Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
24. จากรูปที่ 18.10 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify
4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ
Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 7 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
25. จากรูปที่ 18.10 ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคู
ขนานในแนวดิ่ง สรางเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12
ใหแนใจวา Layer = Current เพื่อกําหนดใหเสนคูขนานยายเขาไปอยูในเลเยอรใชงาน แลว
กําหนดระยะหาง 0.1 หนวย โดยคลิกบนเสนตรงจุดที่ 8 ในบรรทัด Select object to offset...
แลวคลิกจุดที่ 9 ในบรรทัด Specify point on side to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
จะปรากฏดังรูปที่ 18.11 (ซาย)

รูปที่ 18.11

chap-18.PMD 557 13/10/2549, 1:38


558

26. จากรูปที่ 18.11 (ซาย) ตัดเสนใหบรรจบกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet

Command: _fillet {จากรูปที่ 18.11 (ซาย) ใหแนใจวา 2D Drafting


# อยูใ นสถานะปด}
Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000 {ใหแนใจวา Mode=Trim และ Radius =
0.000 หากตองการเปลีย่ น Mode ใหพมิ พตวั เลือก T แลวเลือกตัวเลือก Trim หากตองการเปลียน
คารัศมี ใหพมิ พตวั เลือก R แลวปอนคารัศมี 0 (ศูนย) ทีต่ อ งการ}
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: M {ใหพม ิ พ M เพือ่ เลือก
Multiple เพือ่ ใหคาํ สัง่ ทํางานอยางตอเนือ่ ง}
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 }
Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 }
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 }
Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 }
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q
เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.11 (ขวา)}

27. จากรูปที่ 18.11 (ขวา) ตอเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen

Command: _lengthen {จากรูปที่ 18.11 (ขวา) ปด #}


Select an object or [DElta/Percent/Total/DYnamic]: DE {พิมพตวั เลือก DE เพือ่ เลือก DElta}
Enter delta length or [Angle] <0.0000>: 0.1 {กําหนดคา 0.1 แลวกดปุม  Q}
Select an object to change or [Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4, 5, 6, 7, 8 และ 9}
Select an object to change or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

28. จากรูปที่ 18.11 (ขวา) คลิกขวาหรือ Q เพื่อทําซ้ําคําสัง่ LENGTHEN ตามวิธีในขอ 27


เลือกตัวเลือก DE กําหนดคา 0.05 แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 10 และ 11
29. เขียนเสนตรงเชือ่ มตอปลายเสนขอบปูนปน ทีย่ น่ื ออก โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา
# อยูใ นสถานะเปด แลวคลิกบนปลายเสนตางๆ ใหปรากฏดังรูปที่ 18.12 (ซาย)

รูปที่ 18.12

30. จากรูปที่ 18.12 (ซาย) เขียนเสนตรงเชือ่ มตอปลายเสนขอบปูนปน ใหตงั้ ฉาก โดยคลิกขวาเพือ่


ทําซ้ําคําสั่ง LINE หรือ ใชคําสั่ง Draw4Line ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด
คลิกจุดที่ 1 แลวคลิกบนปุม (Perpendicular) หรือกดปุม S แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกท

chap-18.PMD 558 13/10/2549, 1:38


559
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
สแนป Penpendicular เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
31. จากรูปที่ 18.12 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ LINE หรือใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา
# อยูใ น สถานะเปด คลิกจุดที่ 3 แลวคลิกบนปุม (Perpendicular) หรือกดปุม
S แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป Penpendicular เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกจุดที่
4 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.12 (ขวา)
32. จากรูปที่ 18.12 (ขวา) ตัดเสนทีไ่ มตองการ โดยใชคําสัง่ Modify 4Trim ตามวิธีในขอ 17
ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>:
คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 5, 6, 7 และ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to
trim... คลิกบนเสนจุดที่ 9 และ 10 คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.13 (ซาย)

รูปที่ 18.13

33. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏ


ดังรูปที่ 18.13 (ขวา)
34. จากรูปที่ 18.13 (ขวา) ตัดเสนที่ไมตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17
ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>:
คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือก
ตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 2 และ 3 แลวคลิกขวา
แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่
35. จากรูปที่ 18.13 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน
คูข นานขอบปูนปน ในแนวนอน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 แลวกําหนด
ระยะหาง 0.05 หนวย โดยคลิกบนเสนตรงจุดที่
รูปที่ 18.14 4 และ 5 ในบรรทัด Select object to offset...
ให แน ใ จว า # อยู ในสถานะป ด
แลวคลิกจุดที่ 6 ในบรรทัด Specify point on side
to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง
จะปรากฏดังรูปที่ 18.14
36. จากรูปที่ 18.14 ตอเสนขอบปูนปน โดยใชระยะ
0.1 และ 0.05 หนวยและเขียนเสนตรงเชื่อมตอ
ใหเปนรูปขอบปูนป นและตัดเสนที่ไมตองการ
ตรงจุดที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามวิธตี งั้ แตขอ 27 ถึงขอ
33 จะปรากฏดังรูปที่ 18.15 (ซาย)

chap-18.PMD 559 13/10/2549, 1:38


560

2D Drafting

รูปที่ 18.15

37. จากรูปที่ 18.15 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 1


และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.15 (ขวา-บน)
38. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-บน) ตอเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen ตามวิธใี นขอ
27 ใชระยะ DElta = 0.1 แลวคลิกตรงจุดที่ 3 และ 4
39. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-บน) ลดความยาวเสน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Lengthen ตามวิธใี นขอ
27 ใชระยะ DElta = -0.1 แลวคลิกตรงจุดที่ 5 จะปรากฏดังรูปที่ 18.15 (ขวา-ลาง)
40. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-ลาง) เขียนเสนตรงเชือ่ มตอเสน โดยใชคาํ สัง่ Draw4Line ใหแนใจวา
OSNAP # อยูใ นสถานะเปด แลวคลิกจุดที่ 6 และ 7 แลว คลิกขวา เพื่อออกจากคําสั่ง
41. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-ลาง) ตัดเสนทีไ่ มตองการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ
17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัด
โดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกจุดที่ 8, 9 และ 10 แลวคลิกขวา
เพือ่ ออกจากคําสัง่
42. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏ
ดังรูปที่ 18.16 (ซาย)

รูปที่ 18.16

43. จากรูปที่ 18.16 (ซาย) คัดลอกเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Copy

Command: _copy {จากรูปที่ 18.16 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}

chap-18.PMD 560 13/10/2549, 1:38


561
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

Select objects: Specify opposite corner: 2 found {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือเลื


่ อกวัตถุแบบ Window}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify base point or [Displacement] <Displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย }
Specify second point or <use first point as displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย }
Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
จะปรากฏดังรูปที่ 18.16 (ขวา)}

44. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏ


ดังรูปที่ 18.17 (ซาย)
รูปที่ 18.17

45. จากรูปที่ 18.17 (ซาย) คัดลอกเสนขอบปูนปน โดยใชคําสั่ง Modify4Copy ตามวิธใี นขอ


43 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิก
ขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิก
จุดที่ 3 เมื่อปรากฏขอความ Specify second point... คลิกจุดที่ 4 และ 5 จะปรากฏดังรูปที่
18.17 (ขวา)
46. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏ
ดังรูปที่ 18.18 (ซาย)

รูปที่ 18.18

47. จากรูปที่ 18.18 (ซาย) คัดลอกเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Copy ตามวิธใี นขอ


43 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิก

chap-18.PMD 561 13/10/2549, 1:38


562

ขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิก
จุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point... คลิกจุดที่4 จะปรากฏดังรูปที่18.18 (ขวา)
48. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents 2D Drafting
จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.19

รูปที่ 18.19

49. จากรูปที่ 18.19 ลดความยาวเสน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Lengthen ตามวิธใี นขอ 27 โดยใช
ระยะ DElta = -1.6 แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.20 (ซาย)

รูปที่ 18.20

50. จากรูปที่ 18.20 (ซาย) สรางสวนโคงฟลเลท โดยใชคาํ สัง่ Modify4Fillet พิมพ R เพือ่ กําหนด
รัศมี แลวกําหนดรัศมี 1.5 หนวย คลิกบนเสนจุดที่ 1 และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.20 (ขวา)
51. จากรูปที่ 18.20 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน
คูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เพือ่
กําหนดใหเสนคูขนานยายเขาไปอยูในเลเยอรใชงาน เมื่อปรากฏขอความ Specify offset
distance... กําหนดระยะหาง 0.1 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบน
เสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... ปดโหมด # คลิก
จุดที่ 4 ในบรรทัด เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ
ขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 6 ในบรรทัด เมือ่ ปรากฏขอความ Select
object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset...
คลิกจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.21 (ซาย)

Note หากตองการใหเสนคูข นานทัง้ 3 เสนเกิดขึน้ ในครัง้ เดียว เราสามารถทําได โดยใชคําสัง่ Modify4Object


4Polyline เลือกเสนใดเสนหนึง่ ตัวเลือก Join แลวคลิกบนเสนที่เหลือ เพือ่ เชือ่ มโยงเสนทัง้ หมด
ใหกลายเปนวัตถุชิ้นเดียว ตอไปถาใชคําสั่ง Modify4Offset เราจะสามารถสรางเสนคูขนานได
ภายในครั้งเดียว โดยไมตองเสียเวลาคลิกเซกเมนตตางๆ เพื่อสรางเสนคูขนาน

chap-18.PMD 562 13/10/2549, 1:38


563
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
รูปที่ 18.21

52. จากรูปที่ 18.21 (ซาย) ตัดเสนใหบรรจบกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet ตามวิธีในขอ 26


พิมพ R เพื่อเลือก Radius แลวกําหนดรัศมี 0 (ศูนย) แลวพิมพ M เพือ่ เลือก Multiple คลิกบน
เสนจุดที่ 1, 2, 3 และ 4 แลวคลิกขวา
53. จากรูปที่ 18.21 (ซาย) ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17
ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>:
คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim...
เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 5 และ 6 แลวคลิกขวา
เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first
fence point:... คลิกจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครั้ง เพื่อออกจากคําสัง่ จะ
ปรากฏดังรูปที่ 18.21 (ขวา)

Note ตอไปเราจะเริ่มเขียนประตูและหนาตาง จากแบบแปลนที่ปรากฏในรูปที่ 18.1 เราจะเห็นวาชุดประตู


และชุดหนาตางทั้งหมดมีรูปแบบที่คลายๆ กัน ยกเวนชุดหนาตางโคงเพียงชุดเดียวที่มีความแตกตาง
ดังนัน้ ผูเ ขียนจะแสดงขัน้ ตอนการสรางชุดประตูและชุดหนาตางโคงเทานัน้ สวนหนาตางอืน่ ทีม่ รี ปู แบบ
คลายๆ กับประตูนนั้ มีวธิ กี ารสรางเหมือนกัน ผูเ ขียนจึงจะไมแสดงขัน้ ตอนการสรางหนาตางทีม่ รี ปู แบบ
เหมือนประตูใหสิ้นเปลืองหนากระดาษ แตจะนําบล็อคหนาตางซึ่งไดสรางสําเร็จแลวมาใชงาน

54. เริ่มสรางประตู โดยกอนอืน่ ใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิกปุม สรางเลเยอรใหม


ชือ่ Frame สําหรับเก็บเสนวงกบประตูและวงกบหนาตาง โดยใชรหัสสี Color = 12 (สีเลือดหมู),
Linetype = Continuous, Lineweight = 0.18 mm. คลิกปุม สรางเลเยอรใหมชื่อ Door
สําหรับเก็บประตู โดยใชรหัสสี Color = Green (สีเขียว), Linetype = Continuous, Lineweight
= 0.25 mm. คลิกปุม สรางเลเยอรใหมชอื่ Window สําหรับเก็บหนาตาง โดยใชรหัสสี Color
= Green (สีเขียว), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.18 mm. คลิกบนเลเยอร Frame
แลวปุม กําหนดใหเลเยอร Frame เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) ดังรูปที่ 18.22

รูปที่ 18.22

55. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏ


ดังรูปที่ 18.23 (ซาย)

chap-18.PMD 563 13/10/2549, 1:38


564

รูปที่ 18.23

2D Drafting

56. จากรูปที่ 18.23 (ซาย) เริม่ เขียนเสนชัว่ คราว กําหนดแนวกรอบวงกบ โดยกอนอืน่ เปลีย่ นเลเยอร
0 (ศูนย) เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคูขนาน โดยใชคําสั่ง Modify4
Offset ตามวิธีในขอที่ 12 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... ใหแนใจวา
Layer = Current เพือ่ กําหนดใหเสนคูข นานยายเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน พิมพระยะหาง 0.6
หนวย เมื่อปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset...
คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 แลวคลิกขวา
เพือ่ ออกจากคําสัง่ คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET เมือ่ ปรากฏขอความ Specify
offset distance... พิมพระยะหาง 2 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset...
คลิกเสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 แลวคลิกขวา
เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.23 (ขวา)
57. จากรูปที่ 18.23 (ขวา) เริม่ เขียนกรอบวงกบ โดยเปลี่ยนเลเยอร เปน
เลเยอรใชงาน เขียนเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline

Command: _mline {จากรูปที่ 18.23 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Current settings: Justification = Top, Scale = 20.00, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: S {พิมพ S เพือ่ เลือกตัวเลือก Scale}
Enter mline scale <20.00>: 0.05 {พิมพ 0.05 เพือ่ กําหนดระยะหางระหวางเสน}
Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: {คลิกจุดที่ 1 }
Specify next point: {คลิกจุดที่ 2 }
Specify next point or [Undo]: {คลิกจุดที่ 3 }
Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกจุดที่ 4, 5, 6, 7, และ 8 }
Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }
Command: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ MLINE}
MLINE Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: {คลิกจุดที่ 9 }
{คลิกจุดที่ 10 }
Specify next point:
Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }
Command: {คลิกขวาหรือกดปุม
 Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ MLINE}
MLINE Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD
J {พิมพ J เพือ่ เลือกการจัดเสนขิดบน กลาง ลาง}
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]:
Enter justification type [Top/Zero/Bottom] <top>: Z {พิมพ Z เพือ ่ เลือกชิดกลาง}
Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: {คลิกจุดที่ 11 }

chap-18.PMD 564 13/10/2549, 1:38


565
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

Specify next point: {คลิกจุดที่ 12 }


Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่

58. ลบเสนตรงทัง้ 3 เสนทีถ่ กู สรางจากคําสัง่ OFFSET ในขอ 56 โดยใชคําสัง่ Modify4Erase


จะปรากฏดังรูปที่ 18.24 (ซาย)
รูปที่ 18.24

59. จากรูปที่ 18.24 (ซาย) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Object4Multiline จะปรากฏไดอะล็อค


Multilines Edit Tools ใหเลือก Open Tee เมือ่ ปรากฏขอความ Select first mline คลิกเสน
จุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Select first mline
คลิกเสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Select first mline
คลิกเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Select first mline
คลิกเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Select first mline
คลิกเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Select first mline
คลิกเสนจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 9 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
คลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ MLEDIT เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Multilines Edit Tools ใหเลือก Open
Cross เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏ Select second mline
คลิกเสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Select second mline
คลิกเสนจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.24 (ขวา)
60. จากรูปที่ 18.24 (ขวา) เริม่ เขียนบานประตู โดยเปลี่ยนเลเยอร เปน
เลเยอรใชงาน เขียนเสนคูข นาน โดยใชคาํ สัง่ Draw4Multiline

Command: _mline {จากรูปที่ 18.24 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: J {พิมพ J เพือ่ เลือกการจัดเสนขิดบน กลาง ลาง}
Enter justification type [Top/Zero/Bottom] <zero>: T {พิมพ T เพือ่ เลือกชิดบน}
Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: S {พิมพ S เพือ่ เลือกตัวเลือก Scale}
Enter mline scale <0.05>: 0.1 {พิมพ 0.1 เพือ่ กําหนดระยะหางระหวางเสน}
Current settings: Justification = Top, Scale = 0.15, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: {คลิกจุดที่ 1 }
Specify next point: {คลิกจุดที่ 2 }
Specify next point or [Undo]: {คลิกจุดที่ 3 }
Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกจุดที่ 4 }
Specify next point or [Close/Undo]: C {พิมพ C เพือ
่ เลือกตัวเลือก Close เพือ่ สรางเสนคูข นาน
แบบปดจะปรากฏดังรูปที่ 18.25 (ซาย)}

chap-18.PMD 565 13/10/2549, 1:38


566

รูปที่ 18.25

2D Drafting

61. จากรูปที่ 18.25 (ซาย) สงบานประตูไปอยูด า นหลังสุด โดยใชคําสัง่ Tools4Display Order4


Send to Back เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนเสนมัลติไลนตรงจุดที่ 1 แลว
คลิกขวา ดานซายและดานบนของบานประตูจะถูกเสนของวงกบปดบัง
62. จากรูปที่ 18.25 (ซาย) ระเบิดบานประตูมลั ติไลนใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใชคําสัง่ Modify
4Explode เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา

Note เหตุทตี่ อ งระเบิดเสนมัลติไลนใหเปนเสนตรงธรรมดาก็เพราะวา เสนมัลติไลนไมสามารถแบงออกเปน


สวนๆ ดวยคําสัง่ Draw4Point4Divide ซึง่ เราจะใชในการสรางคิว้ กระจกแบงบานประตูออก
เปน 5 สวน

63. จากรูปที่ 18.25 (ซาย) ตอเสนขอบในของบานประตูดา นทีต่ อ งการใชกบั คําสัง่ Draw4Point4


Divide โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen ตามวิธีในขอ 27 ใชระยะ DElta = 0.025
แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 และ 3 เพือ่ ใหเสนทีค่ วามยาวเพิม่ ขึน้ ดานละ 0.025 หนวย จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.25 (ขวา)

Note เหตุผลที่ตอ งตอเสนดังกลาวก็เพราะวา เราตองการสรางคิว้ กระจกแบงชองประตูออกเปน 5 สวนเทาๆ


กัน หากเราไมตอเสนในขอ 63 จะทําใหพื้นที่กระจกชองบนสุดและชองลางสุดมีพื้นที่มากกวาชอง
กระจก 3 ชองทีอ่ ยูต รงกลาง ซึง่ จะทําใหกระจกทัง้ 5 แผนมีขนาดไมเทากันจริง เพราะแผนบนสุดกับแผน
ลางสุดมีพื้นที่มากกวา เราสามารถนําเอาความหนาของคิ้วกระจก 0.05 มาหารดวย 2 ก็จะไดระยะที่
เราจะตองตอเสนดานบนและดานลางใหยาวเพิม่ ขึ้นเทากับ 0.025

64. จากรูปที่ 18.25 (ขวา) เขียนเสนคูข นานซึง่ จะใชเปนคิว้ กระจก โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline
เมื่อปรากฏขอความ Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: พิมพ J เพื่อเลือก
Justification พิมพ Z เพือ่ เลือก Zero เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point... พิมพ S เพือ่ เลือก
Scale พิมพคา 0.05 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point... เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4
คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ตรงจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify next point: เลือ่ น
เคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 คลิกซาย เมื่อปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.26 (ซาย)
65. จากรูปที่ 18.26 (ซาย) ใชคําสัง่ Format4Unit มีการเลือกหนวยวัด Meters ในแถบรายการ
Units to scale inserted contents แลวออกจากไดอะล็อค แลวแปลงเสนคิว้ กระจกใหเปนบล็อค
โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40
(ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค D1 ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกบนเสน
มัลติไลนตรงจุดที่ 1 แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุม เรดิโอ Delete ถูกเลือก

chap-18.PMD 566 13/10/2549, 1:38


567
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
รูปที่ 18.26

อยู คลิกบนปุม Pick Point ให แนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยัง
จุดที่ 2 คลิกซาย เมื่อปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 2 ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย บน
เช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK คิว้ กระจก
จะถูกแปลงเปนบล็อคและถูกลบออกจากพืน้ ทีว่ าดภาพ
66. จากรูปที่ 18.26 (ซาย) แบงเสนขอบบานประตูออกเปน 5 สวนเทาๆ กัน โดยใชบล็อค D1 ที่ถกู
สรางในขอทีแ่ ลวเปนตัวแบง โดยใชคําสัง่ Draw4Point4Divide

Command: _divide {จากรูปที่ 18.26 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะปด}


Select object to divide:{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 }
Enter the number of segments or [Block]: B {พิมพ B เพือ ่ เลือกตัวเลือก Block}
Enter name of block to insert: D1 {พิมพชอ ื่ บล็อค D1}
Align block with object? [Yes/No] <Y>: N {พิมพตวั เลือก N }
Enter the number of segments: 5 {พิมพจํานวนเซกเมนต 5 สวน จะปรากฏดังรูปที่ 18.26 (ขวา)}

67. จากรูปที่ 18.26 (ขวา) ลดความยาวเสนขอบในของบานประตูใหมคี วามยาวเทาเดิม โดยใชคาํ สัง่


Modify4Lengthen ตามวิธใี นขอ 27 ใชระยะ DElta = -0.025 แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 4
และ 5 เสนขอบบานประตูจะมีความยาวเทาเดิม แลวคลิกขวา
68. จากรูปที่ 18.26 (ขวา) คัดลอกคิว้ กัน้ กระจกทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Modify4Copy ตามวิธี
ในขอ 43 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 6 และ 7 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing
แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา #อยูใ นสถานะเปด
คลิกจุดที่ 8 เมื่อปรากฏขอความ Specify second point... คลิกบนปุม (Perpendicular)
แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 9 จะปรากฏดังรูปที่ 18.27 (ซาย)
69. จากรูปที่ 18.27 (ซาย) ระเบิดคิว้ กั้นกระจกและกรอบวงกบใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใช
คําสัง่ Modify 4Explode เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือก
วัตถุแบบ Crossing เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกเสนตรงจุดที่ 3 แลวคลิกขวา
70. จากรูปที่ 18.27 (ซาย) ตัดเสนคิว้ กระจกทีย่ น่ื ออกไปนอกวงกบ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim
ตามวิธใี นขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects
or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to
trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 4 และ 5 แลว
คลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพื่อออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.27 (ขวา)

chap-18.PMD 567 13/10/2549, 1:38


568

รูปที่ 18.27

2D Drafting

71. จากรูปที่ 18.27 (ขวา) แชแข็งเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ


เลเยอร Frame จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน แลวกําหนดใหเลเยอร Door เปนเลเยอรใชงาน
จะปรากฏดังรูปที่ 18.28 (ซาย)

รูปที่ 18.28

72. จากรูปที่ 18.28 (ซาย) คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror

Command: _mirror {จากรูปที่ 18.28 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify first point of mirror line: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร }
Specify second point of mirror line: {เลือนเคอรเซอรไปยั
่ งจุดที่ 4 คลิกซาย เมือปรากฏมาร
่ คเกอร }
Erase source objects? [Yes/No] <N>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

73. ละลายเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Frame จนกระทัง่


ไอคอนปรากฏเปน แลวกําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน
จะปรากฏดังรูปที่ 18.28 (ขวา)

Note หลังจากที่ใชคําสั่ง MIRROR แลว การปรากฏของวัตถุอาจจะไมถูกตอง วัตถุที่ถูกสรางใหมจะถูก


กําหนดใหอยูดา นหนา เราสามารถสงวัตถุที่ถูกอยูดานหนาไปอยูดา นหลังดังนี้

74. จากรูปที่ 18.28 (ขวา) ใชคําสัง่ Tools4Display Order4Send to Back คลิกบนเสนจุดที่


5, 6 และ 7 แลวคลิกขวา เสนทัง้ สามจะถูกสงไปอยูด า นหลังของเสนวงกบ
75. เปลีย่ นเลเยอรใหกบั คิว้ กระจก โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกจุดที่
8 และ 9, 10 และ 11 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing จนกระทัง่ ปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงิน เลือกเลเยอร
จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D

chap-18.PMD 568 13/10/2549, 1:38


569
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
76. แชแข็งเลเยอร และเลเยอร โดยคลิกบน
ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว
กําหนดใหเลเยอร Door เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 18.29 (ซาย)

รูปที่ 18.29

77. จากรูปที่ 18.29 (ซาย) แปลงชุดประตูใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make


จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค Door ในแถบรายการ
Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window
แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู
คลิกบนปุม Pick Point ให แนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่
3 เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ตรงจุดที่ 3 คลิกซาย ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ
Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK ชุดประตูจะถูกแปลงเปน
บล็อคสามารถนําไปใชงานในตําแหนงอื่นๆ ในไฟลแบบแปลนใชงานและยังสามารถนําไป
ใชงานในไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ไดอยางสะดวก
78. ละลายเลเยอร และเลเยอร โดยคลิกบน
ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว
กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน
79. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.29 (ขวา)

Note ตอไปเราจะเริ่มเขียนสวนประกอบของหนาตางโคงซึ่งอยูเหนือประตูหนาบานที่เราไดสรางเสร็จแลว
โดยจะตองสร างเสนกําหนดขอบเขตใหพอดีกับ กรอบวงกบ โดยใช คําสั่ ง Modify 4Offset
เมือ่ กําหนดขอบเขตแลว จึงใชคําสัง่ Draw4 Boundary เพือ่ สรางเสนขอบนอกสุดของกรอบวงกบ
แลวใชคําสั่ง Modify4Offset สราง เสนคูข นานเปนเสนขอบในของวงกบ เราไมสามารถใชคําสัง่
Draw4Multiline กับหนาตางโคงชุด นีไ้ ด เนือ่ งจากมัลติไลนไมสามารถเขียนสวนโคง จึงจําเปนตอง
ใชคําสั่ง Modify4Offset แทน

80. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏ


ดังรูปที่ 18.30 (ซาย)
รูปที่ 18.30

chap-18.PMD 569 13/10/2549, 1:38


570

81. จากรูปที่ 18.30 (ซาย)ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน


คูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เมือ่
ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.2 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ
2D Drafting
Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to
offset... ปดโหมด # คลิกจุดที่ 2 ในบรรทัด เมื่อปรากฏขอความ Select object to
offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.30 (ขวา)
82. จากรูปที่ 18.30 (ขวา) สรางเสนขอบนอกของวงกบจากพืน้ ทีช่ อ งวางแบบปดทีเ่ ตรียมไว ใหแนใจ
วาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Draw4Boundary
เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation ใหแนใจวาปรากฏ Polyline ในแถบรายการ Object
type คลิกบนปุม Pick Point แลวคลิกบนพืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 3 ขอบเขตจะกลายเปนเสนประ
แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ BOUNDARY created 1 polyline เสนโพลีไลนขอบนอกสุดของ
วงกบจะถูกสรางขึน้ ซอนทับอยูก บั เสนขอบเขตเดิมพอดี
83. จากรูปที่ 18.30 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน
คูขนาน โดยใชคําสั่ง Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current
เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.05 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ
Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 4 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to
offset... ปดโหมด # คลิกจุดที่ 3 ในบรรทัด เมื่อปรากฏขอความ Select object to
offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.31 (ซาย)

รูปที่ 18.31

84. จากรูปที่ 18.31 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน


คูขนาน โดยใชคําสั่ง Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current
เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.5 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ
Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to
offset... ปดโหมด # คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... แลว
คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.31 (ขวา)
85. จากรูปที่ 18.31 (ขวา) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset
distance... กําหนดระยะหาง 0.05 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบน
เสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวา
เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.32 (ซาย)

รูปที่ 18.32

chap-18.PMD 570 13/10/2549, 1:38


571
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
86. จากรูปที่ 18.32 (ซาย) ยืดกรอบวงกบดานลางลงในแนวดิง่ ที่ระยะ 0.15 หนวย โดยใชคําสั่ง
Modify4Stretch

Command: _stretch {จากรูปที่ 18.32 (ซาย) ใหแนใจวา # และ ) อยูใ น


สถานะเปด}
Select objects to stretch by crossing-window or crossing-polygon...
Select objects: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing }
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify base point or [Displacement] <Displacement>: {คลิกจุดที่ 3 หรือคลิก ณ จุดใดๆ)
Specify second point or <use first point as displacement>: 0.15 {เลือ ่ นเคอรเซอรลงใน
แนวดิง่ แลวพิมพ 0.15 แลวกดปุม Q กรอบวงกบจะถูกยืดดังรูปที่ 18.32 (ขวา)}

Note หากเราพิมพ 0.15 แลวกดปุม Q แลวปรากฏวากรอบวงกบไมถกู ยืด เราจะตองปดโหมด Dynamic


Input โดยกดปุม ฟงชั่นคีย +

87. จากรูปที่ 18.32 (ขวา) เริม่ เขียนกรอบวงกบในแนวดิง่ โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline

Command: _mline {จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Current settings: Justification = Top, Scale = 20.00, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: S {พิมพ S เพือ่ เลือกตัวเลือก Scale}
Enter mline scale <20.00>: 0.05 {พิมพ 0.05 เพือ่ กําหนดระยะหางระหวางเสน}
Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: J {พิมพ J เพือ่ จัดเสนขิดบน กลาง ลาง}
Enter justification type [Top/Zero/Bottom] <top>: Z {พิมพ Z เพือ่ เลือกชิดกลาง}
Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 คลิกซาย
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร }
Specify next point: {เลือ
่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร }
Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่

88. จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ระเบิดเสนโพลีไลนใหกลายเปนเสนตรงเสนโคงธรรมดา โดยใชคําสั่ง


Modify4Explode โดยคลิกบนเสนวงกบจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา
89. จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ตอเสน โดยใชคําสั่ง Modify4Extend

Command: _extend {จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะปด}


Current settings: Projection=UCS, Edge=None
Select boundary edges ... {เลือกเสนขอบเขต}
Select objects or <select all>: {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบเขตโดยอัตโนมัต}ิ
Select object to extend or shift-select to trim or
[Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: {คลิกบนปลายเสนตรงจุดที่ 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14}
Select object to extend or shift-select to trim or
[Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
จะปรากฏดังรูปที่ 18.33 (ซาย)}

chap-18.PMD 571 13/10/2549, 1:38


572

รูปที่ 18.33

2D Drafting

90. จากรูปที่ 18.33 (ซาย) เริม่ เขียนกรอบวงกบเอียง 135 องศา โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline

Command: _mline {จากรูปที่ 18.33 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD {ใหแนใจวา
Justification = Zero และ Scale = 0.05 ซึง่ เปนคาทีใ่ ชงานในครัง้ กอน}
Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 คลิกซาย
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร }
Specify next point: @2<135 {พิมพรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @2<135 แลวกดปุม  Q}
Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

91. จากรูปที่ 18.33 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ MLINE หรือใชคําสัง่ Draw4Multiline เขียน
กรอบวงกบเอียงทํามุม 45 องศา ตามวิธใี นขอ 90 โดยเลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 คลิกซาย
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร พิมพรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @2<45 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่
18.33 (ขวา)
92. จากรูปที่ 18.33 (ขวา) ตัดเสนที่ไมตองการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17
เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนจุดที่ 3 และ 4 เพือ่ กําหนดเปน
เสนขอบตัด เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกบนเสนมัลติไลนจดุ ที่ 5, 6, 7 และ
8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.34 (ซาย)

รูปที่ 18.34

93. จากรูปที่ 18.34 (ซาย) ตัดเสนทีไ่ มตองการชวงรอยตอตางๆ ของวงกบ โดยใชคําสัง่ Modify4


Trim ตามวิธใี นขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่
ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกตามจุด
รอยตอตางๆ แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.34 (ขวา)

Note หากเราไมสามารถตัดเสนมัลติไลนตรงจุดใดได เราจะตองใชคําสัง่ Modify4Explode เพือ่ ระเบิด


เสนมัลติไลนเสนนั้นให เปนเสนตรงธรรมดาเสียกอน จึงจะสามารถตัดเสนตอไปได

Note ในขณะที่ปรากฏขอความ Select object to trim... เราอาจจะตองใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime


เพือ่ ขยายชองรอยตอของวงกบใหมีขนาดใหญเพียงพอทีเ่ ราจะสามารถคลิกในตําแหนงทีถ่ ูกตอง

chap-18.PMD 572 13/10/2549, 1:38


573
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

Note ตอไปสรางบานหนาตางโคง โดยกอนอื่น เราจะตองรวมเสนตางๆ ใหกลายเปนเสนโพลีไลนเสนเดียว


เสียกอน เพื่อใหสามารถใชคําสั่ง Modify4Offset สรางเสนคูขนานบานหนาตางในครั้งเดียวได
โดยที่ไมตอง Offset หลายๆ ครั้งและจะไดไมตองเสียเวลาตัดเสนอีกดวย

94. จากรูปที่ 18.34 (ขวา) รวมเสนตางๆ ของวงกบของบานหนาตางดานซายใหกลายเปนเสน


โพลีไลน โดยใชคําสัง่ Modify4Object4Polyline เมือ่ ปรากฏขอความ Select polyline
คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Object selected is not a polyline Do you want to
turn it into one? <Y> ใหกดปุม Q เพือ่ แปลงเสนที่ถกู เลือกใหเปนโพลีไลน เมื่อปรากฏ
ขอความ Enter an option [Close/Join/Width/Edit vertex/Fit/Spline/Decurve/Ltype gen/
Undo]: ใหพมิ พตวั เลือก J เพือ่ รวมเสนตางๆ ใหเปนโพลีไลนเสนเดียวกัน เมือ่ ปรากฏขอความ
Select objects: คลิกบนเสนจุดที่ 2, 3, 4 แลวคลิกขวา 2 ครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่
95. จากรูปที่ 18.34 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวสราง
เสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current
เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.1 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ
Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to
offset... ปดโหมด # คลิกจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... แลว
คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.35 (ซาย)

รูปที่ 18.35

96. จากรูปที่ 18.35 (ซาย) คัดลอกบานหนาตางแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror


ตามวิธใี นขอ 72 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกบนเสนโพลีไลนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา
เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ
มารคเกอร คลิกซาย Specify second point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Erase source objects? [Yes/No] <N>:
คลิกขวาหรือกดปุม Q เพื่อออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.35 (ขวา)
97. แชแข็งเลเยอร และเลเยอร โดยคลิกบน
ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว
กําหนดใหเลเยอร Door เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 18.36 (ซาย)

รูปที่ 18.36

chap-18.PMD 573 13/10/2549, 1:38


574

98. จากรูปที่ 18.36 (ซาย) แปลงชุดหนาตางใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make


จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค Window ในแถบรายการ
Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window
2D Drafting
แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู
คลิกบนปุม Pick Point ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่
3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 3 คลิกซาย ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ
Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK ชุดหนาตางจะถูก
แปลงเปนบล็อคสามารถนําไปใชงานในตําแหนงอืน่ ๆ ในไฟลแบบแปลนใชงานและยังสามารถ
นําไปใชงานใน ไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ไดอยางสะดวก

Note กอนแปลงหนาตางใหเปนบล็อค ตองแนใจวา Meters ปรากฏในแถบรายการ Units to scale inserted


contents ในคําสั่ง Format4Unit มิฉะนั้น หนาตางจะเปลี่ยนสเกลซึ่งทําใหขนาดที่ปรากฏไมถูกตอง

Note หลังจากที่ แปลงหนาตางเป นบล็อคแล ว เราจะไมสามารถมองเห็นการเปลี่ ยนแปลงบนเสนสวน


ประกอบตางๆ ของชุดหนาตางโคง ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใชเมาสคลิกบน
เสนสวนประกอบของหนาตาง หากปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงินเพียงจุดเดียวและเสนสวนประกอบทัง้ หมด
เปนเสนประ แสดงวาถูกตอง

99. ละลายเลเยอร และเลเยอร โดยคลิกบน


ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว
กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน
100. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.36 (ขวา)

Note ตอไปเราจะนําบล็อคหนาตางจากไฟลแบบแปลน .dwg อืน่ ทีส่ รางเสร็จแลว เขามาใชงานในแบบแปลน


โดยใช DesignCenter เปนเครือ่ งมือชวยในการสอดแทรกบล็อคหนาตาง แตกอนอื่น เราจะตองตีเสน
คูข นานกําหนดแนวในการสอดบล็อคหนาตางเสียกอน เพือ่ ใหมีจดุ ทีจ่ ะใชออฟเจกทสแนปกับจุดสอด
แทรกของบล็อคได

101. จากรูปที่ 18.36 (ขวา) สรางเสนคูข นานชัว่ คราว โดยใชคาํ สัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่
12 เมือ่ ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.2 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select
object to offset... คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 6
เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่
OFFSET เมื่อปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 1.35 หนวย เมื่อปรากฏ
Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่
6 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่
รูปที่ 18.37 OFFSET เมื่อปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.75 หนวย เมื่อปรากฏ
Select object to offset... คลิกเสนจุดที่
5 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to
offset... คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Select
object to offset... แลวคลิกขวา เพื่อ
ออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่
OFFSET เมื่อปรากฏ Specify offset
distance... กําหนดระยะหาง 1.1 หนวย
เมื่อปรากฏ Select object to offset...

chap-18.PMD 574 13/10/2549, 1:38


575
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
คลิกเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to
offset... คลิกจุดที่ 6 เมื่อปรากฏ Select object to
offset... แลวคลิกขวา จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.37
102. จากรูปที่ 18.37 สอดแทรกบล็อคจากไฟลแบบแปลน
อื่น โดยใชคําสั่ง Tools4DesignCenter จะ
ปรากฏหน าต า ง DesignCenter ขึ้ นมาบนพื้ น ที่
วาดภาพดังรูปที่ 18.38 ใหแนใจวาแถบ Folders ถูก
เลือก แลวคนหาไฟล 18-575-38-1.dwg จากโฟลเดอร
รูปที่ 18.38 \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื
เลมนี้ คลิกบนหัวขอ Blocks จะปรากฏบล็อคไอคอน
WinType1 และ WinType2 บนชองหนาตางทางดาน ขวา ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะ
เปด เปลี่ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกและลากบล็อค
ไอคอน Wintype1 ไปปลอยบนพื้นทีว่ าดภาพตรงจุดที่ 1 และจุดที่ 2 แลวคลิกและลากบล็อค
ไอคอน Wintype2 ไปปลอยบนพืน้ ทีว่ าดภาพตรงจุดที่ 3
103. จากรูปที่ 18.37 ตัดเสน โดยใชคําสั่ง
Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17
รูปที่ 18.39 ใหแ นใ จว
า OSNAP # อยูใ นสถานะ
ปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects
or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัด
จุดที่ 4, 5, 6 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ
ขอความ Select object to trim ...
คลิกจุดที่ 6, 7, 8 และ 9 แลวคลิกขวา
แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่
104. จากรูปที่ 18.37 ลบเสนคูข นานชัว่ คราวทีส่ รางในขอที่ 101 ทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Modify4Erase
จะปรากฏดังรูปที่ 18.39
105. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏ
รูปที่ 18.40 ดังรูปที่ 18.40 (ซาย)

Note ตอไปเราจะแตงขอบปูนปน บริเวณหนาตางชัน้ บนทัง้ สองบานดังนี้

106. จากรูปที่ 18.40 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอรใชงานเปนเลเยอร เขียนเสน


มัลติไลน โดยใชคาํ สัง่ Draw4Multiline ตามวิธใี นขอ 87 พิมพ J เพือ่ เลือก Justification พิมพ
T เพือ่ เลือก Top (ชิด ดานบน) พิมพ S เพือ่ เลือก Scale กําหนดคา 0.1 ใหแนใจวา #
อยูใ นสถานะเปด คลิกเมือ่ ปรากฏ ตรงจุดที่ 1 คลิกบนปุม (Perpendicular) แลวคลิกเมือ่
ปรากฏ ตรงจุดที่ 2 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 3 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 4 คลิกขวา
เพื่อออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสั่ง MLINE คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 5 คลิกเมื่อ
ปรากฏ ตรงจุดที่ 6 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 7 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 8 คลิกขวา
เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.40 (ขวา)

chap-18.PMD 575 13/10/2549, 1:38


576

107. จากรูปที่ 18.40 (ขวา) ระเบิดเสนมัลติไลนใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใชคําสั่ง Modify


4Explode เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา
2D Drafting
108. จากรูปที่ 18.40 (ขวา) ตัดเสนทีไ่ มตอ งการชวงรอยตอตางๆ ของปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4
Trim ตามวิธใี นขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่
ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกตามจุด
รอยตอตางๆ แลวคลิกขวา เพื่อออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.41 (ซาย)

รูปที่ 18.41

109. จากรูปที่ 18.41 (ซาย) ขยายภาพขอบปูนปน ชวงทีท่ บั ซอนกับชุดหนาตาง โดยใชคําสัง่ View4


Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.41 (ขวา)

Note จากรูปที่ 18.41 เราจะเห็นวามีเสนสวนประกอบของบล็อคหนาตาง WinType2 ซอนทับกับขอบปูนปน


อันทีจ่ ริง เราจะตองไมใหเสนสวนประกอบของบล็อคหนาตางทีถ่ กู ปูนปน ทับซอนปรากฏ ซึง่ ทําใหเรา
จะตองตัดเสนสวนประกอบของบล็อคออกไป แตถาเราจะตัดเสนของบล็อค เราก็จะตองระเบิดบล็อค
ออก แลวจึงจะสามารถตัดเสนสวนประกอบของบล็อคได แตการระเบิดบล็อคและตัดเสนนัน้ เปนวิธที ี่
ใชงานในรีลีสกอนซึง่ ยังไมมี Wipeout ดังนัน้ ในทีน่ ี้ เราจะใช Wipeout ชวยในการปดบังสวนประกอบ
ของบล็อคเฉพาะในสวนทีถ่ กู ขอบปูนปน ทับซอน เพือ่ ไมใหสามารถมองเห็นหรือปรากฏบนเครือ่ งพิมพ
โดยทีเ่ ราไมจําเปนตองระเบิดบล็อค เพราะการระเบิดบล็อคจะทําใหขนาดไฟลแบบแปลนใหญมากขึน้

110. เปลีย่ นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางไวบเอาทโดยใชคําสัง่ Draw


4Wipeout

Command: _wipeout Specify first point or [Frames/Polyline] <Polyline>: {จากรูปที่


18.41 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิกตรงจุดที่ 3}
Specify next point: {คลิกตรงจุดที่ 4}
Specify next point or [Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 5}
Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 6, 7 และ 8}
Specify next point or [Close/Undo]: C {พิมพ C เพือ่ ปดไวบเอาท จะปรากฏดังรูปที่ 18.42 (ซาย)}

รูปที่ 18.42

chap-18.PMD 576 13/10/2549, 1:38


577
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

Note เนือ่ งจากไวบเอาทที่ถกู สรางใหมจะอยูห นาสุด ซึง่ จะทําใหปดบังทั้งเสนขอบปูนปนและปดบังบล็อค


หนาตางดวย แตเราไมตอ งการไวบเอาทปด บังเฉพาะบล็อคหนาตาง แตไมปด บังเสนขอบปูนปน ดังนัน้
เราจะตองจัดลําดับการปรากฏหนาหลังของวัตถุดงั นี้

111. จากรูปที่ 18.42 (ซาย) ใชคาํ สัง่ Tools4Display Order4Bring Above Object เมือ่ ปรากฏ
ขอความ Select objects: คลิกบนไวบเอาทตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select
reference objects: คลิกบนเสนสวนประกอบของบล็อคหนาตางตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวา
จะปรากฏดังรูปที่ 18.42 (กลาง)
112. ซอนเสนขอบของไวบเอาท โดยใชคําสัง่ Draw 4Wipeout เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first
point or [Frames/Polyline] <Polyline>: พิมพตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Enter mode
[ON/OFF] <ON>: พิมพตวั เลือก OFF เสนขอบไวบเอาทจะถูกซอนดังรูปที่ 18.42 (ขวา)
113. ตอไปกอนทีเ่ ราจะสรางหลังคา เราควรใชคาํ สัง่ View4Zoom4Extents แลวตรวจสอบสวน
ประกอบตางๆ ของชิ้นงาน แลวหาจุดทีย่ ังตัดเสนไมครบถวน แลวใชคําสั่ง Modify4Trim
ตัดเสนใหครบถวน จนกระทัง่ ปรากฏดังรูปที่ 18.43

รูปที่ 18.43

114. ตอไปเริม่ เขียนสวนประกอบของหลังคา โดยกอนอืน่ สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสัง่ Format4


Layer แลวคลิกบนปุม สรางเลเยอรใหมชื่อ Roof รหัสสี Color = 82 (สีเขียวแก),
Linetype = Continuous, Lineweight = 0.25 mm. เพือ่ เก็บเสนตางๆ ของหลังคา แลวคลิกบนปุม
กําหนดใหเลเยอร Roof เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) แลวละลายเลเยอร CenterLine
โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร CenterLine จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.44 (ซาย) เมือ่ ออกจากไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 18.44 (ขวา)

รูปที่ 18.44

115. จากรูปที่ 18.44 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอรใหกบั เสน โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่
ใดๆ คลิกเสนตรงจุดที่ 1 ใหปรากฏจุดกริ๊ปส เลือกเลเยอร จากแถบ
รายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เสนตรงทีถ่ ูกเลือกจะยายไปอยูใ นเลเยอร Roof

chap-18.PMD 577 13/10/2549, 1:38


578

116. จากรูปที่ 18.44 (ขวา) สรางเสนคูขนาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12


ใหแนใจวา Layer = Current เมื่อปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 1.15
หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side
2D Drafting
to offset... คลิกจุดที่ 3 เมื่อปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 4 เมื่อปรากฏ
Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 5 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
117. คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET ตามวิธีในขอที่ 12 สรางเสนคูข นาน 4 เสน ทีร่ ะยะหาง 0.05,
0.15 , 3.1, 3.15 หนวย โดยใชเสนจุดที่ 1 ในบรรทัด Specify point on side to offset... แลว
ใชจดุ ที่ 6 ในบรรทัด Specify point on side to offset...
118. แชแข็งเลเยอร โดยคลิกบน ไอคอน ของเลเยอร CenterLine
จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน แลวกําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอร
ใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 18.45 (ซาย)

รูปที่ 18.45

119. จากรูปที่ 18.45 (ซาย) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17 เมื่อปรากฏ


ขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ
เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... พิมพตวั เลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first
fence point:... คลิกจุดที่ 1-2 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select object to trim... พิมพตวั เลือก F
เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 3-4 แลวคลิกขวา พิมพ R เพือ่ เลือก
ตัวเลือก eRase แลวคลิกบนเสนจุดที่ 5 และ 6 แลวคลิกขวา เสนที่ 5 และ 6 จะถูกลบทิง้ ไป
แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่
120. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ขยายภาพ
ชายหลังคาดานซายใหปรากฏดังรูปที่ 18.45 (ขวา)
121. จากรูปที่ 18.45 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา #
อยูใ นสถานะเปด คลิกปลายเสนตรงจุดที่ 7 แลวพิมพรีเลทีฟโพลารคอรออรดเิ นท @0.5<135
แลวออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.46 (1)

รูปที่ 18.46
(1) (2) (3) (4)

122. จากรูปที่ 18.46 (1) สรางเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 เมือ่
ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.03 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to
offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ
Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.46 (2)

chap-18.PMD 578 13/10/2549, 1:38


579
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
123. จากรูปที่ 18.46 (2) ตอเสน โดยใชคําสั่ง Modify4Extend ตามวิธีในขอ 89 เมื่อปรากฏ
ขอความ Select boundary edges ... Select objects or <select all>: คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3
แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to extend... คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 และ 5
แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.46 (3)
124. จากรูปที่ 18.46 (3) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17 เมื่อปรากฏ
ขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ
ขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา
125. จากรูปที่ 18.46 (3) ตัดเสนตอไป โดยคลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสั่ง TRIM ตามวิธใี นขอ 17 เมื่อ
ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดย
อัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 9 แลวคลิกขวา จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.46 (4)
126. จากรูปที่ 18.46 (4) ตอเสน โดยใชคําสั่ง Modify4Lengthen ตามวิธีในขอ 27 ใชระยะ
DElta = 0.05 แลวคลิกเสนจุดที่ 10 (1 ครัง้ เทานัน้ ) แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.47 (ซาย)

รูปที่ 18.47

127. จากรูปที่ 18.47 (ซาย) คัดลอกชายหลังคา ใหมีระยะหางจากขอบเสาไปทางซายเทากับ 0.6


หนวย โดยใชคําสัง่ Modify4Copy

Command: _copy {จากรูปที่ 18.47 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify base point or [Displacement] <Displacement>: {คลิกจุดที่ 3}
Specify second point or <use first point as displacement>: {คลิกบนปุม  (From) }
Base point: {คลิกจุดที่ 4} <Offset>: {ปอนคารีเลทีฟโพลาคอรออรดเิ นท @0.5<180 แลวกดปุม
 Q}
Specify second point or [Exit/Undo]<Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.47 (ขวา)}

Note หากใชคําสัง่ นีแ้ ลวไมสามารถคัดลอกวัตถุไปยังตําแหนงทีถ่ ูกตอง เราจะตองตรวจสอบคําสัง่ Tools4


Options ในแถบคําสัง่ User Preferences วาปุม เรดิโอ Keyboard entry except scripts ถูกเลือกอยูห รือไม
หากปุม เรดิโอ Running object snap ถูกเลือก การใชออฟเจกทสแนป From จะทํางานผิดพลาด

128. จากรูปที่ 18.47 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา #


อยูในสถานะเปด คลิกปลายเสนตรงจุดที่ 10 แลวพิมพรเี ลทีฟโพลารคอรออรดิเนท @7<35
แลวออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.48 (ซาย)
รูปที่ 18.48

chap-18.PMD 579 13/10/2549, 1:38


580

129. จากรูปที่ 18.48 (ซาย) สรางเสนคูขนาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12


เมือ่ ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.05 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object
to offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ
2D Drafting
Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.48 (ขวา)
130. จากรูปที่ 18.48 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา #
อยูใ นสถานะเปด คลิกปลายเสนตรงจุดที่ 3 และ 4 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.49 (ซาย)
รูปที่ 18.49

131. จากรูปที่ 18.49 (ซาย) สรางสวนโคงฟลเลท โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet เมือ่ ปรากฏขอความ


Select first object... พิมพ R เพื่อเลือก Radius เมื่อปรากฏขอความ Specify fillet radius...
กําหนดรัศมีเทากับ 0.05 เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ
ขอความ Select second object... คลิกเสนจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.49 (กลาง)
132. จากรูปที่ 18.49 (กลาง) คัดลอกเสน
ขอบหลังคา โดยใชคําสั่ง Modify4
รูปที่ 18.50 Copy ตามวิธีในขอ 43 เมื่อ
ปรากฏขอความ Select objects คลิก
จุดที่ 1, 2 และ 3 แลวคลิกขวา เมื่อ
ปรากฏข อ ความ Specify base
point... ใหแนใจวา # อยูใ น
สถานะเปด คลิกจุดที่ 4 เมื่อปรากฏ
ขอความ Specify second point...
คลิ กตรงจุ ดที่ 5 แล วคลิ กขวา จะ
ปรากฏดังรูปที่ 18.49 (ขวา)
133. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ขยายภาพ
ใหปรากฏดังรูปที่ 18.50
134. จากรูปที่ 18.50 คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror

Command: _mirror {จากรูปที่ 18.50 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing}
Select objects: {คลิกจุดที่ 3 และ 4 เพือ
่ เลือกวัตถุเพิม่ เติมแบบ Window}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify first point of mirror line: M2P {พิมพ M2P เพือ ่ หาจุดกึง่ กลางระหวางจุด 2 จุด}
First point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมื่อปรากฏ หรือ คลิกซาย}
Second point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมื่อปรากฏ หรือ คลิกซาย}
Specify second point of mirror line: {ใหแน ใจวา * ) อยูในสถานะเปด
เลื่อนเคอรเซอรขึ้นในแนวดิ่งไปยังประมาณจุดที่ 8 แลวคลิกซาย }
Erase source objects? [Yes/No] <N>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

135. จากรูปที่ 18.50 คัดลอก วัตถุแบบพลิกกลับตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET หรือ


ใชคําสัง่ Modify4Mirror

chap-18.PMD 580 13/10/2549, 1:38


581
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

Command: _mirror {จากรูปที่ 18.50 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing}
Select objects: {คลิกจุดที่ 3 และ 4 เพือ
่ เลือกวัตถุเพิม่ เติมแบบ Window}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify first point of mirror line: M2P {พิมพ M2P เพือ ่ หาจุดกึง่ กลางระหวางจุด 2 จุด}
First point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมื่อปรากฏ หรือ คลิกซาย}
Second point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 7 เมื่อปรากฏ หรือ คลิกซาย}
Specify second point of mirror line: {ใหแน ใจวา * ) อยูในสถานะเปด
เลื่อนเคอรเซอรขึ้นในแนวดิ่งไปยังประมาณจุดที่ 9 แลวคลิกซาย }
Erase source objects? [Yes/No] <N>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.51}

136. จากรูปที่ 18.51 ตัดเสนให


บรรจบกั น โดยใช คํ า สั่ ง
Modify4Fillet ตามวิธใี น
ขอ 26 เมื่อปรากฏขอความ
รูปที่ 18.51 Select first object... พิมพ R
เพือ่ เลือก Radius เมือ่ ปรากฏ
ข อ ความ Specify fillet
radius... กําหนดรัศมีเทากับ
0 (ศูนย) เมือ่ ปรากฏขอความ
Select first object... พิมพ M
เพือ่ เลือก Multiple เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... คลิกเสนจุดที่ 1-2, 3-4, 5-6, 7-8
แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.52

รูปที่ 18.52

137. จากรูปที่ 18.52 ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select
object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 2 และ 3 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
138. จากรูปที่ 18.52 คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror

Command: _mirror {จากรูปที่ 18.52 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: {คลิกจุดที่ 4 และ 5 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing}
Select objects: {คลิกจุดที่ 6 และ 7 เพือ
่ เลือกวัตถุเพิม่ เติมแบบ Window}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}

chap-18.PMD 581 13/10/2549, 1:38


582

Specify first point of mirror line: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดกึ่งกลางของเสนประมาณจุดที่ 8 เมื่อ


ปรากฏ คลิกซาย}
Specify second point of mirror line: {ใหแนใจวา *
2D Drafting
) อยูในสถานะเปด
เลื่อนเคอรเซอรขึ้นในแนวดิ่งไปยังประมาณจุดที่ 9 แลวคลิกซาย }
Erase source objects? [Yes/No] <N>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.53}

รูปที่ 18.53

139. จากรูปที่ 18.53 ตัดเสนใหบรรจบกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet ตามวิธีในขอ 26 เมื่อ


ปรากฏขอความ Select first object... พิมพ R เพือ่ เลือก Radius เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify
fillet radius... กําหนดรัศมีเทากับ 0 (ศูนย) เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... พิมพ M
เพือ่ เลือก Multiple เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... คลิกเสนจุดที่ 1-2, 3-4 แลวคลิกขวา
140. จากรูปที่ 18.53 ตอเสน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Extend ตามวิธใี นขอ 89 เมือ่ ปรากฏขอความ
Select boundary edges ... Select objects or <select all>: คลิกขวาเพือ่ ใหโปรแกรมเลือก
ขอบเขตในการตอเสนโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to extend... คลิกเสน
จุดที่ 5 สองครัง้ และคลิกเสนจุดที่ 6 สองครัง้ แลวคลิกขวา

Note หากไมสามารถตอเสนจนสุดปลายหลังคาได ในขณะที่ปรากฏขอความ Select object to extend...


ใหพิมพ E เพื่อเลือก Edge เลือกพิมพ E เพื่อเลือก Extend เราจะสามารถตอเสนจนสุดปลายหลังคาได

141. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents จะปรากฏ


ดังรูปที่ 18.54
รูปที่ 18.54

Note ตอไปเราจะระบายลวดลายแฮทชของหลังคากระเบื้องซีแพคโมเนีย แตใน AutoCAD ไมมีลวดลาย


ดังกลาวใหเลือกใชงาน ดังนั้น เราจึงตองสรางลวดลายแฮทชกระเบือ้ งซีแพคขึ้นมาใชงานดวยตนเอง

chap-18.PMD 582 13/10/2549, 1:38


583
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
142. สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิกบนปุม ตัง้ ชือ่ เลเยอรใหมคอื
Cpac รหัสสี Color = 60 (สีเขียวออน), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.13 mm. เพือ่
เก็บเสนตางๆ ของกระเบือ้ งซีแพค แลวคลิกบนปุม กําหนดใหเลเยอร Cpac เปนเลเยอร
ใชงาน(Current layer) จะปรากฏดังรูปที่ 18.55
รูปที่ 18.55

143. ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน เขียนเสนตรง ณ ตําแหนงใดๆ บนพืน้ ที่


วางของพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ Draw4Line

Command: _line Specify first point: {คลิก ณ จุดใดๆ บนพืน้ ทีว่ าดภาพ}
Specify next point or [Undo]: {พิมพ @0.185<90 แลวกดปุม Q }
Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม
 Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (1)}

144. จากรูปที่ 18.56 (1) สรางเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 เมือ่
ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.142 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to
offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ
Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (2)
145. จากรูปที่ 18.56 (2) เขียนเสนโคง โดยใชคําสัง่ Draw4Arc4Start, End, Direction คลิกจุดที่ 1
และจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify tangent direction... พิมพ @1<48 แลวกดปุม Q
จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (3)

(1) รูปที่ 18.56 (2) (3) (4) (5)


146. จากรูปที่ 18.56 (3) เขียนสวนโคงตอเนือ่ ง โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ ARC แลวคลิกขวา อีกครัง้
เพื่อเขียนเสนโคงตอเนือ่ ง เมื่อปรากฏขอความ Specify end point of arc: ใหพมิ พรเี ลทีฟ
โพลารคอรออรดิเนท @.053<0 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (4)
147. จากรูปที่ 18.56 (4) แปลงเสนโคงและรวมใหเสนโคงทัง้ สองเปนเสนโพลีไลน โดยใชคําสัง่ Modify
4Object4Polyline เมือ่ ปรากฏขอความ Select polyline... คลิกบนเสนโคงจุดที่ 5
จะปรากฏขอความ Object selected is not a polyline Do you want to turn it into one? <Y>
ใหคลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏขอความ Enter an option... ใหพมิ พ J เพือ่ เลือกตัวเลือก
Join เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนสวนโคงจุดที่ 6 แลวคลิกขวา
148. จากรูปที่ 18.56 (4) สรางเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 เมือ่
ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.154 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to
offset... คลิกเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ
Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (5)

chap-18.PMD 583 13/10/2549, 1:38


584

149. จากรูปที่ 18.56 (5) แปลงเสนตรงและเสนโคงใหเปนบล็อคทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Draw4Block


4Make จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค Cpac ใน
แถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 8 และ 9 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ
2D Drafting
Window แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Delete ถูกเลือกอยู
คลิกบนปุม Pick Point ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่
10 เมื่อปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ
Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK บล็อค Cpac จะถูกสราง
เก็บไวในหนวยความจําพรอมทัง้ ลบวัตถุทถี่ กู เลือกทัง้ หมด

Note กอนแปลงเสนตรงและเสนโคงใหเปนบล็อค ตองแนใจวา ในคําสัง่ Format4Unit มีการเลือกหนวยวัด


Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted contents มิฉะนั้น วัตถุที่ถูกเลือกจะเปลี่ยนสเกลซึ่งจะ
ทําใหมีขนาดไมถูกตอง

150. จากรูปที่ 18.54 เริม่ ระบายลวดลายแฮทช โดยใชคําสัง่ Express4Draw4Super Hatch เมือ่


ปรากฏไดอะล็อค SuperHatch คลิกบนปุม Block... จะปรากฏไดอะล็อค SuperHatch - Insert
คลิกบนปุม Block... จะปรากฏไดอะล็อค Defined Blocks คนหาและคลิกชือ่ บล็อค Cpac คลิก
บนปุม OK แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความดังนี้

Command: _superhatch CPAC {จากรูปที่ 18.54 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Units: Meters Conversion: 1.0000 {โปรแกรมรายงานหนวยของบล็อคและสเกลแฟคเตอร}
Specify insertion point or [Basepoint/Scale/X/Y/Z/Rotate/PScale/PX/PY/PZ/PRotate]:
{เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ ตรงจุดที่ 1 }
Enter X scale factor, specify opposite corner, or [Corner/XYZ] <1>: {กดปุม Q }
Enter Y scale factor <use X scale factor>: {กดปุม  Q}
Specify rotation angle <0>: {กดปุม  Q}
Command: Is the placement of this BLOCK acceptable? {Yes/No] <Yes>: {กดปุม  Q}
Select a window around the block to define column and row tile distances.
Current rectangle modes: Width=0.0098
Specify block [Extents] First corner <magenta rectang>: {กดปุม Q }
Current rectangle modes: Width=0.0098
Selecting visible objects for boundary detection...Done.
Specify an option [Advanced options] <Internal point>: {คลิกตรงจุดที่ 2 }
Specify an option [Advanced options] <Internal point>: {คลิกตรงจุดที่ 3 }
Specify an option [Advanced options] <Internal point>: {คลิกตรงจุดที่ 4 }
Specify an option [Advanced options] <Internal point>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q}
The hatch object is very small in relation to the boundary data.
The operation may take a while to complete.
Are you sure you want to do this? [Yes/No] <Yes>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจาก
คําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.57}

151. สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิกบนปุม ตัง้ ชือ่ เลเยอรใหมคอื


Wood รหัสสี Color = Yellow (สีเหลือง), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.13 mm. เพือ่
เก็บเสนไมฝา แลวคลิกบนปุม กําหนดใหเลเยอร Wood เปนเลเยอรใชงาน(Current layer)
152. จากรูปที่ 18.57 ระบายลวดลายแฮทช โดยใชคําสัง่ Draw4Hatch เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค
Hatch and Gradient เลือกลวดลาย Line จากแถบรายการ Pattern กําหนดสเกล 0.03 ใน

chap-18.PMD 584 13/10/2549, 1:38


585
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
รูปที่ 18.57

อิดิทบอกซ Scale ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Associative ใหแนใจวาไม


ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Seperate hatches คลิกบนปุม เรดิโอ Specified origin
แลวคลิกบนปุม Click to set new origin แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร
หรือ คลิกซาย เมือ่ กลับมายังไดอะล็อค คลิกบนปุม Add: Pick points จะปรากฏขอความ
Pick internal point... แลวคลิกตรงจุดที่ 2, 3, 4 และ 5 แลวคลิกขวา เลือกคําสัง่ Preview แลว
คลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.58

รูปที่ 18.58

Note เปนอันวาเราไดเขียนรูปดานหนาของบานเดีย่ ว 2 ชัน้ เสร็จเรียบรอยแลว หากในแบบแปลนยังมีภาพฉาย


แสดงรูปดานอืน่ ๆ อาทิ เชน รูปดานซาย รูปดานขวา รูปดานหลังทีต่ อ งเขียนตอไป เราก็สามารถใชพนื้ ที่
วางๆ ในไฟลเดียวกันนี้เขียนรูปดานอื่นๆ ได เมื่อเขียนรูปดานอื่นๆ เสร็จทั้งหมดแลว หากเราใช
Sheet Set Manager ในการจัดหนากระดาษและกําหนดสเกล เราจะตองบันทึกมุมมอง(Views) เพือ่ ใช
ในการสรางภาพฉายรูปดานตางๆ ของบานและอาจจะบันทึกมุมมอง(Views)ของสวนประกอบ ตางๆ
เพื่อใชในการสรางภาพฉายดวย อาทิ เชน หนาตางประตู เปนตน อนึ่ง การเขียนเสนบอกขนาดและ
การเขียนตัวอักษร เราสามารถเริม่ ตนหลังจากที่มีการจัดหนากระดาษและกําหนดสเกลดวย Sheet Set
Manager เสร็จเรียบรอยแลว โดยเราสามารถ เลือกทีจ่ ะเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรไวบนโมเดล
สเปสหรือบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรไดตามตองการ

chap-18.PMD 585 13/10/2549, 1:38


586

Note ผูเ ขียนไมสามารถทีจ่ ะแสดงขัน้ ตอนการเขียนรูปดานอืน่ ๆ อาทิ เชน รูปดานซาย รูปดานขวา รูปดานหลัง
เพิม่ เติมได เนือ่ งจากจะสิน้ เปลืองหนากระดาษไปโดยเปลาประโยชน เพราะการเขียนรูปดานอืน่ ๆ ก็ใช
2D Drafting
วิธีการและขั้นตอนตามที่ไดอธิบายมาแลวในแบบฝกหัดนี้ ผูอานสามารถเขียนรูปดานอื่นๆ ไดดวย
ตนเองโดยเพียงแตหาพืน้ ที่วา งๆ ในไฟลเดียวกันนี้ ณ ตําแหนงอื่นทีม่ ีระยะหางที่เหมาะสม แลวลงมือ
เขียนรูปดานอืน่ ๆ ตอไปไดทนั ที โดยไมตอ งสนใจวาตําแหนงของรูปดานทีจ่ ะเขียนจะอยู ณ ตําแหนงใด
แตก็ไมควรจะอยูไกลกันกับรูป ดานอื่นๆ มากนัก เพื่อสะดวกในการมองเห็น ในการพิจารณาวา
รูปชิน้ งานใดจะถูกเขียนในไฟลใดนัน้ ถาชิน้ งานปรากฏบนแบบแปลนทีพ่ มิ พลงกระดาษแผนเดียวกัน
ชิ้นงานเหลานั้นควรจะตองอยูในไฟลเดียวกันดวย ตัวอยาง เชน แบบแปลน 1 แผน มีภาพฉายแสดง
รูปดานหนา รูปหนาหลัง รูปดานซายและรูปดานขวา เราควรจะเขียนชิน้ งานรูปดานหนา รูปหนาหลัง
รูปดานซายและรูปดานขวาพื้นที่โมเดลสเปสซึ่งอยูในไฟล .dwg เดียวกัน เปนตน อยางไรก็ตาม เรา
สามารถแยกเขียนในแตละไฟล .dwg ไดเชนเดียวกัน เพราะ Sheet Set Manager จะสามารถชวยใน
การจัดการไฟล .dwg จํานวนมากไดอยางสะดวก

Note หากเราตัดสินใจวาจะไมใช Sheet Set Manager เราสามารถนํารูป ดานนี้ไปจัดหนากระดาษ สราง


วิวพอรทและกําหนดมาตราสวนในเลเอาทเปเปอรสเปสดวยวิธีเดิมไดทันที อยางไรก็ตาม เราควรใช
Sheet Set Manager เพือ่ ความสะดวกรวดเร็วและเพือ่ ใหเกิดความสัมพันธระหวางขอมูลในแบบแปลน

Note ในทีน่ ี้ เราจะใชรูปดานหนาดังรูปที่ 15.58 เพียงรูปเดียว แตจะสรางภาพฉายแสดงมุมมองรูปดานหนา


รูปขยายประตู รูปขยายหนาตางในมาตราสวนทีแ่ ตกตางลงบนกระดาษเลเอาทแผนเดียวกัน โดยทัง้ หมด
จะทําผาน Sheet Set Manager โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

153. เริม่ บันทึกมุมมองของรูปดานหนาของบานเดีย่ วหลังนี้ โดย


กอนอืน่ ใชคาํ สัง่ View4Zoom4Extents เพือ่ ขยายรูป
ดานใหปรากฏเต็มพื้นที่วาดภาพ ใชคําสั่ง View4Zoom
4Realtime ยอชิน้ งานใหมขี นาดเล็กลงเล็กนอยดังรูปที่
18.58 (ประมาณ 80-90 เปอรเซนตของพืน้ ทีว่ าดภาพ)
154. ใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค
View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ให
พิมพชื่อภาพฉาย “รูปดาน 1” ในอิดิทบอกซ View Name
พิมพชอื่ กลุม ยอย “แบบแปลนแสดงรูปดาน” ในอิดิทบอกซ
View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิก
รูปที่ 18.59 ปุม OK บนไดอะล็อค View ภาพฉาย “รูปดาน 1” จะถูก
บันทึกพรอมนําไปใชงานใน Sheet Set Manager

Note หากชิ้นงานปรากฏเต็มพื้นที่วาดภาพ เมื่อมีการสรางวิวพอรทดวยคําสั่ง Place on Sheet วิวพอรทจะ


ฟตพอดีกับชิน้ งานเกินไป ซึง่ ดูแลวอาจจะไมเหมาะสม ดังนัน้ จึงควรยอภาพใหมขี นาดเล็กลงประมาณ
80-90 เปอรเซนตของพืน้ ทีว่ าดภาพ

Note หากไมตองการสรางกลุมยอยของภาพฉาย ใหปลอยอิดิทบอกซ View Category วางไว แตถาหาก


ตองการจัดกลุมภาพฉายใน กลุม ยอยของ View List ใน Sheet Set Manager ใหพิมพช่อื กลุมยอยเขาไป
ในอิดทิ บอกซ View Category ชือ่ กลุม ยอยจะปรากฏ ใน View List ของ Sheet Set Manager โดยอัตโนมัติ
เมือ่ มีการสอดแทรกภาพฉายดวยคําสัง่ Place on Sheet ซึง่ การสรางกลุมยอยจะชวยใหเราสามารถแยก
ประเภทภาพฉายและชวยใหการคนหาภาพฉายกระทําไดงายและรวดเร็วมากขึ้น

chap-18.PMD 586 13/10/2549, 1:38


587
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
155. ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom 4Realtime และ View4Pan4Real Time ให
ปรากฏดังรูปที่ 18.60 (ซาย)

รูปที่ 18.60

156. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.60 (ซาย) โดยใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่


ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่ ภาพฉาย
“แบบขยายหนาตาง 1” ในอิดิทบอกซ View Name พิมพชื่อกลุมยอย “แบบแปลนแสดง
รูปหนาตาง” ในอิดทิ บอกซ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิกปุม OK
บนไดอะล็อค View
157. ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom 4Realtime และ View4Pan4Real Time ให
ปรากฏดังรูปที่ 18.60 (กลาง)
158. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.60 (กลาง) โดยใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่
ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่ ภาพฉาย
“แบบขยายหนาตาง 2” ในอิดิทบอกซ View Name เลือกชื่อกลุมยอย “แบบแปลนแสดงรูป
หนาตาง” จากแถบรายการ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิกปุม OK
บนไดอะล็อค View
159. ขยายภาพ โดยใชคําสั่ง View4Zoom 4Realtime และ View4Pan4Real Time
ใหปรากฏดังรูปที่ 18.60 (ขวา)
160. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.60 (ขวา) โดยใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่
ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่ ภาพฉาย
“แบบขยายหนาตาง 3” ในอิดิทบอกซ View Name เลือกชื่อกลุมยอย “แบบแปลนแสดงรูป
หนาตาง” จากแถบรายการ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิกปุม OK
บนไดอะล็อค View
161. ขยายภาพ โดยใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime
และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่
18.61
162. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.61 โดยใชคาํ สัง่ View
4Named Views เมื่อปรากฏไดอะล็อค View คลิก
บนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่
ภาพฉาย “แบบขยายประตู 1” ในอิดทิ บอกซ View Name
พิ มพ ชื่ อกลุ มย อ ย “แบบแปลนแสดงรู ป ประตู ” ใน
อิดิทบอกซ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค
รูปที่ 18.61 New View คลิกปุม OK บนไดอะล็อค View ดังรูปที่ 18.62

Note ตรวจสอบมุมมอง Views ทั้งหมดทีไ่ ดบันทึกไว โดยใชคําสั่ง View4Named Views เมือ่ ปรากฏ
ไดอะล็อค View คลิกบนชือ่ ที่ตอ งการตรวจสอบ แลวคลิกบนปุม Set Current แลวคลิกบนปุม OK

chap-18.PMD 587 13/10/2549, 1:38


588

163. กําหนดมุมมองรูปดาน 1 เปนมุม


มอง(View)ใชงาน โดยใชคําสั่ง
View4Named Views เมือ่
2D Drafting
ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบน
ชือ่ รูปดาน 1 แลวคลิกบนปุม Set
Current แลวคลิกบนปุม OK เพือ่
ออกจากไดอะล็อค
164. เปนอันเสร็จสิน้ สําหรับการเตรียม
ชิ้ นงานสํ า หรั บ นํ า ไปจั ด หน า
กระดาษใน Sheet Set Manager
รูปที่ 18.62 เราจะตองใชคําสั่ง File4Save
As เพือ่ บันทึกไฟลแบบแปลนทีเ่ ก็บชิน้ งานนี้ เมื่อปรากฏไดอะล็อค Save Drawing As
ใหแนใจวา Files of type ปรากฏเปน AutoCAD 2004 Drawing (*.dwg) เลือกโฟลเดอร
C:\Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets ตัง้ ชือ่ ไฟล
House.dwg แลวคลิกปุม Save เพือ่ บันทึกไฟลชิ้นงานและออกจากไดอะล็อค แลวใชคําสั่ง
File4Close เพือ่ ปดไฟล House.dwg

Note ไฟล House.dwg ที่ถกู สรางในแบบฝกหัดนีไ้ ดถกู บันทึกไวในโฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน
DVD-ROM มัลติมีเดียชวยสอนแนบทายหนังสือคูมือเลมนี้ ผูอ านสามารถคัดลอกมาใชงานตอไปใน
แบบฝกหัดนีไ้ ด

165. เริม่ จัดหนากระดาษ โดยเรียกคําสัง่ Tools4Sheet Set Manager จะปรากฏหนาตาง Sheet


Set Manager คลิกบนปุม ของแถบคําสัง่ Open แลวเลือกคําสัง่ Open... หรือใชคาํ สัง่ File4
Open Sheet Set จะปรากฏไดอะล็อค Open Sheet Set ขึน้ มาบนจอภาพ ใหคนหาไฟล
บานพักเดีย่ ว 2 ชัน้ .dst ซึง่ เราไดสรางไวในแบบฝกหัดบทที่ 17 โดยคลิกบนชือ่ ไฟลแลวคลิกปุม
Open หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏดังรูปที่ 18.63 (ซาย)
Note หากเรายังไมไดทําแบบฝกหัดในบทที่ 17 เราสามารถคัดลอกไฟล บานพักเดีย่ ว 2 ชัน้ .dst จากโฟลเดอร
\Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือไปเก็บไวในโฟลเดอร C:\Documents and
Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets เพื่อใชงานในแบบฝกหัดนี้ (ตองไมลืมปลด
สถานะ Read-Only) แลวจึงใชคําสัง่ Tools4Sheet Set Manager เปดออกมาใชงานไดเชนเดียวกัน

รูปที่ 18.63
166. จากรูปที่ 18.63 (ซาย) คลิกขวาบนชื่อชีทเซท บานเดี่ยว 2 ชัน้ เลือกคําสั่ง Properties จะ
ปรากฏหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (ซาย-บน) คลิกบนปุม ของอิดทิ บอกซ

chap-18.PMD 588 13/10/2549, 1:38


589
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
Label block for views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select block ใหคลิกบนปุม แลวเลือก
AutoCAD Drawing Template (*.dwt) จากแถบรายการ Files of type แลวคนหาและเลือกไฟล
MySheetSetTemplate.dwt ทีไ่ ดสรางจากแบบฝกหัดบทที่ 17 แลวคลิกบนปุม Open เมือ่ กลับไป
ยังไดอะล็อค Select block เลือกปุม เรดิโอ Choose blocks in the drawing file เลือกบล็อคชือ่
LabelBlock แลวคลิกบนปุม OK อิดทิ บอกซ Label block for views จะปรากฏ LabelBlock(C:\
Documents and Settings\Administrator\My Documents\AutoCAD Sheet Sets\
MySheetSetTemplate.dwt) คลิกบนปุม ของอิดิทบอกซ Callout blocks เมือ่ ปรากฏ
ไดอะล็อค List of blocks ใหลบบล็อคทั้งหมดออกจากไดอะล็อค โดยคลิกบนปุม Delete
แลวคลิกบนปุม Add จะปรากฏไดอะล็อค Select block ขึน้ มาบนจอภาพ ใหคลิกบนปุม
แลวเลือก AutoCAD Drawing Template (*.dwt) จากแถบรายการ Files of type แลวเลือกไฟล
MySheetSetTemplate.dwt ทีไ่ ดสรางจากแบบฝกหัดบทที่ 17 แลวคลิกบนปุม Open เมือ่ กลับไป
ยังไดอะล็อค Select block เลือกปุม เรดิโอ Choose blocks in the drawing file เลือกบล็อคชือ่
CalloutBubble ใหปรากฏแถบสีนา้ํ เงิน แลวเลือกบล็อคทีอ่ ยูถ ดั ลงไปดานลางทัง้ หมด โดยกดปุม
S แลวคลิกชือ่ บล็อค Section - Right ซึง่ อยูใ นลําดับสุดทาย แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏ
ไดอะล็อค List of blocks ดังรูปที่ 18.63 (ขวา) แสดงชือ่ บล็อคทัง้ หมดทีถ่ กู เลือก แลวคลิกบนปุม
OK อีกครัง้ เพือ่ กลับไปยังหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (ซาย-บน)

Note หากเรายังไมไดทําแบบฝกหัดในบทที่ 17 เราสามารถคัดลอกไฟล MySheetSetTemplate.dwt จาก


โฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือไปเก็บไวในโฟลเดอร C:\
Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets เพื่อใชงานในขอ 166 ได

Note ในไฟล MySheetSetTemplate.dwt ที่อยูในโฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM มี


การสรางบล็อคชือ่ LabelBlock ซึง่ เก็บบล็อคสัญลักษณแสดงชือ่ ภาพฉายและมาตราสวนของวิวพอรท
เมื่อมีการสรางภาพฉาย หากมีการเลือก Label block for views จะปรากฏบล็อค LabelBlock แสดงชื่อ
และสเกลจริงของวิวพอรทโดยอัตโนมัติ ซึง่ ผูเ ขียนไดแสดงขัน้ ตอนและวิธกี ารสรางบล็อค แสดงชือ่ และ
สเกลจริงของวิวพอรทไวแลวในทายแบบฝกหัดบทที่ 17 อยางไรก็ตาม ผูอา นสามารถทําตามขั้นตอน
เพื่อสรางบล็อคดวยตนเอง โดยสรางฟลดเก็บชื่อภาพฉายดวยคําสั่ง Insert4Field เลือก Sheet Set
ในแถบรายการ Field category เลือก SheetSetPlaceholder ในชองหนาตาง Field names เลือก ViewTitle
ในชองหนาต าง Placeholder type แล วสร างฟลด เก็บ มาตราส วนโดยเลือก ViewportScale ใน
ชองหนาตาง Placeholder type เลือกฟอรแมต 1:# ในชองหนาตาง Temporary value แลวจึงแปลง
ฟลดทั้งสองใหเปนบล็อค จึงจะบันทึกลงในไฟล MySheetSetTemplate.dwt แลวจึงจะสามารถนํา
บล็อคไปใชใน Label block for views ได

167. ในขณะทีย่ งั คงปรากฏหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (บน-ซาย) คลิกบนปุม
ของ Sheet storage location เพือ่ ระบุโฟลเดอรทจี่ ะจัดเก็บไฟลแบบแปลนหรือชีททัง้ หมด โดย
เลือกโฟลเดอร C:\ Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets
168. ในขณะที่ยังคงปรากฏหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (บน-ซาย) คลิกบนปุม
ของ Sheet creation template เพือ่ ระบุโฟลเดอรทจี่ ดั เก็บไฟลตารางรายการแบบทีจ่ ะนํา
มาใชงานกับ Sheet ทีส่ รางใหม เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select layout as Sheet Template ใหคลิก
บนปุม แลวเลือกไฟล MySheetSetTemplate.dwt ในโฟลเดอร C:\ Documents and
Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets หรือ C:\Documents and
Settings\Administrator\Local Settings\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\
enu\Templateแลวคลิกบนปุม Open ใหเลือกเลเอาท ISO-A3-M (เนื่องจากชิ้นงานมีหนวย
เปนเมตร) แลวคลิกบนปุม OK ของไดอะล็อค Select layout as Sheet Template แลวคลิกบนปุม
OK ของหนาตาง Sheet Set Properties จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.64 (ซาย) ถามวาเราตอง
การอับเดทการเปลีย่ นแปลงในกลุม ยอยซับเซทดวยหรือไม ในทีน่ ใี้ หคลิกบนปุม Yes

chap-18.PMD 589 13/10/2549, 1:38


590

รูปที่ 18.64
2D Drafting

169. จากรู ปที่ 18.63 (ซ า ย) คลิ ก แถบคํ า สั่ ง


Resource Drawings บน Sheet Set Manager
คลิกขวาบนไอคอน Add New Location เลือก
คําสัง่ Add New Location คนหาโฟลเดอร
C:\Documents and Settings\User name\My Documents\ AutoCAD Sheet Sets แลว คลิกปุม
Open จะปรากฏชือ่ ไฟล House.dwg คลิกบนเครื่องหมาย + ของไฟล จะปรากฏรายชือ่ ของ
ภาพฉายทีไ่ ดบนั ทึก ไวในคําสัง่ View4Named Views ดังรูปที่ 18.64 (ขวา)
170. จากรูปที่ 18.64 (ขวา) เริม่ สรางชีทแผนวางๆ ขึ้นมาใหม โดยคลิกแถบคําสั่ง Sheet List แลว
คลิกขวาบนกลุม ยอย(Subset)ของ แบบสถาปตยกรรม ซึง่ ปรากฏในชองหนาตาง Sheets แลว
เลือกคําสัง่ New Sheet จะปรากฏไดอะล็อค New Sheet ปอนหมายเลขแผน A-01 ในอิดทิ บอกซ
Number ปอนชือ่ ชีท แบบแสดงรูปดานหนา ในอิดิทบอกซ Sheet title จะปรากฏชือ่ ไฟล
.dwg ในอิดทิ บอกซ File name ดังรูปที่ 18.65 (ซาย) แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏชือ่ ชีทใหม
A-01 - แบบแสดงรูปดานหนา บนชองหนาตาง Sheets ของ Sheet List ใน Sheet Set
Manager ดังรูปที่ 18.65 (ขวา)
รูปที่ 18.65

171. จากรูปที่ 18.65 (ขวา) เริม่ จัดหนากระดาษ


โดยคลิกขวาบนชือ่ ชีท A-01 - แบบแสดง
รูปดานหนา เลือกคําสัง่ Open จะปรากฏ
ตารางรายการแบบโดยมีตนแบบมาจาก
เทมเพล็ทไฟล MySheetSetTemplate.dwt
ดังรูปที่ 18.66
172. จากรูปที่ 18.66 เริม่ สรางภาพฉาย โดยคลิกแถบคําสัง่ Resource Drawings บน หนาตาง Sheet
Set Manager ใหแน ใจว าเลเยอรใช งานเป นเลเยอร คลิ ก
ขวาบนไอคอน เลือกคําสั่ง Place on Sheet เมือ่ ปรากฏขอความ Specify
insertion point: ใหคลิกขวา จะปรากฏช็อทคัทเมนูแสดงสเกลตางๆ ดังรูปที่ 18.67 (ซาย) หาก
ไมปรากฏสเกลทีต่ อ งการ เราสามารถเลือกสเกลทีใ่ กลเคียงไปกอน ซึง่ เราสามารถเปลีย่ นสเกลใน
ภายหลังได ในทีน่ ี้ ใหเลือกสเกล 1:75 แลวคลิกซายประมาณจุดที่ 1 จะปรากฏดังรูปที่ 18.67
(ขวา)

chap-18.PMD 590 13/10/2549, 1:38


591
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

รูปที่ 18.66

Note หากไมปรากฏมาตราสวนหรือสเกลทีต่ อ งการใชงานบนเคอรเซอรเมนูดงั รูปที่ 18.67 (ซาย) ใหใชคําสัง่


Format4Scale List แลวคลิกบนปุม Add พิมพสเกลทีต่ อ งการใหปรากฏบนเคอรเซอรเมนูในอิดทิ บอกซ
Name appearing in scale list ปอนมาตราสวนในอิดทิ บอกซ Paper units และ Drawing units ตามลําดับ

Note จากรูปที่ 18.67 (ขวา) และรูปที่ 18.69 สังเกตุวาชื่อภาพฉายและมาตราสวนจะปรากฏบนมุมซายลาง


ของวิวพอรทแสดงภาพฉายโดยอัตโนมัติ หากมีการเปลีย่ นสเกลใหกบั วิวพอรทใหม ตัวเลขมาตราสวน
จะปรับปรุงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ หลังจากที่มีการใชคําสั่ง Save หรือ Regen หรือ Regen all

Note เนือ่ งจากขอมูลตัวอักษรตางๆ ทีป่ รากฏบนตารางรายการแบบมีทงั้ ตัวอักษรธรรมดาและตัวอักษรจาก


ฟลดขอมูลที่มีการเชื่อมโยงมาจากคุณสมบัติที่กําหนดไวใน Sheet Set Manager ตัวอักษรขอมูลฟลด
จะปรากฏพื้นหลังเปนสีเทาซึ่งเปนอุปสรรคตอการมองเห็น เราสามารถซอนสีเทาที่เปนพื้นหลังของ
ฟลดไดดงั นี้

173. ใช คํ า สั่ ง Tools 4 Options ð User


Preferences ปลดเครือ่ งหมาย ออกจาก
เช็คบอกซ Display background of fields
คลิกปุม Apply และ OK
174. บนหนาตาง Sheet Set Manager คลิกแถบ
คําสัง่ View List จะปรากฏดังรูปที่ 18.68
(ซาย) เราสามารถกําหนดหมายเลขภาพ
ฉาย(View number)ซึ่ งเป นตั ว เลขที่ จะ
รูปที่ 18.67 ปรากฏบนบล็อคสัญลักษณ Callout Block
โดยคลิกขวาบนชื่อ View รูปดาน 1 แลว
เลือกคําสั่ง Rename & Renumber จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.68 (ขวา) ปอนคา 1 ใน
อิดิทบอกซ Number แลวคลิกบนปุม OK

รูปที่ 18.68

chap-18.PMD 591 13/10/2549, 1:38


592

Note หากตองการเปลี่ยนชือ่ กํากับภาพฉาย เราสามารถพิมพช่อื ใหมเขาไปในอิดิทบอกซ View title ไดทนั ที


โดยที่ไมจําเปนที่จะตองเปดไฟล House.dwg แลวใชคําสั่ง View4Named Views แกไขชื่อ
2D Drafting
View ที่ไดบันทึกไว หลังจากที่แกไขแลว เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Update Fields เพื่อปรับปรุง

175. สอดแทรกสัญลักษณ Callout Block โดยขณะที่


อยูบ นหนาตาง Sheet Set Manager คลิกแถบ
คําสัง่ View List จะปรากฏดังรูปที่ 18.68 (ซาย)
คลิกขวาบนชื่อภาพฉาย 1 - รูปดาน 1 แลว
เลือกคําสั่ ง Place Callout Block4 Elev
Indicator - Up จะปรากฏขอความ Specify
insertion point or... คลิกตรงจุดที่ 2 ของรูปที่
18.67 (ขวา) เมื่ อปรากฏข อ ความ S#
รูปที่ 18.69 <SHEETNUMBER>: ใหคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ
V# <VIEWNUMBER>: ใหคลิกขวา จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.69

Note เสนกรอบวิวพอรทที่โปรแกรมสรางมาใหอยูในเลเยอร Viewport ซึ่งเปนเลเยอรที่สั่งไมพิมพ


ดังนั้น เสนกรอบวิวพอรทจึงจะไมปรากฏบนเครือ่ งพิมพ

Note หากสัญลักษณ Callout Block และ Label Block for Views ปรากฏในตําแหนงที่ไมเหมาะสม เรา
สามารถคลิกใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวยายบล็อคไปอยูในตําแหนงใหมทเี่ หมาะสมไดตามตองการ

176. เนือ่ งจากบล็อคสัญลักษณ Callout และบล็อค LabelBlock นัน้ อยูใ นเลเยอร Viewport ดังนัน้
หากทําการพิมพแบบแปลน บล็อคสัญลักษณ ดังกลาวจะไมปรากฏบนเครือ่ งพิมพ เนื่องจาก
เลเยอร Viewport ถูกกําหนดสถานะ ไมพมิ พไว ดังนัน้ เราจะตองเปลีย่ นเลเยอรใหกบั บล็อค
ทัง้ หมด โดยในขณะที่ บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนบล็อคสัญลักษณ Callout
และบล็อค LabelBlock ทีป่ รากฏในรูปที่ 18.69 ทั้งหมดใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวเลือกเลเยอร
จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D
177. จากรูปที่ 18.64 (ขวา) เริม่ สรางชีทแผนวางๆ ขึ้นมาใหม โดยคลิกแถบคําสั่ง Sheet List แลว
คลิกขวาบนกลุม ยอย(Subset)ของ แบบสถาปตยกรรม ซึง่ ปรากฏในชองหนาตาง Sheets แลว
เลือกคําสัง่ New Sheet จะปรากฏไดอะล็อค New Sheet ปอนหมายเลขแผน A-02 ในอิดทิ บอกซ
Number ปอนชือ่ ชีท แบบขยายรูปประตูหนาตาง ในอิดทิ บอกซ Sheet title จะปรากฏชือ่ ไฟล
.dwg ในอิดทิ บอกซ File name ดังรูปที่ 18.70 (ซาย) แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏชือ่ ชีทใหม
A-02 - แบบขยายรูปประตูหนาตาง บนชองหนาตาง Sheets ของ Sheet List ใน Sheet Set
Manager ดังรูปที่ 18.70 (ขวา)

รูปที่ 18.70

chap-18.PMD 592 13/10/2549, 1:38


593
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
178. จากรูปที่ 18.70 (ขวา) เริม่ จัดหนากระดาษ โดยคลิกขวาบนชือ่ ชีท A-02 - แบบขยายรูปประตู
หนาตาง เลือกคําสัง่ Open จะ ปรากฏตารางรายการแบบโดยมีตน แบบมาจากเทมเพล็ทไฟล
MySheetSet Template.dwt ดังรูปที่ 18.71

รูปที่ 18.71

179. จากรูปที่ 18.71 สรางภาพฉายบนชีท(Sheet)แผนใหม ตามวิธใี นขอ 172 โดยเลือกภาพฉาย


กําหนดสเกล 1:25 คลิกประมาณจุดที่ 1 แลวสรางภาพฉายตอไป
โดยเลือกภาพฉาย กําหนดสเกล 1:25 คลิกซายประมาณจุดที่ 2
แลวสรางภาพฉาย โดยเลือกภาพฉาย กําหนดสเกล 1:40 คลิก
ประมาณจุดที่ 3 แลวสรางภาพฉาย โดยเลือกภาพฉาย กําหนด
สเกล 1:40 คลิกประมาณจุดที่ 4 จะปรากฏภาพฉายในวิวพอรทตางๆ ดังรูปที่ 18.72 (ซาย)

รูปที่ 18.72

180. จากรูปที่ 18.72 (ซาย) ดับเบิล้ คลิกภาพฉาย แบบขยายประตู 1 เคอรเซอรจะสามารถเลือ่ นอยู


ภายในวิวพอรทและเสนกรอบวิวพอรทจะปรากฏเปนเสนหนาทึบ คลิกแถบรายการควบคุม
เลเยอร แลวคลิกบนไอคอน ของเลเยอร House|Wood จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน
แลวทําเชนเดียวกันกับเลเยอร House|Roof, House|Outline, House|Decor, House|Cpac
เสนตางๆ ทีไ่ มเกีย่ วของกับประตูจะถูกซอนไมใหปรากฏในเฉพาะวิวพอรททีถ่ กู เลือก ตอไปคลิก
วิวพอรท แบบขยายหนาตาง1 แลวทําเชนเดียวกัน ตอไปคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง2
แลวทําเชนเดียวกัน ตอไปคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง3 แลวทําเชนเดียวกัน จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.72 (ขวา)
181. จากรูปที่ 18.72 (ขวา) ปรับขนาดของวิวพอรทใหเหมาะสม
กับชิ้ นงานที่ปรากฏในวิวพอรท โดยในขณะที่ บรรทัด
Command: ไม ป รากฏคําสั่ งใดๆ คลิ กบนเส น กรอบ
วิวพอรทจนกระทั่งปรากฏเปนเสนประและจุดกริ๊ปสบน
ทั้งสีม่ ุมของวิวพอรท คลิกบนจุดกริ๊ปสของวิวพอรท แลว
คลิก ณ ตําแหนงใหม เพือ่ ปรับขนาดของวิวพอรทใหเล็กลง
คลิกบน Label Block ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวคลิกบนจุด
กริ๊ปสของ Label Block ยายตําแหนงใหเหมาะสมกับ
รูปที่ 18.73 ตําแหนงของวิวพอรท จนกระทัง่ ปรากฏดังรูป ที่ 18.73

chap-18.PMD 593 13/10/2549, 1:38


594

Note เราไมตอ งกังวลวาเสนกรอบที่เราไดปรับแตงขนาดใหมปรากฏไมสวยงาม เพราะเสนกรอบวิวพอรท


ทัง้ หมดจะถูกซอนไมใหปรากฏบนเครือ่ งพิมพ เรายังสามารถปดเลเยอรวิวพอรทเพือ่ ซอนวิวพอรทได
2D Drafting
182. ตอไปสอดแทรกบล็อคสัญลักษณ Callout ไปยังภาพฉายทัง้ 4 ภาพ โดยกอนอืน่ เราตองกําหนด
หมายเลขภาพฉาย(View number)เสียกอน โดยคลิกแถบคําสัง่ View List บนหนาตาง Sheet
Set Manager แลวคลิกขวาบนชื่อภาพฉาย แบบขยายประตู 1 แลวเลือกคําสัง่ Rename &
Renumber จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.68 (ขวา) แสดงชือ่ ภาพฉาย แบบขยายประตู 1 ใน
อิดทิ บอกซ View Title ใหพมิ พ 2 ในอิดทิ บอกซ Number แลวคลิกปุม Next จะปรากฏชือ่ ภาพฉาย
แบบขยายหนาตาง 1 พิมพ 3 ในอิดิทบอกซ Number คลิกปุม Next จะปรากฏชื่อภาพฉาย
แบบขยายหนาตาง 2 พิมพ 4 ในอิดิทบอกซ Number คลิกปุม Next จะปรากฏชื่อภาพฉาย
แบบขยายหนาตาง 3 พิมพ 5 ในอิดทิ บอกซ Number แลวคลิกบนปุม OK หนาตาง Sheet Set
Manager จะปรากฏดังรูปที่ 18.74
183. จากรูปที่ 18.74 ใหแนใจวาแถบคําสัง่ View List บนหนาตาง
Sheet Set Manager ถูกเลือก แลวคลิกขวาบนชือ่ ภาพฉาย
แบบขยายประตู 1 แลวเลือกคําสัง่ Place Callout Block
4CalloutBubble จะปรากฏขอความ Specify insertion
point or... คลิกตรงจุดที่ 1 ของรูปที่ 18.73 เมื่อปรากฏ
ขอความ S# <SHEETNUMBER>: ใหคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ
V# <VIEWNUMBER>: ใหคลิกขวา แลวคลิกขวาบนชื่อ
ภาพฉาย แบบขยายหนาตาง 1 แลวเลือกคําสัง่ Place
Callout Block4CalloutBubble จะปรากฏขอความ Specify
insertion point or... คลิกตรงจุดที่ 2 ของรูปที่ 18.73 เมื่อ
ปรากฏขอความ S# <SHEETNUMBER>: ใหคลิกขวา เมือ่
ปรากฏ V# <VIEWNUMBER>: ใหคลิกขวา แลวทําซ้าํ กับ
รูปที่ 18.74 แบบขยายหนาตาง 2 โดยคลิกจุดที่ 3 และทําซ้าํ กับ แบบ
ขยายหนาตาง 3 โดยคลิกจุดที่ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 18.75

Note หากตองการแกไขหมายเลขแผน(Sheet number)ของบล็อคสัญลักษณ Callout ใหอางอิงแบบแปลน


แผนอืน่ ๆ ใหดับเบิ้ลคลิกบนบล็อค Callout ที่ตอ งการแกไข จะปรากฏไดอะล็อค Enhanced Attribute
Editor ใหแนใจวาแอททริบิวต S# ซึง่ เก็บวา Sheet number ถูกเลือก แลวดับเบิล้ คลิกบนคาทีป่ รากฏใน
อิดิทบอกซ Value หรือคลิกขวาแลว เลือกคําสั่ง Edit Field แลวเลือกหมายเลขแผนใหมจากหนาตาง
Sheet navigation tree ไดตามตองการ

รูปที่ 18.75

184. เนือ่ งจากบล็อคสัญลักษณ Callout และบล็อค LabelBlock นัน้ อยูใ นเลเยอร Viewport ดังนัน้
หากทําการพิมพแบบแปลน บล็อคสัญลักษณ ดังกลาวจะไมปรากฏบนเครือ่ งพิมพ เนื่องจาก
เลเยอร Viewport ถูดกําหนดสถานะไมพมิ พไว ดังนั้น เราจะตองเปลี่ยนเลเยอรใหกับบล็อค
ทัง้ หมด โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนบล็อคสัญลักษณ Callout
และบล็อค LabelBlock ทีป่ รากฏในรูปที่ 18.75 ทั้งหมดใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวเลือกเลเยอร
จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D

chap-18.PMD 594 13/10/2549, 1:38


595
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
185. ซอนเสนกรอบวิวพอรทของภาพฉายทัง้ หมด โดยเลือกเลเยอร 0 (ศูนย) จากแถบรายการควบคุม
เลเยอร เพือ่ เปลีย่ นเลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Viewport
เพื่อแชแข็งเลเยอรวิวพอรท แลวเลือกเลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม เสนกรอบวิวพอรท
ทัง้ หมดจะถูกซอน ดังรูปที่ 18.76

รูปที่ 18.76

186. ใชคาํ สัง่ Windows4A-01 แบบแสดงรูปดานหนา เพือ่ กลับเขาไปทํางานในชีท A-01 แบบแสดง


รูปดานหนา แลวซอนเสนกรอบวิวพอรทดวยการแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Viewport ตามวิธใี นขอ
185 จะปรากฏดังรูปที่ 18.77

รูปที่ 18.77

chap-18.PMD 595 13/10/2549, 1:38


596

Note ตอไปเราจะเริ่มเขียนเสนบอกขนาดลงบนแบบแปลนหมายเลข A-01 และ A-02 อยางไรก็ตาม การ


เขียนเสนบอกขนาดสามารถทําได 2 วิธคี อื (1) การเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส (2) การเขียนเสน
2D Drafting
บอกขนาดในเลเอาทเปเปอรสเปส การเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปสนัน้ จะมีขนั้ ตอนทีย่ งุ ยากมาก
เพราะการกําหนดความสูงของตัวเลขบอกขนาด(Dimension text)และขนาดของหัวลูกศร(Arrow size)
จะขึน้ อยูกับมาตราสวนของวิวพอรท ซึ่งจะทําใหเราตองคํานวณหาสเกลแฟคเตอร(Overall scale of)
ทีเ่ หมาะสม เพือ่ ทีจ่ ะทําใหความสูงของตัวเลขบอกขนาดและขนาดของหัวลูกศรปรากฏบนกระดาษใน
ขนาดที่เราตองการ สวนการเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทเปเปอรสเปสนัน้ หากหนวยวัดของชิ้นงาน
เปนมิลลิเมตร เราสามารถใชสเกลแฟคเตอร(Overall scale of) เทากับ 1 หากหนวยวัดของชิน้ งานเปน
เมตร เราสามารถใชสเกล แฟคเตอร(Overall scale of) เทากับ 0.001 ไดทันทีโดยไมตอ งเสียเวลาคํานวณ
อยางไรก็ตาม เพือ่ ใหผอู านไดเขาใจการเขียนเสนบอกขนาดทัง้ 2 วิธี ดังนัน้ ในแบบฝกหัดนี้ เราจะศึกษา
การเขียนเสนบอกขนาดทั้ง 2 วิธี โดยในแบบแปลน A-01 เราจะเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทเปเปอร
สเปส สวนในแบบแปลน A-02 เราเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส แตผูอานจะตองจําไวเสมอวา
ในงานเขียนแบบโปรเจกทหนึง่ เราจะตองเลือกใชวธิ ใี ดวิธหี นึง่ ในแบบแปลนทุกแผน เราจะเลือกใชวธิ ี
หนึง่ ในแบบแปลนแผนหนึง่ แลวใชอกี วิธหี นึง่ ในอีกแบบแปลนหนึง่ ไมไดอยางเด็ดขาด ทีผ่ เู ขียนทําเชนนี้
ก็เพื่อใหผอู านไดเขาใจการเขียนเสนบอกขนาดทัง้ 2 วิธี สวนผูอ านจะนําวิธใี ดไปใชในงานจริงนั้น ขอ
ใหผูอานไดศึกษาทั้ง 2 วิธีใหเขาใจเสียกอน จึงเลือกวิธีที่เหมาะสมกับงานของตนเองไดอยางถูกตอง

Note กอนที่เราเขียนเสนบอกขนาด เราจะตองสรางสไตลเสนบอกขนาดขึ้นมาใชงานเสียกอน ไมวาเราจะ


เขียนเส นบอกขนาดด วยวิธี ใด ในระบบเมตริ ก เราจะตองเข าสู AutoCAD ดวยเทมเพล็ท ไฟล
Acadiso.dwt เพราะในไฟลตน แบบดังกลาว มีการกําหนดคาความสูงของตัวเลขบอกขนาดเทากับ 2.5
หนวยและขนาดของหัวลูกศรมีคา เทากับ 2.5 หนวย ถาเราเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส โดยใช
สเกลแฟคเตอร(Use overall scale of)ของเสนบอกขนาดเทากับ 1 และใชสเกลวิวพอรท 1:1 จะทําให
ตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรที่พิมพลงบนกระดาษมีขนาดเทากับ 2.5 มิลลิเมตรพอดี แตถาสเกล
วิวพอรทเปน 1:10 ในขณะทีส่ เกลแฟคเตอร (Use overall scale of)ยังคงเปน 1 จะทําใหตวั เลขบอกขนาด
และหัวลูกศรทีพ่ ิมพลงบนกระดาษมีขนาดเทากับ 0.25 มิลลิเมตรซึง่ เปนขนาดทีเ่ ล็กมากจนไมสามารถ
อานออกได แตถาปรับสเกลวิวพอรทเปน 1:100 ในขณะที่สเกลแฟคเตอร (Use overall scale of)ยังคง
เทากับ 1 จะทําใหตวั เลขบอกขนาดและหัวลูกศรทีพ่ มิ พลงบนกระดาษมีขนาดเทากับ 0.025 มิลลิเมตรซึง่
เปนขนาดเล็กมากเชนเดียวกัน หากตองการปรับตัวเลขบอกขนาดใหปรากฏบนกระดาษเทากับ 2.5
มิลลิเมตรไมวาสเกลวิวพอรทเปน 1:10 หรือ 1:100 เราสามารถที่จะปรับสเกลแฟคเตอร(Use overall
scale of) เพื่อขยายตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรใหมีขนาดใหญขึ้น โดยนํา 10 ไปคูณดวย 2.5 จะได
สเกลแฟคเตอร 25 หากเรานําคานี้ไปกําหนดใน Use overall scale of จะทําใหตัวเลขบอกขนาดและ
หัวลูกศรปรากฏบนกระดาษมีขนาด 2.5 มิลลิเมตรหรือนํา 100 ไปคูณ 2.5 เราก็จะไดสเกลแฟคเตอร
250 หากเรานําคานี้ไปกําหนดใน Use overall scale of จะทําใหตวั เลขบอกขนาดและหัวลูกศรปรากฏ
บนกระดาษมีขนาด 2.5 มิลลิเมตรตามที่ตอ งการ

Note เริม่ สรางสไตลเสนบอกขนาดในแบบแปลนหมายเลข A-01 ซึง่ เราจะใชวิธีการเขียนเสนบอกขนาดใน


เลเอาทเปเปอรสเปส โดยมีขั้นตอนดังนี้

187. ในขณะที่พ้นื ทีว่ าดภาพยังปรากฏแบบแปลนหมายเลข A-01 สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสั่ง


Format4Layer แลวคลิกบนปุม สรางเลเยอรใหมชอื่ Dim รหัสสี Color = Red (สีแดง),
Linetype = Continuous, Lineweight = 0.18 mm. เพือ่ เก็บเสนบอกขนาด แลวคลิกบนปุม
กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน(Current layer)
188. ในขณะที่พื้นที่วาดภาพยังปรากฏแบบแปลนหมายเลข A-01 เริ่มสรางสไตลเสนบอกขนาด
โดยใชคําสัง่ Format4Dimension Style จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 8.3 สังเกตุวาสไตล

chap-18.PMD 596 13/10/2549, 1:38


597
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
ISO-25 เปนสไตลใชงาน ใหคลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค Create New Dimension
Style ดังรูปที่ 8.4 (ซาย) ใหพมิ พชื่อสไตล Architectural ใหแนใจวาแถบรายการ Used for
ปรากฏ All dimensions แลวคลิกบนปุม Continue จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 8.7 แสดงแถบ
คําสัง่ Line ในฟลด Dimension lines กําหนด Color = ByLayer, Linetype = ByLayer,
Lineweight = ByLayer, Baseline spacing = 6 ในฟลด Extension lines กําหนด Color =
ByLayer, Linetype ext line 1 = ByLayer, Linetype ext line 2 = ByLayer, Lineweight =
ByLayer,แลวคลิกแถบคําสัง่ Symbol and Arrow ในฟลด Arrow heads กําหนด First =
, Second = , Arrow size = 1.2 คลิกแถบคําสัง่ Text สรางสไตลตวั อักษร
Simplex โดยคลิกบนปุม เมือ่ ปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.5 คลิกปุม New จะปรากฏไดอะล็อค
ดังรูปที่ 7.6 พิมพชื่อสไตล Simplex ในอิดิทบอกซ Style name คลิกปุม OK เลือกฟอนท
จากแถบรายการ Font name คลิกบนปุม Apply และปุม Close คลิกบน
ปุม ของแถบรายการ Text style แลวเลือกสไตล Simplex ใหปรากฏบนแถบรายการ Text
Style กําหนดให Text color = Magenta, Text height = 2.5, Vertical = Above, Text Alignment
= Aligned with dimension line เลือกแถบคําสัง่ Fit กําหนดให Fit Options = Arrow ใหแนใจวา
Use overall scale of = 0.001 (หากชิ้นงานและตารางรายการแบบมีหนวยเปนมิลลิเมตรให
กําหนดคาเทากับ 1 แตในทีน่ ี้ ชิน้ งานและตารางรายการแบบมีหนวยเปนเมตร จึงตองกําหนดคา
เทากับ 0.001) แลวคลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Place text manually ซึง่ เราจะ
สามารถกําหนดตําแหนงตัวเลขบอกขนาดตามตําแหนงทีเ่ ราตองการไดอยางอิสระ เลือกแถบ
คําสัง่ Primary Units ในฟลด Linear dimensions ใหแนใจวา Unit format = Decimal, Precision
= 0.00 , Decimal Seperator = ‘.’ (Period) ปลดเครือ่ งหมาย ออกจากเช็คบอกซ Trialing
ในฟลด Zero supression เพือ่ แสดงเลข 0 (ศูนย) หลังจุดทศนิยม แลวคลิกปุม OK เพือ่ กลับไปยัง
ไดอะล็อค Dimension Style Manager ใหคลิกเพือ่ เลือกสไตล Architectural แลวคลิกบนปุม
Set Current เพือ่ กําหนดใหเปนสไตลเสนบอกขนาดใชงานและคลิกบนปุม Close เพือ่ ออกจาก
ไดอะล็อค แถบรายการควบคุมสไตลเสนบอกขนาด จะปรากฏ ซึง่ แสดงสไตล
เสนบอกขนาดใชงาน
189. เรียกเสนประเซ็นเตอรในเลเยอร CenterLine กลับมาปรากฏบนพืน้ ที่วาดภาพ โดยกอนอื่น
เขาสูโหมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส โดยคลิกบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิ้ล
คลิกภายในขอบเขตของวิวพอรท แลวละลายเลเยอร House|CenterLine คลิกปุม ไอคอน
ของเลเยอร House|CenterLine จนปรากฏเปน แลวเลือกเลเยอร Dim เพือ่ กําหนดใหเลเยอร
เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม เสนประเซ็นเตอรจะกลับมาปรากฏบนพืน้ ที่
วาดภาพ แตยงั คงปรากฏเปนเสนเต็ม คลิกบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้
คลิกภายนอกขอบเขตของวิวพอรท เพือ่ กลับสูโ หมดเลเอาทเปเปอรสเปส
190. ปรับสเกลเสนประใหม โดยพิมพ LTS หรือ LTSCALE ผานบรรทัด Command: แลวกําหนดคา
0.000314 เสนประเซ็นเตอรจะปรากฏเปนเสนประ โดยเสนขีดยาวของเสนประเซ็นเตอรจะมี
ความยาวประมาณ 10 มิลลิเมตรหรือ 0.01 เมตรพอดี จะปรากฏดังรูปที่ 18.78 (ซาย)

Note เหตุทเี่ สนประเซ็นเตอรไมปรากฏเปนเสนประตัง้ แตตอนตน เนือ่ งจากในแบบแปลนใชงานตัวแปรระบบ


LTSCALE นั้ นมีคาเทากั บ 1 และค าเริ่ มต นของเสนขีดยาวเส นประ CENTER ที่ ระบุไว ในไฟล
Acadiso.lin ในโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Application Data\Autodesk\
AutoCAD 2006\R16.2\enu\Support มีคา เทากับ 31.75 หนวย เนือ่ งจากชิน้ งานและตารางรายการแบบมี
หนวยเปนเมตร เสนขีดยาวจึงมีคาเทากับ 31.75 เมตร ในขณะที่ตารางรายการแบบที่เรากําลังใชงาน
มีขนาดเพียง 0.42x0.297 เมตร เราจึงเห็นเสนประปรากฏเปนเสนเต็ม หากเราตองการใหเสนขีดยาวของ
เสนประเซ็นเตอรปรากฏบนกระดาษเลเอาทมขี นาด 0.01 เมตรหรือ 10 มิลลิเมตร เนือ่ งจากแบบแปลนมี
หนวยเปนเมตร เราจึงตองนําคา 0.01 ไปหารดวย 31.75 เราจึงจะได 0.000314 ซึง่ สามารถนําไปกําหนด
ใหกบั ตัวแปรระบบ LTSCALE ได คา 0.000314 นีถ้ ือวาเปนคามาตรฐานของแบบแปลนทีม่ หี นวยเปน
เมตร เราสามารถนําไปใชงานในแบบแปลนอื่นๆ ที่มีหนวยเปนเมตรไดทันที

chap-18.PMD 597 13/10/2549, 1:38


598

รูปที่ 18.78
2D Drafting

Note หากเสนประปรากฏขาดหายไปบางชวงเนือ่ งจากถูกเสนของวัตถุตา งๆ ปดบัง หากเราตองการแกไข เรา


สามารถใชคําสั่ง Insert4Xref Manager คลิกบนชือ่ ไฟล House.dwg แลวคลิกบนปุม Open บน
ไดอะล็อค แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ เปดไฟล House.dwg ออกมาแกไข ละลายเลเยอร CenterLine โดยคลิก
บนไอคอน ของเลเยอร CenterLine จนกระทัง่ ปรากฏเปนไอคอน เสนประจะปรากฏบนพืน้ ที่
วาดภาพ แลวใชคําสั่ง Tools4Display Order4Bring to Front เลือกเสนประเซ็นเตอรทั้งหมด
เพื่อสงไปอยูดานหนาสุด แลวแชแข็งเลเยอร CenterLine ไวเชนเดิม โดยคลิกบนไอคอน ของ
เลเยอร CenterLine จนกระทั่งปรากฏเปนไอคอน แลวใชคําสั่ง File4Save เพื่อบันทึกการ
เปลีย่ นแปลงแลว ใชคําสัง่ File4Close เพือ่ ปดไฟล เมื่อกลับมายังแบบแปลนใชงาน เรียกคําสัง่ Insert
4Xref Manager คลิกบนชือ่ ไฟล House.dwg แลวคลิกบนปุม Reload แลวคลิกบนปุม OK เสนประ
เซ็นเตอรจะปรากฏอยางถูกตองดังรูปที่ 18.78 (ซาย) เนือ่ งจากรูปดานหนาของบานถูกเก็บในไฟลใชงาน
แบบเอกซเรฟ(External Reference) ดังนัน้ หากตองการแกไขสิ่งใดในไฟล House.dwg เราจะตองเปด
ไฟล House.dwg ออกมาแกไขตามวิธที ไี่ ดกลาวขางบนนี้ แลวจะตอง Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ นแปลง
ในไฟล เมื่อตองการใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในไฟลแบบแปลนใชงาน เราจะตองเรียกคําสั่ง Insert 4
Xref Manager คลิกบนชือ่ ไฟล House.dwg แลวคลิกบนปุม Reload จึงจะเกิดการเปลีย่ นแปลงในไฟล
แบบแปลนใชงาน อันที่จริง เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Xref and Block In-place Editing4Edit
Reference In-Place เพือ่ แกไขเปลีย่ นแปลงขอมูลในไฟลเอกซเรฟ โดยทีไ่ มตอ งเปดไฟลออกมาแกไข
ไดเชนเดียวกัน

Note เมือ่ เราสรางสไตลเสนบอกขนาดขึน้ มาแลว หากตองการนําไปใชกบั ไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ก็ใหเปดไฟล


แบบแปลนนัน้ ออกมาพรอมๆ กับเปดไฟลทมี่ สี ไตลเสนบอกขนาดตนแบบ เราจะสามารถใชคําสัง่ Tools
4DesignCenter แลวเลือกแถบคําสัง่ Open Drawings คลิกที่ Dimstyles แลวคลิกและลากสไตล
เสนบอกขนาด Architectural ไปปลอยในไฟลแบบแปลนอื่นไดโดยไมตองสรางสไตลใหม

Note กอนเขียนเสนบอกขนาด เราจะตองทําใหพนื้ ทีด่ า นลางของรูปที่ 18.78 (ซาย) ใหเปนพืน้ ทีว่ า ง โดยเคลือ่ น
ยายบล็อค Label Block และบล็อค Callout ลงดานลางใหมีพื้นที่เพียงพอสําหรับเขียนเสนบอกขนาด

191. เริ่มเขียนเสนบอกขนาด ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน และ


ใหแนใจวาเรากําลังอยูใ นโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยสังเกตุจากไอคอน ซึง่ ปรากฏเปนรูป
สามเหลีย่ ม ใหแนใจวาในคําสั่ง Tools4OptionsðUser Preferences ปรากฏเครือ่ งหมาย
บนเช็คบอกซ Make new dimension associative แลวเขียนเสนบอกขนาด โดยใชคําสั่ง
Dimension4Linear ใหปรากฏดังรูปที่ 18.78 (ขวา)

chap-18.PMD 598 13/10/2549, 1:38


599
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

Note หากชวงใดมีเสนบอกขนาดติดตอกัน เราสามารถใชคําสัง่ Dimension4Continue เพือ่ เขียนเสน


บอกขนาดแบบตอเนื่องได หากชวงใดมีเสนบอกขนาดซอนกัน เราสามารถใชคําสั่ง Dimension4
Baseline เพือ่ เขียนเสนบอกขนาดแบบซอนเปนระดับชัน้ ได

192. จากรูปที่ 18.78 แกไขสวนตอ(Extension lines)ของเสนบอกขนาดในแนวนอนทัง้ หมดใหมคี วาม


ยาวคงที่ โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกเสน
บอกขนาดแบบ Crossing เสนบอกขนาดทีถ่ กู เลือก จะปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน ใหเรียกคําสัง่
Modify4Properties คนหาและคลิกบนแถบรายการ Ext line fixed เลือก On จากแถบ
รายการ เพื่อเปดโหมดความยาวคงที่ แลวปอนคาความยาวของสวนตอเทากับ 5 หนวย ใน
อิดทิ บอกซ Ext line fixed length จะทําใหสว นตอ(Extension lines)ของเสนบอกขนาดมีความยาว
เทากันทัง้ หมด แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวัตถุ
193. จากรูปที่ 18.78 ลดขนาดของบล็อคสัญลักษณ Callout โดยในขณะที่ยังปรากฏหนาตาง
Properties ที่เรียกออกมาใชงานในขอทีแ่ ลว คลิกบนบล็อค Callout ตรงจุดที่ 3 จะปรากฏจุด
กริป๊ สสนี า้ํ เงินบนบล็อคทีถ่ กู เลือก ปรับ Scale X = 0.8, Scale Y = 0.8 แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิก
การเลือกวัตถุ จะปรากฏดังรูปที่ 18.79

รูปที่ 18.79

194. ใชคําสั่ง File4Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ นแปลงในไฟลแบบแปลน รูปตัวอยาง Preview


ของชีท A-01 - แบบแปลนแสดงรูปดานหนา บนหนาตาง Sheet Set Manager จะแสดง
ภาพฉายแบบแปลนอยางถูกตอง

Note เปนอันเสร็จสิ้นขัน้ ตอนการเขียนเสนบอกขนาดบนพื้นทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส อันทีจ่ ริง แบบแปลนที่


ปรากฏในรูปที่ 18.79 ยังไมสมบูรณนัก เนื่องจากยังขาดบล็อคสัญลักษณกําหนดแนว A, B, C, D, E,
F ดังรูปที่ 18.80 ซึ่งผูเขียนไมตองการที่จะอธิบายรายละเอียดในการสรางใหสิ้นเปลืองหนากระดาษ
เพราะมีขั้นตอนงายๆ เพียงเขียนดวยวงกลม โดยใชคําสั่ง Draw4Circle4Center, Radius
แลวเขียนตัวอักษรแอททริบิวตภายในวงกลม โดยใชคําสั่ง Draw4Block4Define Attributes
แลวจึงแปลงใหเปนบล็อคดวยคําสั่ง Draw4Block4Make แลวจึงนํามาสอดแทรกตามตําแหนง
ตางๆ โดยสามารถกรอกตัวอักษรในวงกลมผานไดอะล็อคไดอยางสะดวกดังรูปที่ 18.80

chap-18.PMD 599 13/10/2549, 1:39


600

รูปที่ 18.80

2D Drafting

Note หากผูอานไมตองการสรางบล็อคสัญลักษณ A, B, C, D, E, F ดวยตนเองดังรูปที่ 18.80 เราสามารถ


ใชคําสั่ง Tools4DesignCenter คนหาไฟล A-01 แบบแสดงรูปดานหนา.dwg จากโฟลเดอร
\Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื เลมนี้ แลวคนหาบล็อคชือ่ A-Symbol
คลิกและลากบล็อคดังกลาวไปปลอยบนพืน้ ทีว่ าดภาพของแบบแปลนใชงานไดทนั ที แตตอ งไมลมื ทีจ่ ะ
ใชคําสั่ง Format4Unit กําหนดหนวยวัด Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted contents
เสียกอน มิฉะนั้น บล็อคที่ไดอาจจะมีขนาดไมถูกตอง

Note หากตองการเขียนคําอธิบายหรือตัวอักษรตางๆ ลงบนแบบแปลน เราสามารถใชคําสัง่ Draw4Text4


Multiline Text หรือคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text เขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาท
เปเปอรสเปสดวยความสูงของตัวอักษรทีก่ ําหนดดวยขนาดจริงไดทนั ที เนือ่ งจากแบบแปลนมีหนวยวัด
เปนเมตร หากตองการเขียนตัวอักษรสูง 2 มิลลิเมตร ใหปอนคาความสูง 0.002 หนวย เปนตน

Note ตอไปเราจะเริม่ เขียนเสนบอกขนาดลงบนชีท A-02 แบบขยายประตูหนาตาง ดวยวิธกี ารเขียนเสนบอก


ขนาดในโมเดลสเปส ซึ่งจะมีความซับซอนและยุงยากมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเขียนบอกขนาดใน
เลเอาทเปเปอรสเปสทีไ่ ดแสดงขั้นตอนไปแลว โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

195. ใชคําสัง่ Window 4A-02 แบบขยายประตูหนาตาง จะปรากฏเลเอาทดงั รูปที่ 18.76

Note เพื่อไมใหเสียเวลาในการสรางสไตลเสนบอกขนาดใหม เราจะนําสไตลเสนบอกขนาด Architectural


และเลเยอร Dim ที่ไดสรางไวในไฟล A-01 แบบแสดงรูปดานหนา.dwg เขามาใชงานดังนี้

196. เรียกหนาตาง DesignCenter ออกมาใชงาน โดยใชคําสัง่ Tools4DesignCenter จะ


ปรากฏดังรูปที่ 11.4 คลิกบนแถบ Open Drawings เพื่อแสดงเฉพาะแบบแปลนที่กําลังเปด
ใชงาน แลวคนหาและคลิกบนเครื่องหมาย + ของไฟล A-01 แบบแสดงรูปดานหนา.dwg
คลิกหัวขอ Dimstyles คลิกและลากสไตลเสนบอกขนาด Architectural ไปปลอยบนเลเอาท

chap-18.PMD 600 13/10/2549, 1:39


601
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
A-02 แบบขยายประตูหนาตาง แลวคลิกหัวขอ Layers คลิกและลากเลเยอร Dim ไปปลอยบน
เลเอาท A-02 แบบขยายประตูหนาตาง กําหนดใหสไตลเสนบอกขนาด Architectural เปน
สไตลใชงาน โดยเลือก ในแถบรายการควบคุมสไตลเสนบอกขนาด แลว
กําหนดใหเลเยอร Dim เปนเลเยอรใชงาน โดยเลือก ในแถบรายการ
ควบคุมเลเยอร แลวปดหนาตาง DesignCenter

Note จากรูปที่ 18.76 เราจะเห็นวาในเลเอาทมีวิวพอรททั้งหมด 4 วิวพอรท ซึ่งใน 2 วิวพอรทมีมาตราสวน


1:25 และอีก 2 วิวพอรทมีมาตราสวน 1:40 ดังนัน้ กอนการเขียนเสนบอกขนาด เราจะตองคํานวณหา
สเกลแฟคเตอร(Overall scale)เสียกอน เราจะใชคา สเกลแฟคเตอร 0.001 ตามวิธเี ขียนเสนบอกขนาดใน
เลเอาทเปเปอรสเปสไมได เพราะเสนบอกขนาดในโมเดลสเปสจะแปรผันไปตามสเกลของวิวพอรท

197. คํานวณสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาดสําหรับมาตราสวน 1:25 ตามสูตรในหัวขอ 8.24.1


Overall scale=(Textsize*Scale factor)/2.5 หากตองการใหตวั เลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง
2.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (2.5*25)/2.5 จะได Overall scale =25
แตเนือ่ งจากแบบแปลนมีหนวยเปนเมตร ดังนัน้ ตองนําคา 25/1000 จึงไดเทากับ 0.025

Note หากตองการใหตัวเลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 2 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมื่อแทนคาสูตร


(2*25)/2.5 จะได Overall scale =20/1000 = 0.02 หากตองการใหตัวเลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง
1.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (1.5*25)/2.5 จะได Overall scale =15/1000 = 0.015

198. คํานวณสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาดสําหรับมาตราสวน 1:40 ตามสูตรในหัวขอ 8.24.1


Overall scale=(Textsize*Scale factor)/2.5 หากตองการใหตวั เลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง
2.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (2.5*40)/2.5 จะได Overall scale =40
แตเนือ่ งจากแบบแปลนมีหนวยเปนเมตร ดังนัน้ ตองนําคา 40/1000 จึงไดเทากับ 0.04

Note หากตองการใหตัวเลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 2 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมื่อแทนคาสูตร


(2*40)/2.5 จะได Overall scale =32/1000 = 0.032 หากตองการใหตวั เลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง
1.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (1.5*40)/2.5 จะได Overall scale =24/1000 = 0.024

Note คาตัวเลข 2.5 มาจากในสูตรไดมาจาก Text height ในคําสั่ง Format4Dimension Style ðModify
ðText หากมีการเปลีย่ นแปลงคา Text height เปนคาอื่น เราจะตองนําคานั้นมาใชในสูตรแทนคา 2.5

199. เริม่ เขียนเสนบอกขนาดเขาไปวิวพอรท แบบขยายประตู 1 ซึง่ มีมาตราสวน 1:25 ดังนัน้ เราจะ


ตองปรับคา Overall scale ใหเปน 25 โดยใชคาํ สัง่ Format4Dimension Style คลิกชือ่ สไตล
Architectural คลิกปุม Modify คลิกแถบคําสัง่ Fit กําหนดคา 0.025 ในอิดทิ บอกซ Use overall
scale of แลวออกจากไดอะล็อคทัง้ หมด เขาสูโ หมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส โดยคลิกบนปุม
บนบรรทั ดแสดงสถานะหรื อดั บเบิ้ ลคลิ กภายในขอบเขตของวิ วพอร ท แล วคลิกวิ วพอร ท
แบบขยายประตู 1 เคอรเซอรจะสามารถเลือ่ นไปมาไดในวิวพอรท สังเกตุวา จะปรากฏไอคอน
ทีม่ มุ ซายลางของวิวพอรท เริม่ เขียนเสนบอกขนาด โดยใชคําสัง่ Dimension4Linear
ใหปรากฏดังรูปที่ 18.81 (ซาย)

Note หากวิวพอรทมีขนาดเล็กหรือมีขนาดใกลเคียงกับชิน้ งานมากเกินไป ทําใหเราไมมพี นื้ ทีใ่ นการเขียนเสน


บอกขนาด เราจะตองกลับสูโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยคลิกบนปุม แลวละลายเลเยอร
Viewport โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Viewport จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน เสนกรอบ
วิวพอรทจะปรากฏบนเลเอาท เราสามารถคลิกใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวปรับขนาดวิวพอรทไดตาม
ตองการ แลวจึงกลับแชแข็งเลเยอร Viewport เสนกรอบวิวพอรทจึงจะถูกซอนเชนเดิม

chap-18.PMD 601 13/10/2549, 1:39


602

รูปที่ 18.81
2D Drafting

200. เขียนเสนบอกขนาดตอไป โดยคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 1 แลวใชคําสัง่ Dimension4


Linear ใหแนใจวาปรากฏไอคอน ที่มมุ ซายลางของวิวพอรท เขียนเสนบอกขนาด
ใหปรากฏดังรูปที่ 18.81 (ขวา)

Note ในขณะทีเ่ คอรเซอรเลือ่ นไปมาอยูใ นวิวพอรท หามมิใหใชคําสัง่ ZOOM ใดๆ เพราะจะทําใหมาตราสวน


ของวิวพอรทเปลีย่ นแปลง เนือ่ งจากเรายังมิไดลอ็ ควิวพอรท หากตองการล็อควิวพอรท กอนอืน่ จะตอง
กลับสูโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส แลวจึงละลายเลเยอร Viewport แลวใชคําสั่ง Modify4Properties
คลิกเสนกรอบวิวพอรททีต่ อ งการล็อคหรือคลิกบนเสนกรอบ วิวพอรททัง้ หมดทีต่ อ งการล็อคให
ปรากฏจุดกริ๊ปส เลือก Yes จากแถบรายการ Display locked แลวกดปุม D ตอไป เราจะสามารถ
ใชคําสั่ง ZOOM ไดอยางอิสระ โดยที่เราไมตองเกรงวาจะทําใหสเกลของวิวพอรทเปลี่ยนแปลง

201. เริม่ เขียนเสนบอกขนาดในวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 2 แตกอ นอืน่ เราจะตองสรางสไตลเสน


บอกขนาดใหม โดยคัดลอกสไตลเสนบอกขนาด Architectural มาใชงาน โดยใชคําสัง่ Format4
Dimension Style คลิกบนสไตลเสนบอกขนาด Architectural คลิกบนปุม New เมือ่ ปรากฏ
ไดอะล็อค Create New Dimension Style เปลีย่ นชือ่ สไตลเสนบอกขนาดเปน Architectural-2
ใหแนใจวาปรากฏ Architectural ในแถบรายการ Start with และปรากฏ All dimensions ใน
แถบรายการ Use for แลวคลิกบนปุม Continue คลิกแถบคําสัง่ Fit ปอนคา 0.04 ซึง่ คํานวณได
รูปที่ 18.82 จากขอ 198 เขาไปในอิดทิ บอกซ Use overall scale of แลวคลิกบนปุม OK เมือ่ กลับสูไ ดอะล็อค
Dimension Style Manager คลิกบนชื่อสไตล
Architectural-2 คลิกปุม Set Current เพือ่ กําหนด
ใหเปนสไตลใชงาน แลวออกจากไดอะล็อค แลว
คลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 2 เคอรเซอร
จะสามารถเลือ่ นไปมาไดในวิวพอรท สังเกตุวา จะ
ปรากฏไอคอน ที่ มุมซายล างของวิ วพอรท
เขียนเสนบอกขนาด โดยใชคําสั่ง Dimension4
Linear ใหปรากฏดังรูปที่ 18.82 (ซาย)
202. เขียนเสนบอกขนาดตอไป โดยคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 3 แลวใชคําสัง่ Dimension4
Linear ใหแนใจวาปรากฏไอคอน ที่มมุ ซายลางของวิวพอรท เขียนเสนบอกขนาด
ใหปรากฏดังรูปที่ 18.82 (ขวา)
Note อันทีจ่ ริงการเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส เราจะตองสรางเลเยอร Dim-1, Dim-2, Dim-3, Dim-
4 ตามจํานวนของวิวพอรท เพราะวาหากชิน้ งานทีเ่ ราใหขนาดอยูใ กลกนั มาก เสนบอกขนาดทีป่ รากฏใน
วิวพอรทหนึง่ จะไปปรากฏในอีกวิวพอรทหนึง่ ดวย เพราะเราสามารถกําหนดใหเลเยอรหนึง่ ใหปรากฏ
ในบางวิวพอรทและไมปรากฏในบางวิวพอรท โดยใช Freeze or thaw in current viewport
แตในแบบฝกหัดนี้ เราไมมีความจําเปนตองสรางเลเยอรเนื่องจากชิ้นงานมีระยะหางกันพอสมควร

chap-18.PMD 602 13/10/2549, 1:39


603
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
203. กลับสูโ หมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยคลิกบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้
คลิกภายนอกขอบเขตของวิวพอรท จะปรากฏดังรูปที่ 18.83

รูปที่ 18.83

204. ใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ น แปลงในไฟลแบบแปลน รูปตัวอยาง Preview


ของชีท A-02 - แบบขยายประตูหนาตาง บนหนาตาง Sheet Set Manager จะแสดงภาพฉาย
แบบแปลนอยางถูกตอง

Note เปนอันวาเราไดศกึ ษาการเขียนเสนบอกขนาดทัง้ 2 วิธคี อื การเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทเปเปอรสเปส


และการเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปสเสร็จสิ้นทั้ง 2 วิธีแลว ผูอานจะตองเลือกใชวิธีใดวิธีหนึ่ง
ในการเขียนแบบในงานจริง อยางไรก็ตาม เราจะเห็นวาการเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทนั้นสะดวก
และรวดเร็วกวาการเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส

205. ตอไปเราจะสรางชีท(Sheet)แผนใหมสําหรับสารบัญแบบ โดยในขณะทีป่ รากฏหนาตาง Sheet


Set Manager ใหคลิกขวาบนชือ่ ชีทเซท บานเดีย่ ว 2 ชัน้ ในชองหนาตาง Sheets แลวเลือกคําสัง่
New Sheet จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.84 (ซาย) พิมพหมายเลขแผน A-00 ในอิดทิ บอกซ
Number พิมพชอื่ ชีท สารบัญแบบ ในอิดิทบอกซ Sheet title โปรแกรมจะตั้งชื่อไฟล A-00
สารบัญแบบ.dwg ใหโดยอัตโนมัติ แลวคลิกบนปุม OK หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏ
ดังรูปที่ 18.84 (ขวา)

รูปที่ 18.84

chap-18.PMD 603 13/10/2549, 1:39


604

Note สารบัญแบบทีส่ รางจาก Sheet Set Manager คือตารางซึง่ แสดงรายชือ่ แบบแปลนทัง้ หมดทีม่ ีชอื่ ปรากฏ
อยูบนชองหนาตาง Sheet Set Manager โดยอัตโนมัติ หากมีการเพิ่มเติมชีทแผนใหม(New Sheet)
2D Drafting
หรือมีการเปลีย่ นชือ่ ชีทหรือเปลี่ยนหมายเลขแผน(Rename & Renumber) หรือลบชีท(Remove Sheet)
ออกจาก Sheet Set Manager เราสามารถปรับปรุง(Update)ตารางสารบัญแบบตามการเปลีย่ นแปลงไป
ดวย เพียงแตคลิกขวาบนตารางสารบัญแบบแลวเลือกคําสั่ง Update Sheet List Table เทานัน้ การสราง
ตารางสารบัญแบบดวย Sheet Set Manager จึงชวยใหเราประหยัดเวลาไมตอ งพิมพรายชื่อแบบแปลน
จํานวนมากเขาไปในตารางสารบัญแบบ เพราะโปรแกรมจะจัดการนํารายชื่อและหมายเลขแผนจาก
Sheet Set Manager มาสอดแทรกบนตารางสารบัญแบบโดยอัตโนมัติ และยังเชือ่ มโยงความสัมพันธกบั
รายชื่อแบบแปลนทั้งหมดที่ปรากฏอยูใน Sheet Set Manager อีกดวย

206. จากรูปที่ 18.84 (ขวา) เรียงลําดับสารบัญแบบใหม โดยคลิกและลากชีท A-00 - สารบัญแบบ


บนชองหนาตาง Sheets บนหนาตาง Sheet Set Manager ไปปลอยบนชีทเซท บานเดีย่ ว 2 ชัน้
ชีท A-00 - สารบัญแบบ จะยายไปอยูลาํ ดับบนสุดดังรูปที่ 18.85 (ซาย)

รูปที่ 18.85

207. จากรูปที่ 18.85 (ขวา) คลิกขวาบนชือ่ ชีท A-00 สารบัญแบบ แลวเลือกคําสัง่ Open จะปรากฏ
ตารางรายการแบบเปลาๆ ดังรูปที่ 18.85 (ขวา)
208. จากรูปที่ 18.85 (ซาย) สรางตารางสารบัญแบบ โดยคลิกขวาบนชื่อชีทเซท บานเดี่ยว 2 ชั้น
ในชองหนาตาง Sheets บนหนาตาง Sheet Set Manager แลวเลือกคําสัง่ Insert Sheet List
Table จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.86 คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Show
Subheader เพือ่ แสดงชื่อกลุมยอยบนตารางและจัดชีทตางๆ ใหอยูใ นกลุม พิมพชื่อตาราง
ตารางสารบัญแบบ ในอิดิทบอกซ Title Text แกไข Heading text ในชองหนาตาง Column
Settings ให Sheet Number เปน หมายเลขแผน และ Sheet Title เปน ชือ่ แบบแปลน ตามลําดับ

รูปที่ 18.86

chap-18.PMD 604 13/10/2549, 1:39


605
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม
แลวคลิกบนปุม เพือ่ กําหนดสไตลตารางใหม จะปรากฏไดอะล็อค Table Style ดังรูปที่ 5.20
(1) คลิก บนปุม New เพือ่ สรางสไตล ตารางใหม จะปรากฏไดอะล็อค Create New Table Style
ดังรูปที่ 5.20 (2) ใหพมิ พชื่อสไตล SheetListTable แลวคลิกบนปุม Continue จะปรากฏ
ไดอะล็อคดังรูปที่ 5.20 (3) แสดงแถบ Data เปนแถบใชงาน เราจะตองกําหนดคาตางๆ ดังนี้
Text style = AngsanaUPC, Text height = 0.004, Text color = Magenta, Fill color = None,
Alignment = Middle Center, Grid lineweight = ByLayer, Grid color = ByLayer, Table
direction = Down, Cell magins Horizontal = 0.004, Cell magins Vertical = 0.004 แลวคลิก
แถบ Column Heads ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Include Header rows
แลวกําหนดคาตางๆ ดังนี้ Text style = AngsanaUPC, Text height = 0.0045, Text color =
Red, Fill color = None, Alignment = Middle Center, Grid lineweight = ByLayer, Grid color
= ByLayer, Table direction = Down, Cell magins Horizontal = 0.004, Cell magins Vertical
= 0.004 แลวคลิกแถบ Title ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Include Title row
แลวกําหนดคาตางๆ ดังนี้ Text style = AngsanaUPC, Text height = 0.007, Text color =
Blue, Fill color = Yellow, Alignment = Middle Center, Grid lineweight = ByLayer, Grid color
= ByLayer, Table direction = Down, Cell magins Horizontal = 0.004, Cell magins Vertical
= 0.004 แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค คลิกบนชือ่ SheetListTable แลวคลิกปุม
Set Current เพื่อกําหนดใหเปนสไตลตารางใชงาน แลวคลิกบนปุม Close เมื่อกลับไปยัง
ไดอะล็อคดังรูปที่ 18.86 ใหแนใจวาสไตลตาราง SheetListTable ปรากฏบนแถบรายการ Table
Style name แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อคเตือนวาสารบัญแบบจะถูกสรางโดย
อัตโนมัตจิ ากรายชือ่ ชีทใน Sheet Set ถาหากเราแกไขตารางสารบัญแบบดวยตนเองโดยไมผา น
Sheet Set Manager รายชือ่ แบบแปลนจะหายไปจากตารางสารบัญแบบเมือ่ มีการปรับปรุง
ดวยคําสัง่ Update Sheet List Table คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Don’t show
me this again เพือ่ ไมใหแสดงไดอะล็อคเตือนในครัง้ ตอไป ใหคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ
Specify insertion point: ใหแนใจวาเรากําลังอยูใ นโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยสังเกตุจาก
ไอคอน ซึง่ ปรากฏเปนรูปสามเหลีย่ ม แลวคลิกตรงจุดที่ 1 ของรูปที่ 18.85 (ขวา) จะปรากฏ
ตารางสารบัญแบบดังรูปที่ 18.87 (ซาย)

รูปที่ 18.87

Note จากรูปที่ 18.87 (ซาย) เราจะสังเกตุเห็นวาไมปรากฏชื่อกลุมยอย แบบวิศวกรรม เนื่องจากในกลุม


แบบวิศวกรรมยังไมมชี ที อยูใ นกลุม ดังนัน้ เราจะทดลองสรางชีทแผนใหมในกลุม แบบวิศวกรรม ดังนี้

209. จากรูปที่ 18.87 (ขวา) คลิกขวาบนชื่อกลุม แบบวิศวกรรม แลวเลือกคําสั่ง New Sheet


จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.84 (ซาย) พิมพหมายเลขแผน S-01 ในอิดิทบอกซ Number
พิมพชอื่ ชีท แบบแปลนเสาและฐานราก ในอิดิทบอกซ Sheet title โปรแกรมจะตั้งชือ่ ไฟล
S-01 แบบแปลนเสาและฐานราก.dwg ใหโดยอัตโนมัติ แลวคลิกบนปุม OK หนาตาง Sheet
Set Manager จะปรากฏดังรูปที่ 18.88 (ซาย)

chap-18.PMD 605 13/10/2549, 1:39


606

รูปที่ 18.88

2D Drafting

Note หลังจากที่เราไดเพิ่มชีทแผนใหม S-01 - แบบแปลนเสาและฐานราก เขาไปในกลุม แบบวิศวกรรม


แลว แตบนตารางสารบัญแบบยังไมปรากฏการเพิม่ ชือ่ ชีทแผนใหม เราสามารถปรับปรุง(Update)การ
เปลี่ยนแปลงขอมูลในตารางสารบัญแบบใหตรงกับรายชื่อ Sheet ทั้งหมดที่อยูใน Sheet Set Manager
ดังนี้

210. จากรูปที่ 18.87 (ซาย) ในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิก ณ จุดใดๆ บน
ตารางสารบัญแบบใหปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงิน แลวคลิกขวาบนตารางสารบัญแบบ จะปรากฏ
ช็อทคัทเมนู ใหเลือกคําสัง่ Update Sheet List Table ตารางสารบัญแบบจะไดรบั การปรับปรุง
เพิม่ ชีทแผนใหมเขาไปในตารางดังรูปที่ 18.88 (ขวา) และรูปที่ 18.89

Note หากตอไปมีชที แผนใหมเพิม่ เติมขึน้ มาในหนาตาง Sheet Set Manager อีก เราก็สามารถปรับปรุงขอมูล
ในตารางสารบัญแบบใหเปลีย่ นแปลงตามแบบแปลนใหมทเี่ พิ่มขึ้นไดอยางสะดวกและรวดเร็ว

รูปที่ 18.89

Note หลังจากที่ไดสรางชีทใหม โดยเลือกจากกลุมหรือซับเซท แบบวิศวกรรม เราจะสังเกตุเห็นวาชีท


S-01 - แบบแปลนเสาและฐานราก จะถูกสรางขึ้นอยูในซับเซท แบบวิศวกรรม ดังรูปที่ 18.88 (ซาย)
หากเราตองการยายกลุม เราสามารถทําได โดยคลิกและลากบนชีทไปปลอยในซับเซทกลุม ใหมไดตาม
ตองการ

chap-18.PMD 606 13/10/2549, 1:39


607
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

Note หลังจากที่เราไดสรางภาพฉายดวยคําสั่ง Place on Sheet แลว เราสามารถคลิกแถบคําสั่ง View List


เพือ่ ดูรายชือ่ ภาพฉายที่มอี ยูท ั้งหมดใน Sheet Set Manager ดังรูปที่ 18.90 (ซาย) หากตองการแสดงภาพ
ฉายใดบนพื้นทีว่ าดภาพ เราสามารถคลิกขวาบนชื่อภาพฉาย แลวเลือกคําสัง่ Display โปรแกรมจะทํา
การเปดไฟล .dwg ที่มีภาพฉายนั้นออกมา แลวแสดงภาพฉายนั้นบนพื้นที่วาดภาพ ดวยวิธีนี้ เราจะ
สามารถคนหาและเรียกภาพฉายในแบบแปลนออกมาใชงานไดอยางรวดเร็ว

รูปที่ 18.90

Note จากตัวอยางการใชงาน Sheet Set ในแบบฝกหัดนี้ เราจะเห็นไดวา การใช Sheet Set Manager ชวยใน
การนําตารางรายการแบบเขามาใชงาน จัดหนากระดาษ สรางวิวพอรทและกําหนดมาตราสวนจะ
คอนขางสะดวกกวาวิธกี ารเขียนแบบและจัดหนากระดาษแบบธรรมดาเปนอยางมาก หากมีชีทจํานวน
มาก เราจะสามารถจัดการกับชีทตางๆ ไดโดยงาย เพราะสามารถควบคุมไดจาก Sheet Set Manager
เพียงจุดเดียว นอกจากนี้ เรายังสามารถสัง่ พิมพชที (Sheet)ทุกแผนโดยคลิกขวาบนชือ่ ชีทเชท บานเดีย่ ว
2 ชั้น แลวใชคําสั่ง Publish4Publish to Plotter หรือสั่งพิมพเฉพาะแบบแปลนทุกแผนที่อยูในกลุม
โดยคลิกขวาบนชื่อกลุม แลวเลือกคําสั่ง Publish4Publish to Plotter ไดเชนเดียวกัน ถาหากตอง
การพิมพชที (Sheet)บางแผนไมวา ชีทนัน้ จะอยูใ นกลุม หรือในซับเซทใด เราสามารถกดปุม E คางไว
แลวคลิกเพื่อเลือกแบบแปลนบางแผนหรือหลายแผนที่ตอ งการพิมพ แลวคลิกขวาบนชีททีถ่ ูกเลือก
แลวเลือกคําสั่ง แลวเลือกคําสั่ง Publish4Publish to Plotter ไดเชนเดียวกัน

Note หากเราตองการแกไขขอมูลตัวอักษรในตารางรายการแบบในระดับ Sheet Set หรือในระดับ Sheet


ก็สามารถทําไดโดยถาตองการแกไขในระดับ Sheet Set นั่ นหมายถึงขอมูลตัวอักษรของชีท ทุกๆ
แผนจะเปลี่ยนแปลงเหมือนกันทัง้ หมดโดยอัตโนมัติ อาทิ เชน หากตองการแกไขชื่อเจาของโครงการ
ซึ่งชีททุกแผนจะตองมีชื่อเจาของโครงการเหมือนกัน เราสามารถทําไดโดยคลิกขวา บนชื่อชีทเซท
บานเดี่ยว 2 ชั้น ในแถบคําสั่ง Sheet List แลวเลือกคําสั่ง Properties เมื่อปรากฏไดอะล็อค Sheet Set
Properties คนหาฟลดขอมูล Owner แลวแกไขขอมูลใหมไดตามตองการ ขอมูลของชีททุกแผนทีอ่ ยูใ น
Sheet Set Manager จะไดรับการเปลีย่ นแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ แตถาเราตองการแกไขขอมูล
ตัวอักษรในตารางรายการแบบของชีทเฉพาะบางแผน ใหคลิกขวาบนชื่อชีท (ในชีทเซทบานเดี่ยว 2
ชัน้ เรามีชที A-01 - แบบแสดงรูปดานหนา, A-02 - แบบขยายประตูหนาตาง) แลวเลือกคําสัง่ Properties
เราสามารถแกไขชือ่ Approver, Draftman, Inspector ใหแตกตางหรือไมใหเหมือนกับขอมูลในชีทแผน
อื่นๆ ได (ถามี) ซึ่งการที่เราจะกําหนดวาขอมูลใดสามารถอับเดทชีททุกแผนเหมือนกันทั้งหมดและ
ขอมูลใดจะอับเดทเฉพาะชีทบางแผน เราจะตองกําหนดในขั้นตอนการสรางฟลดขอมูลตัวอักษรใน
ชีทเซทดังตัวอยางในบทที 17

chap-18.PMD 607 13/10/2549, 1:39


608

Note ในการสรางชีทแผนที่ 3 หรือแผนที่ 4 หรือแผนตอๆ ไป เราจะตองเขียนเฉพาะชิ้นงานในโมเดลสเปส


ดวยขนาดจริง 1 หนวย เทากับ 1 เมตร แลวใชคําสัง่ View4Named Views บันทึกมุมมองภาพฉาย
2D Drafting
View name และกําหนดกลุมยอย Category แลวบันทึกลงในไฟล .dwg ในโฟลเดอรที่กําหนดใน
แถบคําสั่ง Resource Drawings เสียกอน แลวจึงใชคําสั่ง New Sheet เพือ่ สราง Sheet แผนใหม แลวจึง
เปด Open ชีทใหม ออกมาสรางภาพฉายและกําหนดสเกลดวยคําสั่ง Place on sheet แลวจึงบันทึก
Save การเปลีย่ นแปลงบนชีท รายชือ่ ชีทแผนใหมจะปรากฏบน Sheet List และรายชือ่ ภาพฉายจะปรากฏ
เพิ่มเติมใน View List ใน Sheet Set Manager โดยอัตโนมัติ

211. ใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ น แปลงในไฟลแบบแปลน รูปตัวอยาง Preview


ของชีท A-00 - สารบัญแบบ บนหนาตาง Sheet Set Manager จะแสดงภาพฉายแบบแปลน
อยางถูกตอง
เปนอันวาเราไดศกึ ษาแนวทางการใชงาน Sheet Set Manager มาจนครบถวนทัง้ หมดแลว ผูเ ขียนหวังเปนอยางยิง่ วา
ผูอา นจะสามารถนําแนวทางปฏิบตั ิในแบบฝกหัดนีไ้ ปประยุกตใชงานในการสรางแบบแปลนหรือชีท(Sheet)ตางๆ
ภายในชีทเซท(Sheet Set)ของตนเอง ในปจจุบนั Sheet Set Manager เริม่ เปนทีร่ จู กั และเริม่ ใชงานกันแพรหลายบางแลว
เนือ่ งจากผูใ ช AutoCAD เริม่ รูจ กั และเขาใจถึงประสิทธิภาพและความสะดวกรวดเร็วในการจัดการแบบแปลนมากขึน้
ในอนาคต หากเราไมรจู กั วิธกี ารใชงาน Sheet Set Manager จะเปนอุปสรรคอยางยิง่ ตอการทํางาน เนือ่ งจาก Sheet
Set Manager จะเปนมาตรฐานใหมแหงการเขียนแบบ ซึง่ ชวยใหการจัดการแบบแปลนจํานวนมากทีม่ อี ยูใ นโครงการ
หนึง่ ๆ สามารถทําไดโดยงายและรวดเร็ว ดังนัน้ ตอไปจะไมมนี กั เขียนแบบคนใดทีไ่ มรจู กั การใช Sheet Set Manager
อนึง่ การใชงาน Sheet Set Manager ในแบบฝกหัดนีม้ ไิ ดเปนเพียงจุดเริม่ ตนในการศึกษา Sheet Set Manager เทานัน้
เนือ่ งจากมีการอธิบายขัน้ ตอนการใชงาน Sheet Set Manager อยางละเอียด หากผูอ า นไดปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนตางๆ
ในแบบฝ กหั ดอย างละเอี ยดก็ จะสามารถเข าใจและสามารถนําแนวทางไปประยุ กต ใช ในงานจริ งได อย างมี
ประสิทธิภาพ เนือ่ งจากผูเขียนไดอธิบายจุดสําคัญตางๆ อาทิ เชน การสรางสารบัญแบบ การเขียนเสนบอกขนาด
การสอดแทรกบล็อค Label block for view และการสอดแทรกบล็อค Callout ไวในแบบฝกหัดนีไ้ วอยางครบถวน
*****************************************************

chap-18.PMD 608 13/10/2549, 1:39

Anda mungkin juga menyukai