Anda di halaman 1dari 232

ศักดา สรรพปัญญาวงศ์ CFP®

www.a-academy.net
แนะนาวิทยากร
ศักดา สรรพปัญญาวงศ์ CFP®
 ผู้ก่อตั้ง เว็บไซต์ A-Academy : A Free Lifelong Learning Academy
เว็บไซต์ท่สี ่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning)
โดยเฉพาะเรื่อง “ความรู้ทางการเงินภาคปฏิบัติ”
 วิทยากร สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC)
หลักสูตร CFP®, Asset Allocation, Investment Planning
และ Refresher Course อื่นๆ
 ผู้แต่ง หนังสือ “คนไทยฉลาดการเงิน”
และ “จัดทัพลงทุน ตอน รวยแบบอัตโนมัติ”
 นักวางแผนการเงินคุณวุฒิวิชาชีพ CFP®
(Certified Financial PlannerTM)

13/08/2016 2
เรียนการเงินการลงทุนบน

Watch Time

25
ล้ านนาที

Video Views

140,000
ครัง้ /เดือน

13/08/2016 3
19/06/2016 4
เงิน! เรื่องใหญ่... ที่โรงเรียนไม่เคยสอน

19/06/2016 5
The Need
ความจาเป็นที่ทุกคนต้องเผชิญ

10/08/2016 6
ต้องมีเท่าไร
แก่ไป... ถึงไม่ลาบาก ?
19/06/2016 7
ลองคานวณ... แบบง่ายๆ

20,000 x 12 x 20
บาท/เดือน เดือน ปี

19/06/2016 8
อัตราเงินเฟ้อ! ในชีวิตประจาวัน
ราคาต่อหน่วยบริโภค ราคาเพิ่มขึ้น อัตราเงินเฟ้อ
สินค้า
ธ.ค. 45 ธ.ค. 57 (ใน 12 ปี) (% ต่อปี)

บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป รสหมูสับ
บรรจุซอง 60 กรัม (ตรามาม่า)
4.82 5.92 23% 1.7%
เนื้อสุกร สันใน 96.00 152.87 59% 4.0%
ข้าวสารเจ้า ข้าวหอมมะลิ 100%
บรรจุถุง 5 กก. (ตรามาบุญครอง)
112.00 211.77 89% 5.5%
น้ามันดีเซล ชนิดหมุนเร็ว
(ตรา ปตท.)
13.86 27.60 99% 5.9%
ค่าห้องพักคนไข้ โรงพยาบาลเอกชน
ห้องพิเศษเดี่ยวปรับอากาศ
1,561.25 3,433.33 120% 6.8%
ที่มา : สานักดัชนีเศรษฐกิจการค้า สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงพาณิชย์

19/06/2016 9
เงินเฟ้อ! = ภัยซ่อนเร้น… ศัตรูตัวจริงของทุกคน
11.5 ล้านบาท
2.4

8.6 ล้านบาท
1.8
6.2 ล้านบาท
1.3
4.8 ล้านบาท
1.0
0 5 10 15 20 25 30 35
สมมติฐาน : อัตราเงินเฟ้อระยะยาว = 3.0% ต่อปี
19/06/2016 10
The Want
ความสุขที่หลายคนถวิลหา

10/08/2016 11
งาน

สังคม เงิน

ความสุข
สุขภาพ
ครอบครัว
กาย

สุขภาพ
ใจ

10/08/2016 12
อยากมี อิสรภาพทางการเงิน ?

19/06/2016 13
ตัวชี้วัด อิสรภาพทางการเงิน (เชิงตัวเลข)

(รายรับ) (รายจ่าย)

19/06/2016 14
สร้างคุณค่า สร้างทรัพย์สิน
19/06/2016 15
ใช้ทรัพย์สินสร้าง “กระแสเงินสด” เพื่อใช้เป็นรายได้

ทรัพย์สิน 6% Passive Income

1 ล้านบาท 5,000
4 ล้านบาท 20,000
10 ล้านบาท 50,000
20 ล้านบาท 100,000
19/06/2016 16
The How
วางแผนการเงินเพื่อบรรลุเป้าหมาย

10/08/2016 17
แล้วเราจะพึ่งใครได้... ?

19/06/2016 18
สร้าง รากฐานทางการเงิน ที่มั่นคงด้วยตนเอง

คิดเรื่องเงิน มีเป้าหมาย
อย่างถูกต้อง เป็นศูนย์กลาง
ทัศนคติ เป้าหมาย
Financial
Foundation

ความรู้

ประยุกต์ใช้ “ความรู้ทางการเงิน” ได้ถูกต้อง ครอบคลุม เป็นระบบ


19/06/2016 19
เข็มทิศสู่ความสาเร็จทางการเงิน... อยู่ไม่ไกลเราเลย
19/06/2016 20
มีเป้าหมาย : เราต้องการอะไรในชีวิตบ้าง ?

19/06/2016 21
ตั้งเป้าหมายที่ดี : 3 คาถาม ต่อ 1 ความฝัน

1. อะไร ? ทุนเกษียณ

2. เท่าไร ? 10 ล้านบาท
3. เมื่อไร ? 25 ปี
19/06/2016 22
Workshop #1 : ตั้งเป้าหมายทางการเงินและวางแผนชีวิต

20k 22k 25k 28k 35k 40k 45k 50k 60k 65k 80k 200k 250k
- 30k 60k 100k 150k 200k 250k 300k 350k 400k 500k 7,000k 15,000k
บุตร - - - - - - - - - - 1
การศึกษา ป.ตรี ป.โท
น้าหนัก 80 78 75 73 70

2,500k
ดาวน์ 500k
ผ่อน 30 ปี x 12,000

300k 850k 500k 2,000k 15,000k


ปีละ 150k ดาวน์ 200k
ผ่อน 7 ปี x 9,000

25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 52 60 80
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2585 2593 2613

19/06/2016 23
Workshop #1 : ตั้งเป้าหมายทางการเงินและวางแผนชีวิต

19/06/2016 24
Workshop #1 : ตั้งเป้าหมายทางการเงินและวางแผนชีวิต

19/06/2016 25
“A goal without a plan is just a wish.”
เป้าหมายที่ไร้แผนรองรับ ไม่ต่างจากการฝันลมๆ แล้งๆ

19/06/2016 26
Roadmap สู่ความมั่นคงและความมั่งคั่งที่ยั่งยืน
 ลงทุนเพื่อเตรียมเงินทุนสาหรับการเกษียณอายุ เป็นลาดับแรก
ทิศทาง
สาคัญกว่า  ลงทุนเพื่อบรรลุเป้าหมายสาคัญในชีวติ เป็นลาดับถัดมา
ความเร็ว ต่อยอด  เงินเหลือจึงใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ หรือแบ่งปันสังคม

 มีเงินทุนสารอง พอใช้อย่างน้อย 3-6 เดือน


รักษา  มีประกันชีวิต/ประกันภัย เพียงพอรับความเสี่ยง
 ใช้ชีวติ สมดุล ใส่ใจสุขภาพ อาหาร วิถชี วี ิต

สร้าง
 แปลงแรงกายแรงสติปัญญาเป็นทุน
 รักษาสมดุลใช้จ่าย มีเงินเหลือเก็บ
 กาจัดหนีเ้ ลว กากับหนี้ดี

19/06/2016 27
Wealth Creation
เริ่มต้นสร้างฐานะ

28
Roadmap บริหารเงินและจัดการหนี้สินช่วงสร้างฐานะ
มีความรู้พื้นฐาน

รู้จักตนเอง
ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้
ชาระหนีข้ ั้นต่าไม่ได้

ลดรายจ่าย ปรับโครงสร้างหนี้
จัดลาดับชาระหนี้ หยุดชาระชั่วคราว
(มีแผนการชาระ) เพิ่มรายได้ จาหน่ายทรัพย์สิน (สะสมไว้ชาระภายหลัง)

ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้ ชาระหนี้ขนั้ ต่าไม่ได้

เตรียมเงินสารอง ออมและลงทุน ฉลาดการเงิน


เป็นภูมิคุ้มกัน เป็นหลักประกันชีวิต ใช้ชวี ิตอย่างพอเพียง

03/07/2016 29
“The first step toward change is awareness.”
ขั้นตอนแรกที่นาสู่การเปลี่ยนแปลง คือการตระหนักรู้

19/06/2016 30
สารวจตัวเองผ่านงบดุล (Balance Sheet)

สินทรัพย์ หนี้สิน

สินทรัพย์สภาพคล่อง หนี้สนิ ระยะสั้น


- เงินสด / เงินฝาก - บัตรเครดิต / บัตรกดเงินสด / สินเชื่อบุคคล
- กองทุนรวมตลาดเงิน / ตราสารหนี้ระยะสั้น - หนีน้ อกระบบ

สินทรัพย์ลงทุน (สร้างรายได้ + เพิ่มค่า) หนี้สนิ ระยะยาว


- กองทุนรวม / กองทุน LTF / RMF - หนี้รถ / หนีบ้ ้าน
- พันธบัตร / ตราสารหนี้ / หุน้
- ประกันชีวติ / อสังหาริมทรัพย์ / ที่ดนิ
- กองทุนสารองเลี้ยงชีพ / กบข.
ความมั่งคั่งสุทธิ
สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว
(Net Worth)
- บ้าน / คอนโด / ที่พักอาศัย
- รถยนต์

19/06/2016 31
เส้นทางการเงินของคน 3 กลุ่ม
รายรับ
-
รายจ่าย ยังมีปัญหา

ขาดทุน

03/07/2016 32
ตัวอย่าง งบดุลของผู้ที่มีปัญหาทางการเงิน #1
สินทรัพย์ หนี้สิน
สินทรัพย์สภาพคล่อง หนี้สนิ ระยะสั้น
30,000 100,000
สินทรัพย์ลงทุน (สร้างรายได้ + เพิ่มค่า) หนี้สนิ ระยะยาว
5,000 400,000
สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว ความมั่งคั่งสุทธิ
600,000 135,000
รวม = 635,000 รวม = 635,000
03/07/2016 33
ตัวอย่าง งบดุลของผู้ที่มีปัญหาทางการเงิน #2
สินทรัพย์ หนี้สิน
สินทรัพย์สภาพคล่อง หนี้สนิ ระยะสั้น
50,000 1,000,000
สินทรัพย์ลงทุน (สร้างรายได้ + เพิ่มค่า) หนี้สนิ ระยะยาว
200,000 3,000,000
สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว ความมั่งคั่งสุทธิ
4,000,000 250,000
รวม = 4,250,000 รวม = 4,250,000
03/07/2016 34
เส้นทางการเงินของคน 3 กลุ่ม
รายรับ
-
รายจ่าย ยังมีปัญหา

ขาดทุน
รายรับ
-
ซื้อทรัพย์สิน
รายจ่าย พายเรือในอ่าง
(ใช้ส่วนตัว)
กาไร
ซื้อทรัพย์สิน มีหลักประกัน
(ออมและลงทุน) ในอนาคต

03/07/2016 35
ตัวอย่าง งบดุลของผู้ที่อาจยังไม่ไปไหนไกล...
สินทรัพย์ หนี้สิน
สินทรัพย์สภาพคล่อง หนี้สนิ ระยะสั้น
150,000 20,000
สินทรัพย์ลงทุน (สร้างรายได้ + เพิ่มค่า) หนี้สนิ ระยะยาว
50,000 4,000,000
สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว ความมั่งคั่งสุทธิ
5,000,000 1,180,000
รวม = 5,200,000 รวม = 5,200,000
03/07/2016 36
ตัวอย่าง งบดุลของผู้ที่มีอนาคตไกล
สินทรัพย์ หนี้สิน
สินทรัพย์สภาพคล่อง หนี้สนิ ระยะสั้น
200,000 20,000
สินทรัพย์ลงทุน (สร้างรายได้ + เพิ่มค่า) หนี้สนิ ระยะยาว
2,000,000 2,000,000
สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว ความมั่งคั่งสุทธิ
3,000,000 3,680,000
รวม = 5,200,000 รวม = 5,200,000
03/07/2016 37
แผนการจัดการหนี้สิน : กาจัดหนี้เลว + กากับหนี้ดี

03/07/2016 38
หนี้ดี
สร้างรายได้ (ประโยชน์) มากกว่ารายจ่าย (โทษ)

หนี้เลว
สร้างรายจ่าย (โทษ) มากกว่ารายได้ (ประโยชน์)

03/07/2016 39
อานุภาพ ด้านลบ ของดอกเบี้ยเงินกู้
1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี

หนี้บ้าน 6% 106 112 119 126

หนี้ธุรกิจ 8% 108 117 126 136

บัตรเครดิต 20% 120 144 173 207


สินเชื่อบุคคล 28% 128 164 210 268
นาโนไฟแนนซ์ 36% 136 185 252 268

03/07/2016 40
หนี้บ้าน
วงเงินกู้ สูง (อาจถึง 100% ของราคาบ้าน)

สินทรัพย์ค้าประกัน ที่อยู่อาศัย

อัตราดอกเบี้ย ต่า (มักมีเงื่อนไขพิเศษ ในปีแรกๆ)

การคานวณดอกเบี้ย แบบลดต้นลดดอก

ระยะเวลากู้สูงสุด 30 ปี (รวมกับอายุผู้กู้ต้องไม่เกิน 65-70 ปี)

03/07/2016 41
องค์ประกอบของค่างวด สาหรับหนี้แบบ ลดต้นลดดอก

ค่างวด (ลดต้นลดดอก)

ลด
ปีแรกๆ ดอกเบี้ย ต้น

ปีกลางๆ ดอกเบี้ย ลดต้น


ดอก
ปีหลังๆ เบี้ย ลดต้น (ใช้คืนหนี้)

03/07/2016 42
แนวคิด การก่อหนี้บ้านให้เกิดประโยชน์
 เป็นการตัดสินใจระยะยาว
ตัดสินใจแล้วเปลี่ยนยาก... ไม่ควรรีบ
 ต้องคานึงถึง วิถีชีวิต + คู่ชวี ติ ด้วย
 อย่าลืมคิดเรื่องการเดินทาง
ทั้ง ค่าใช้จ่าย และ ระยะเวลา
 อยู่กับพ่อแม่ไปก่อน ช่วยประหยัด
 เช่าอยู่... ได้ความยืดหยุ่น ได้โอกาสเลือก
 กู้ยาวสุดเพื่อให้ผอ่ นรายเดือนขัน้ ต่าน้อย...
แต่สามารถตั้งใจจ่ายมากเหมือนคนกูส้ นั้ ได้
 หาโอกาส Refinance ทุกๆ 3 ปี
เพื่อปรับอัตราดอกเบีย้ และค่างวดใหม่

03/07/2016 43
โปะหนี้บ้านบ้าง... ตามโอกาสและกาลังที่มี
ตัวอย่าง กูเ้ งินซื้อบ้าน 2,000,000 บาท ผ่อนชาระ 30 ปี ดอกเบี้ย 6.00%

ชาระเพิ่มขึ้น (บาท/เดือน) +0 +500 +1,000 +2,000

ชาระต่อเดือน (บาท/เดือน) 12,000 12,500 13,000 14,000

ดอกเบีย้ จ่ายรวม (บาท) 2,316,764 2,037,976 1,825,384 1,518,761

ประหยัดดอกเบี้ยได้ (บาท) - 278,788 491,380 798,002

ปลดหนี้ได้เร็วขึ้น (ปี) - 3 ปี 5 ปี 5 เดือน 9 ปี

ไม่จาเป็นต้องโปะเป็นประจา พร้อมเมื่อไร ก็โปะได้เรื่อยๆ

03/07/2016 44
หนี้รถยนต์
วงเงินกู้ ค่อนข้างสูง (75-85% ของราคารถ)

สินทรัพย์ค้าประกัน รถยนต์

ต่า
อัตราดอกเบี้ย
(แต่ไม่สามารถนาไปเทียบกับอัตราดอกเบีย้ แบบลดต้นลดดอกได้)

การคานวณดอกเบี้ย Flat Rate หรือ Add-on

ระยะเวลากู้สูงสุด ประมาณ 7 ปี

03/07/2016 45
ตัวอย่าง เงินดาวน์ และ ค่างวดรถ
จ่ายจริง
12,352 x 72 = 889,344
(ดอกเบีย้ = 150,694)

03/07/2016 46
ข้อควรระวัง ในการก่อหนี้ซ้อื รถยนต์
ค่าใช้จ่ายจริงที่เกิดขึ้นหลังซื้อรถ... มักสูงกว่าที่เราคาดการณ์ไว้
รายการ รายเดือน รายปี
ค่าผ่อน/ค่างวดรถ 7,000 – 12,000
วางแผน
ค่าน้ามัน 2,000 – 5,000 15,000
ค่าทางด่วน / ทางพิเศษ 1,000 – 3,000
ค่าที่จอดรถ 1,000 – 2,000
ค่าล้างรถ 100 – 500
ใช้จริง
ประกันภัยชัน้ 1 10,000 – 20,000
ค่าบารุงรักษา 2,000 – 5,000
พ.ร.บ. + ต่อทะเบียน 1,500 – 2,500
20,000

และยังมีแนวโน้มที่จะเดินทางมากขึ้น... เที่ยวมากขึ้น... ยอมลาบากได้นอ้ ยลง

03/07/2016 47
หนี้บัตรเครดิต
วงเงินกู้ อาจสูงสุด 3-4 เท่าของรายได้
สินทรัพย์ค้าประกัน ไม่มี
อัตราดอกเบี้ย สูงสุด 20%
การคานวณดอกเบี้ย คิดแบบทบต้น ทุกเดือน
ระยะเวลาปลอดดอกเบี้ย สูงสุดประมาณ 45 – 55 วัน
การชาระเงินคืน ชาระขั้นต่า 10% ของยอดค้างชาระ

03/07/2016 48
ระยะเวลาปลอดดอกเบี้ยบัตรเครดิต
(เมื่อชาระเงินคืน ตรงเวลา และ เต็มจานวน เท่านั้น)

ประมาณ 30 วัน ประมาณ 20 วัน

วันเริ่มต้น วันสิ้นสุด วันครบกาหนด


รอบบิล รอบบิล ชาระเงิน

ชาระขั้นต่า หรือ ชาระบางส่วน


ต้องเสียดอกเบี้ย นับตั้งแต่วันที่บันทึกรายการจนถึงวันที่ชาระ

03/07/2016 49
แนวคิด การใช้งานบัตรเครดิตให้เกิดประโยชน์

 มีไว้เป็น หลักประกัน + ความสะดวก


 ใช้ให้เป็นมีแต่ได้
ยุคนี้... จ่ายเงินสดเสียเปรียบ
 จ่ายตรงเวลา และ เต็มจานวน
จะไม่เสียอะไรเลย
 ไม่จ่ายแค่ขั้นต่า
 ไม่กดเงินสดจากบัตรเครดิต
 ถ้าไม่มีวนิ ัย มีบัตรใบเดียวก็เจ๊ง
ถ้ามีวินัย มีบัตรกี่ใบก็ไม่มีปัญหา

03/07/2016 50
หนี้สินเชื่อบุคคล (Personal Loan)

วงเงินกู้ อาจสูงถึง 5 เท่าของรายได้


สินทรัพย์ค้าประกัน ไม่มี
อัตราดอกเบี้ย สูงสุด 28%
การคานวณดอกเบี้ย คิดแบบลดต้นลดดอก
ระยะเวลาผ่อนชาระ 12 – 84 เดือน
การชาระเงินคืน รับเงินก้อน และ ชาระคืนเป็นรายเดือนตามกาหนด

03/07/2016 51
ตัวอย่าง ค่างวดสินเชื่อบุคคล

03/07/2016 52
บัตรกดเงินสด (Revolving Credit)
วงเงินกู้ อาจสูงถึง 5 เท่าของรายได้

สินทรัพย์ค้าประกัน ไม่มี

อัตราดอกเบี้ย สูงสุด 28%

การคานวณดอกเบี้ย คิดแบบลดต้นลดดอก จากยอดเงินที่นาไปใช้จริง

ระยะเวลาผ่อนชาระ ขึ้นกับการชาระเงินคืน
ชาระคืนขั้นต่าตามอัตราที่กาหนด
การชาระเงินคืน
(บางบัตรต่ามาก เช่น 3-5% ของยอดหนี้)

03/07/2016 53
ระวังการผ่อนชาระขั้นต่าที่ต่ามากๆ
ตัวอย่าง : กดเงินสด 50,000 จ่ายคืนขั้นต่า 4% ของยอดคงค้าง
งวดที่ อัตราดอกเบีย้ ค่างวดที่จะจ่าย หนี้ ต้นงวด จ่ายดอกเบีย้ ลดหนี้ หนี้ ปลายงวด
1 28.00% 2,000 50,000 1,167 833 49,167
2 28.00% 1,967 49,167 1,147 819 48,347
3 28.00% 1,934 48,347 1,128 806 47,541
4 28.00% 1,902 47,541 1,109 792 46,749
5 28.00% 1,870 46,749 1,091 779 45,970
6 28.00% 1,839 45,970 1,073 766 45,204
7 28.00% 1,808 45,204 1,055 753 44,450
8 28.00% 1,778 44,450 1,037 741 43,710
9 28.00% 1,748 43,710 1,020 728 42,981
10 28.00% 1,719 42,981 1,003 716 42,265
11 28.00% 1,691 42,265 986 704 41,560
12 28.00% 1,662 41,560 970 693 40,868

ทาแบบนี้จะจ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น และ ใช้เวลามากกว่า 10 ปี กว่าที่จะคืนหนี้ได้หมด!


03/07/2016 54
หยุดไว้เท่านี้! เกินกว่านี้จะคุมไม่อยู่

ผ่อนหนี้ไม่เกิน 40% ของรายได้


ตัวอย่าง
รายได้เดือนละ 30,000 บาท ภาระการผ่อนชาระหนี้สนิ ทั้งหมด
ไม่ควรจะเกิน 12,000 บาท (40% ของ 30,000 บาท)

29/11/2016 55
Roadmap บริหารเงินและจัดการหนี้สินช่วงสร้างฐานะ
มีความรู้พื้นฐาน

รู้จักตนเอง
ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้
ชาระหนีข้ ั้นต่าไม่ได้

ลดรายจ่าย ปรับโครงสร้างหนี้
จัดลาดับชาระหนี้ หยุดชาระชั่วคราว
(มีแผนการชาระ) เพิ่มรายได้ จาหน่ายทรัพย์สิน (สะสมไว้ชาระภายหลัง)

ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้ ชาระหนี้ขนั้ ต่าไม่ได้

เตรียมเงินสารอง ออมและลงทุน ฉลาดการเงิน


เป็นภูมิคุ้มกัน เป็นหลักประกันชีวิต ใช้ชวี ิตอย่างพอเพียง

03/07/2016 56
จัดลาดับชาระหนี้
1. หยุดก่อหนี้เพิ่ม และ ทาสรุปรายการหนี้สนิ

ยอดหนี้คงเหลือ ยอดชาระขั้นต่า วันครบ อัตราดอกเบี้ย


ลาดับ เจ้าหนี้
(บาท) (บาท/เดือน) กาหนดชาระ (% ต่อปี)

1 ธนาคาร A 2,500,000 18,000 24 6.00%


2 ธนาคาร B 500,000 7,000 16 4.00%
3 ธนาคาร C 200,000 2,000 5 28.00%
4 ธนาคาร D 120,000 7,000 8 20.00%
5 ธนาคาร E 80,000 6,000 16 28.00%
รวม 3,400,000 40,000

2. สารวจว่ามีเงินเพื่อชาระหนี้เกินกว่าค่าขั้นต่าหรือไม่ ?
03/07/2016 57
หลักการจัดลาดับเพื่อชาระหนี้
 หากมีหนี้นอกระบบ หรือหนี้ที่ดอกเบี้ยสูงมาก (เกิน 28% ต่อปี)
ให้โอนหนี้เข้ามาในระบบก่อน ซึ่งอาจจาเป็นต้องกู้หนี้ใหม่ในระบบ
ที่มีดอกเบี้ยและค่างวดต่ากว่าเพื่อนาไปปิดหนี้นอกระบบ (Re-Finance)
 ต้องชาระขั้นต่าหนี้ทุกก้อน เพื่อรักษาเครดิตทางการเงิน และเลี่ยงค่าปรับ
 เงินส่วนที่เกินจากการชาระขั้นต่า ให้เร่งชาระหนี้ตามลาดับ ดังนี้
1) หากยอดหนีค้ งเหลือใกล้เคียงกัน ควรเร่งชาระยอดที่มีดอกเบี้ยสูงกว่าก่อน
2) หากยอดหนีค้ งเหลือต่างกันมาก ควรเร่งชาระหนีท้ ่มี ียอดคงเหลือต่าสุดก่อน
เพื่อปิดหนี้ให้สาเร็จไปทีละก้อนจากเล็กไปใหญ่ (Snow Ball Effect)

03/07/2016 58
แผนชาระหนี้ แบบเล็กไปใหญ่ (Snow Ball Effect)
3. ชาระหนี้ขั้นต่าทุกรายการ ยกเว้นรายการที่ยอดหนี้ต่าที่สุดให้ชาระมากที่สุดเท่าที่ทาได้

ยอดหนี้คงเหลือ ยอดชาระขั้นต่า แผน วันครบ อัตราดอกเบี้ย


ลาดับ เจ้าหนี้
(บาท) (บาท/เดือน) ชาระหนี้ กาหนดชาระ (% ต่อปี)

1 ธนาคาร A 2,500,000 18,000 18,000 24 6.00%

2 ธนาคาร B 500,000 7,000 7,000 16 4.00%

3 ธนาคาร C 200,000 2,000 2,000 5 28.00%


เร่งชาระหนี้ก้อนที่เล็กที่สุด
4 ธนาคาร D 120,000 7,000 7,000 8 20.00%

5 ธนาคาร E 80,000 6,000 10,000 16 28.00%

รวม 3,400,000 40,000 44,000

03/07/2016 59
แผนชาระหนี้ แบบเล็กไปใหญ่ (Snow Ball Effect)
4. เมื่อชาระหนี้ก้อนแรกหมด ให้นาเงินที่เคยจ่ายหนี้ก้อนแรก มาจ่ายก้อนที่เล็กรองลงมา

ยอดหนี้คงเหลือ ยอดชาระขั้นต่า แผน วันครบ อัตราดอกเบี้ย


ลาดับ เจ้าหนี้
(บาท) (บาท/เดือน) ชาระหนี้ กาหนดชาระ (% ต่อปี)

1 ธนาคาร A 2,500,000 18,000 18,000 24 6.00%

2 ธนาคาร B 500,000 7,000 7,000 16 25.00%


ได้พลังจากหนี้ก้อนแรกมาช่วย
3 ธนาคาร C 200,000 2,000 2,000 5 28.00%

4 ธนาคาร D 120,000 7,000 17,000 8 20.00%

5 ธนาคาร E - - - - -

รวม 3,320,000 34,000 44,000

03/07/2016 60
แผนชาระหนี้ แบบเล็กไปใหญ่ (Snow Ball Effect)
5. ทาซ้าไปเรื่อยๆ จนกว่าจะกากับภาระหนี้ให้อยู่ในจุดที่ควบคุมได้

ยอดหนี้คงเหลือ ยอดชาระขั้นต่า แผน วันครบ อัตราดอกเบี้ย


ลาดับ เจ้าหนี้
(บาท) (บาท/เดือน) ชาระหนี้ กาหนดชาระ (% ต่อปี)

1 ธนาคาร A 2,500,000 18,000 18,000 24 6.00%

2 ธนาคาร B 500,000 7,000 7,000 16 4.00%

3 ธนาคาร C 200,000 2,000 19,000 5 28.00%

4 ธนาคาร D - - - - -

5 ธนาคาร E - - - - -

รวม 3,200,000 27,000 44,000

03/07/2016 61
แผนชาระหนี้ แบบเล็กไปใหญ่ (Snow Ball Effect)
6. เมื่อภาระหนี้ลดลงถึงจุดที่พอใจ ควรนาเงินที่เคยชาระหนี้มาเก็บออมเป็นเงินสารอง

ยอดหนี้คงเหลือ ยอดชาระขั้นต่า แผน วันครบ อัตราดอกเบี้ย


ลาดับ เจ้าหนี้
(บาท) (บาท/เดือน) ชาระหนี้ กาหนดชาระ (% ต่อปี)

1 ธนาคาร A 2,500,000 18,000 18,000 24 6.00%

2 ธนาคาร B 500,000 7,000 7,000 16 4.00%

3 ธนาคาร C - - - - -

4 ธนาคาร D - - - เดิ-มเคยผ่อนหนี้เดือนละ
- 44,000
จึงสามารถออมได้เดือนละ 19,000
5 ธนาคาร E - - - -(หรือปีละกว่า 2 แสนบาท)
-

รวม 3,000,000 25,000 25,000

03/07/2016 62
Roadmap บริหารเงินและจัดการหนี้สินช่วงสร้างฐานะ
มีความรู้พื้นฐาน

รู้จักตนเอง
ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้
ชาระหนีข้ ั้นต่าไม่ได้

ลดรายจ่าย ปรับโครงสร้างหนี้
จัดลาดับชาระหนี้ หยุดชาระชั่วคราว
(มีแผนการชาระ) เพิ่มรายได้ จาหน่ายทรัพย์สิน (สะสมไว้ชาระภายหลัง)

ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้ ชาระหนี้ขนั้ ต่าไม่ได้

เตรียมเงินสารอง ออมและลงทุน ฉลาดการเงิน


เป็นภูมิคุ้มกัน เป็นหลักประกันชีวิต ใช้ชวี ิตอย่างพอเพียง

03/07/2016 63
เป็นตายอยู่ที่กระแสเงินสด
ต้องทารายรับให้มากกว่ารายจ่ายให้ได้

03/07/2016 64
1. ลดรายจ่าย

03/07/2016 65
ลดรายจ่าย
แยกให้ออกระหว่าง “คุณค่าแท้” และ “คุณค่าเทียม”

03/07/2016 66
ลดรายจ่าย
รายจ่ายอะไรบ้างที่ปรับลดได้ ?
ประเภท ตัวอย่างค่าใช้จ่าย
ประกันสังคม / กองทุนสารองเลี้ยงชีพ / กบข.
ค่างวดบ้าน / ค่าเช่าบ้าน เช่า/ซื้อ, เล็ก/ใหญ่, Re-Finance
คงที่ ค่างวดรถ เล็ก/ใหญ่, ขาย, เปลี่ยน
ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้า, ค่าไฟ, โทรศัพท์, อินเตอร์เน็ต)
เบี้ยประกันชีวิต / ประกันภัย มากเกินไป ผิดประเภท ?
ค่าอาหาร
ค่าเดินทาง (ค่าน้ามัน, ค่าทางด่วน)
ค่าใช้จ่ายสันทนาการ/บันเทิง/ท่องเที่ยว บ่อยและมากแค่ไหน ?
ผันแปร ค่ารักษาพยาบาล
ค่าใช้จ่ายทางสังคม (ใส่ซองช่วยงานสังคมต่างๆ) หน้าใหญ่เกินไปหรือไม่ ?
ค่าใช้จ่ายบุตร/บุพการี สื่อสารพูดคุยกัน ช่วยเหลือกัน ?
สลากกินแบ่ง หวย การพนัน เสี่ยงโชค ฯลฯ ลด ละ เลิก ?
03/07/2016 67
ซื้อทรัพย์ใหญ่ ช้าลงสักหน่อย อาจได้ประโยชน์กว่าที่คิด!
แผน A : รีบซื้อรถ
ได้รถมาใช้ แต่เงินไม่ได้ทางานต่อ และไม่ได้ลงทุนเพิ่ม
8,000 x 12 x 7 ปี
 0 บาท

25 32 60
แผน B : เก็บเงินก่อน
8,000 x 12 x 7 ปี ให้เงินทางานต่อจนถึงวันที่เกษียณอายุ โดยไม่ได้ลงทุนเพิ่มอีก
13 ล้านบาท

25 32 60
สมมติฐาน : อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนเท่ากับ 10% ต่อปี

19/06/2016 68
2. เพิ่มรายได้

03/07/2016 69
เพิ่มรายได้
จริงหรือ... ที่คนธรรมดา/มนุษย์เงินเดือนทั่วไป จะรวยไม่ได้ ?

19/06/2016 70
เราจะเลือกเป็นคน… กลุ่มไหน ?

19/06/2016 71
เพิ่มรายได้ สร้างรายได้... หลายทาง!

ลูกจ้าง
มนุษย์เงินเดือน
E B งาน/ธุรกิจ
ที่อยู่ได้ด้วยระบบ
Employee Business Owner

งาน/ธุรกิจ
ที่ทาด้วยตัวเอง
S I
Investor
ลงทุน
ให้เงินทางาน
Self-employed

ที่มา : เงินสี่ดา้ น โดย Robert Kiyosaki


03/07/2016 72
ลอง ออกแบบชีวิต ตัวเองดูสักครั้ง!

03/07/2016 73
ขยันให้ ถูกที่

Passion
(สิ่งที่รัก)

Skill Market
(ทาได้ดี) (ช่วยแก้ปัญหา)

03/07/2016 74
ไม่มีเงิน... ต้องใช้สมอง
ช่องทางทามาหากินยุคใหม่ อาจไม่ต้องลงทุนสูง

29/11/2016 75
เปิดดูเปิดตาดู ใช้ประโยชน์จากเครื่องมือใหม่ๆ

29/11/2016 76
ตัวอย่าง ตลาดงาน Freelance Online

29/11/2016 77
ตัวอย่าง ทา PowerPoint / Presentation

29/11/2016 78
ตัวอย่าง ช่างประจาบ้าน (Subscription Model)

29/11/2016 79
ตัวอย่าง รับจัดสวนบนคอนโด / พื้นที่ขนาดเล็ก

29/11/2016 80
ตัวอย่าง ขายอาหาร ขนม ออนไลน์

29/11/2016 81
ตัวอย่าง ค้าขายสิ่งที่ตนมีความรู้เชิงลึก (Niche)

29/11/2016 82
ตัวอย่าง สอนกีตาร์ อุคูเลเล่ เล่นดนตรีออนไลน์

29/11/2016 83
ตัวอย่าง สอนทาอาหาร ขนม

29/11/2016 84
ตัวอย่าง YouTube Channel

29/11/2016 85
ธุรกิจเล็กๆ ใช้เงินลงทุนน้อย ที่ทาได้ในวันหยุด

29/11/2016 86
สินค้าเกษตรพื้นฐาน
ที่ทาได้ในครัวเรือน

29/11/2016 87
29/11/2016 88
หรือไม่ต้องรอวันหยุด ก็ยังอาจพอทาได้

29/11/2016 89
3. ปรับโครงสร้างหนี้

03/07/2016 90
หลักการพิจารณา
อัตราดอกเบี้ย และ ค่างวดขั้นต่า
ต้องลดลงจึงจะถูกต้อง

03/07/2016 91
แนวทาง การปรับโครงสร้างหนี้ด้วยวิธี Re-Finance
1. ขยายวงเงินกู้เดิม ตามมูลค่าหลักประกันที่เพิ่มขึ้น
เพื่อนาเงินที่ได้ ไปปิดหนี้อื่นที่แพงกว่า
2. ลดวงเงินกู้ และ/หรือ ขยายระยะเวลากู้
เพื่อให้ค่างวดขั้นต่าลดลง
3. กู้หนี้ใหม่ เพื่อนาไปชาระหนี้เก่า
โดยอัตราดอกเบี้ยและค่างวดต้องลดลง

เพื่อที่ในท้ายที่สุดจะสามารถจัดลาดับชาระคืนหนี้ได้โดยไม่ผิดนัด
03/07/2016 92
1. สารวจราคาประเมินและโอกาสในการขยายวงเงินกู้
ยอดหนี้คงเหลือ ยอดชาระขั้นต่า วันครบ อัตราดอกเบี้ย
ลาดับ เจ้าหนี้
(บาท) (บาท/เดือน) กาหนดชาระ (% ต่อปี)

1 หนีบ้ ้าน A 2,500,000 18,000 24 6.00%


2 ธนาคาร B 500,000 7,000 16 4.00%
กู้เพิ่มเพื่อปิดยอดเหล่านี้
3 ธนาคาร C 200,000 2,000 5 28.00%
4 ธนาคาร D 120,000 7,000 8 20.00%
5 ธนาคาร E 80,000 6,000 16 28.00%
รวม 3,400,000 40,000

ราคาประเมิน ณ ปัจจุบัน 3,000,000 บาท (A)


ยอดหนี้คงเหลือ ณ ปัจจุบัน 2,500,000 บาท (B)
วงเงินสูงสุดที่สามารถกู้เพิ่มได้ 500,000 บาท (A) – (B)
Re-Finance กู้เพิ่ม 500,000 บาท

03/07/2016 93
2. ประเมินค่าใช้จ่ายในการ Re-Finance
จ่ายให้สถาบันการเงินเดิม คานวณ มูลค่า (บาท)

ค่าปรับกรณีไถ่ถอนก่อนกาหนด
2,800,000 x 3% 84,000
(ตามที่ระบุในสัญญา ประมาณ 2-3% ของยอดเงินกู้)

จ่ายให้สถาบันการเงินใหม่
ค่าประเมินหลักประกัน ประมาณ 3,000 บาท 3,000

เบีย้ ประกันอัคคีภัย
1.5 ล้านบาท x 1,000 x 3 ปี 4,500
(ประมาณปีละ 1,000 บาท / ทุนประกัน 1 ล้านบาท)

จ่ายให้กับกรมที่ดิน
ค่าจดจานอง (1.00% ของยอดกูใ้ หม่) 3,000,000 x 1.00% 30,000
ค่าอากรแสตมป์ (0.05% ของยอดกูใ้ หม่) 3,000,000 x 0.05% 1,500
รวมค่าใช้จ่าย (กรณีมีค่าปรับไถ่ถอนก่อนกาหนด) 123,000
รวมค่าใช้จ่าย (กรณีไม่มีค่าปรับไถ่ถอนก่อนกาหนด) 39,000

03/07/2016 94
3. ประเมินค่างวดใหม่

เดิม 18,000 บาท

03/07/2016 95
4. เปรียบเทียบกระแสเงินสดก่อนและหลัง Re-Finance
Before After

ยอดหนี้ ยอดชาระ ดอกเบี้ย ยอดหนี้ ยอดชาระ ดอกเบี้ย


เจ้าหนี้ เจ้าหนี้
คงเหลือ ขั้นต่า (% ต่อปี) คงเหลือ ขั้นต่า (% ต่อปี)

หนีบ้ า้ น A 2,500,000 18,000 6.00% หนี้บา้ น Z 3,000,000 23,500 6.00%


ธนาคาร B 500,000 7,000 4.00% ธนาคาร B 500,000 7,000 4.00%
ธนาคาร C 200,000 2,000 28.00%
ธนาคาร D 120,000 7,000 20.00%
ธนาคาร E 80,000 6,000 28.00%
รวม 3,400,000 40,000 รวม 3,500,000 30,500

กระแสเงินสดจ่ายลดลง 9,500 บาท


และอัตราดอกเบี้ยโดยเฉลี่ยลดลง

03/07/2016 96
แนวทาง การปรับโครงสร้างหนี้ด้วยวิธี Re-Finance
1. ขยายวงเงินกู้เดิม ตามมูลค่าหลักประกันที่เพิ่มขึ้น
เพื่อนาเงินที่ได้ ไปปิดหนี้อื่นที่แพงกว่า
2. ลดวงเงินกู้ และ/หรือ ขยายระยะเวลากู้
เพื่อให้ค่างวดขั้นต่าลดลง
3. กู้หนี้ใหม่ เพื่อนาไปชาระหนี้เก่า
โดยอัตราดอกเบี้ยและค่างวดต้องลดลง

เพื่อที่ในท้ายที่สุดจะสามารถจัดลาดับชาระคืนหนี้ได้โดยไม่ผิดนัด
03/07/2016 97
1. ประเมินโอกาสในการลดวงเงินกู้และการขยายเวลากู้
รายละเอียดการกู้เดิม
ราคาประเมิน ณ วันที่กู้ 1,600,000 บาท
อายุผู้กู้ ณ วันที่กู้ 30 ปี
ระยะเวลากู้ (เดิม) 30 ปี
ค่างวด (เดิม) 10,600 บาท/เดือน

โอกาสการกู้ใหม่ (ลดวงเงินและขยายเวลากู้)
ราคาประเมิน ณ ปัจจุบัน 1,800,000 บาท
ยอดหนี้คงเหลือ ณ ปัจจุบัน 1,000,000 บาท
อายุผู้กู้ ณ ปัจจุบัน 45 ปี
ระยะเวลากู้ที่สามารถกู้ได้ยาวที่สุด
20 ปี
(ไม่เกินอายุ 65 ปี)
ค่างวด (ใหม่) 7,800 บาท/เดือน

กระแสเงินสดจ่ายลดลง 10,600 – 7,800 = 2,800 บาท/เดือน

03/07/2016 98
2. ประเมินค่าใช้จ่ายในการ Re-Finance
จ่ายให้สถาบันการเงินเดิม คานวณ มูลค่า (บาท)

ค่าปรับกรณีไถ่ถอนก่อนกาหนด
1,600,000 x 3% 48,000
(ตามที่ระบุในสัญญา ประมาณ 2-3% ของยอดเงินกู้)

จ่ายให้สถาบันการเงินใหม่
ค่าประเมินหลักประกัน ประมาณ 3,000 บาท 3,000

เบีย้ ประกันอัคคีภัย
0.8 ล้านบาท x 1,000 x 3 ปี 2,400
(ประมาณปีละ 1,000 บาท / ทุนประกัน 1 ล้านบาท)

จ่ายให้กับกรมที่ดิน
ค่าจดจานอง (1.00% ของยอดกูใ้ หม่) 1,000,000 x 1.00% 10,000
ค่าอากรแสตมป์ (0.05% ของยอดกูใ้ หม่) 1,000,000 x 0.05% 500
รวมค่าใช้จ่าย (กรณีมีค่าปรับไถ่ถอนก่อนกาหนด) 63,900
รวมค่าใช้จ่าย (กรณีไม่มีค่าปรับไถ่ถอนก่อนกาหนด) 15,900

03/07/2016 99
Re-Finance ขยายเวลาลดค่างวดหนี้สินระยะสั้น

ที่มา : ตารางผ่อนชาระสินเชื่อบุคคล Personal Cash ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (อัตราดอกเบี้ย 18% ต่อปี)

03/07/2016 100
Re-Finance ขยายเวลาลดค่างวดหนี้สินระยะสั้น

กระแสเงินสดจ่ายลดลง 11,000 – 7,000 = 4,000 บาท/เดือน

03/07/2016 101
แนวทาง การปรับโครงสร้างหนี้ด้วยวิธี Re-Finance
1. ขยายวงเงินกู้เดิม ตามมูลค่าหลักประกันที่เพิ่มขึ้น
เพื่อนาเงินที่ได้ ไปปิดหนี้อื่นที่แพงกว่า
2. ลดวงเงินกู้ และ/หรือ ขยายระยะเวลากู้
เพื่อให้ค่างวดขั้นต่าลดลง
3. กู้หนี้ใหม่ เพื่อนาไปชาระหนี้เก่า
โดยอัตราดอกเบี้ยและค่างวดต้องลดลง

เพื่อที่ในท้ายที่สุดจะสามารถจัดลาดับชาระคืนหนี้ได้โดยไม่ผิดนัด
03/07/2016 102
1. คัดเลือกหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยและค่างวดสูง
ยอดหนี้คงเหลือ ยอดชาระขั้นต่า วันครบ อัตราดอกเบี้ย
ลาดับ เจ้าหนี้
(บาท) (บาท/เดือน) กาหนดชาระ (% ต่อปี)

1 หนีบ้ ้าน A 2,500,000 18,000 24 6.00%


2 ธนาคาร B 500,000 7,000 16 4.00%
3 ธนาคาร C 200,000 2,000 5 28.00%
กู้หนี้ใหม่เพื่อปลดหนี้เหล่านี้
4 ธนาคาร D 120,000 7,000 8 20.00%
5 ธนาคาร E 80,000 6,000 16 28.00%
รวม 3,400,000 40,000

ยอดหนี้ที่ต้องการ Re-Finance รวม 200,000 บาท ค่างวดขั้นต่าเดิม 13,000 บาท/เดือน

03/07/2016 103
2. คัดเลือกสินเชื่อที่เหมาะสมและสามารถกู้ยืมได้

03/07/2016 104
2. คัดเลือกสินเชื่อที่เหมาะสมและสามารถกู้ยืมได้

03/07/2016 105
2. คัดเลือกสินเชื่อที่เหมาะสมและสามารถกู้ยืมได้

03/07/2016 106
3. เปรียบเทียบกระแสเงินสดก่อนและหลัง Re-Finance

ค่างวด (เดิม) 13,000 บาท


ประหยัดค่างวด 7,240 บาท

03/07/2016 107
4. จาหน่ายทรัพย์สิน

03/07/2016 108
หลักการพิจารณา
เงินที่ได้ต้องสามารถลดภาระหนี้ได้
มิใช่แค่นามาจ่ายค่างวดประทังเป็นเดือนๆ ไป

03/07/2016 109
ทรัพย์ใดบ้าง ที่สามารถพิจารณาขายได้
สามารถขายได้ทันที เป็นแหล่งเงินทุนในอนาคต
 บ้าน  กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ
 ที่ดนิ (ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์)  ประกันชีวิต (เงินครบกาหนด)
 รถยนต์  หุ้นสหกรณ์ออมทรัพย์
 เครื่องประดับ / ทองคา
 เครื่องใช้ไฟฟ้า
 สลากออมสิน / สลากสหกรณ์ฯ
 กองทุนรวม
 ประกันชีวิต (มูลค่าเงินสด)
 กองทุนสารองเลี้ยงชีพ
(ลาออกจากกองโดยไม่ออกจากงาน)

03/07/2016 110
ตัวอย่าง ขายบ้านเพื่อชาระหนี้ (Before)
สินทรัพย์ หนี้สิน
สินทรัพย์สภาพคล่อง หนี้สนิ ระยะสั้น
50,000 200,000
สินทรัพย์ลงทุน (สร้างรายได้ + เพิ่มค่า) หนี้สนิ ระยะยาว
0 1,100,000
สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว ความมั่งคั่งสุทธิ
ขาย
1,500,000 250,000
รวม = 1,550,000 รวม = 1,550,000
03/07/2016 111
ตัวอย่าง ขายบ้านเพื่อชาระหนี้ (After)
สินทรัพย์ หนี้สิน
อาจมีเงินเหลือ
และกระแสเงินสด
สินทรัพย์สภาพคล่อง กลับมาเป็นบวก
หนี้สนิ ระยะสั้น
250,000 0
สินทรัพย์ลงทุน (สร้างรายได้ + เพิ่มค่า) หนี้สนิ ระยะยาว
0 0
สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว ความมั่งคั่งสุทธิ
0 250,000
รวม = 250,000 รวม = 250,000
03/07/2016 112
ขายไปแล้ว... จะอยู่อย่างไร ?

เลิก เช่า

ลด

03/07/2016 113
ล้มไปข้างหน้า... ลุกขึ้นใหม่พร้อมบทเรียนเพื่อจะไม่ผิดพลาดอีก

ความล้มเหลวเป็นดั่งครู มิใช่ศัตรู แค่ช้าไม่ได้แปลว่าแพ้ ออกนอกเส้นทางชั่วคราว ไม่ใช่จุดจบ

03/07/2016 114
Roadmap บริหารเงินและจัดการหนี้สินช่วงสร้างฐานะ
มีความรู้พื้นฐาน

รู้จักตนเอง
ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้
ชาระหนีข้ ั้นต่าไม่ได้

ลดรายจ่าย ปรับโครงสร้างหนี้
จัดลาดับชาระหนี้ หยุดชาระชั่วคราว
(มีแผนการชาระ) เพิ่มรายได้ จาหน่ายทรัพย์สิน (สะสมไว้ชาระภายหลัง)

ชาระหนี้ขนั้ ต่าได้ ชาระหนี้ขนั้ ต่าไม่ได้

เตรียมเงินสารอง ออมและลงทุน ฉลาดการเงิน


เป็นภูมิคุ้มกัน เป็นหลักประกันชีวิต ใช้ชวี ิตอย่างพอเพียง

03/07/2016 115
แนวทางปฏิบัติ
เมื่อตัดสินใจหยุดชาระชั่วคราวแล้วสะสมเงินไว้ชาระคืนภายหลัง
 หยุดชาระเฉพาะรายการที่จาเป็น โดยชาระรายการอื่นๆ ตามปกติ
 ให้สะสมเงินไว้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อตั้งใจชาระคืนในภายหลัง
(เพราะการจ่ายออกไปวันนีไ้ ม่สามารถแก้ปัญหาได้ เป็นการตาน้าพริกละลายแม่น้า)
 รักษาการติดต่อกับสถาบันการเงินที่หยุดชาระ
ไม่หลบหน้า แต่ให้สื่อสารตามความเป็นจริงว่าไม่สามารถชาระได้
 หากสถาบันการเงินเสนอแนวทางการปรับโครงสร้างหนี้
ให้พิจารณาว่าเป็นเงื่อนไขที่ควรรับหรือไม่ (ค่างวดควรจะลดลง)
 หากกระบวนการถึงชั้นศาล ให้เข้าสู่กระบวนการศาลยุตธิ รรม
เพื่อโอกาสในการเจรจาต่อรอง และนาเงินที่สะสมไว้มาชาระหนี้
03/07/2016 116
แก้หนี้ต้องใช้เวลา
ขั้นแรกต้องทาชีวิตให้มีกาไรให้ได้
(รายรับ > รายจ่าย)

03/07/2016 117
Wealth Protection
บริหารและจัดการความเสี่ยง

118
เตรียม ภูมิคุ้มกัน ทางการเงิน

19/06/2016 119
ภูมิคุ้มกันขั้นต่าที่สุด : เงินสารอง (Emergency Fund)
จานวนที่เหมาะสม คือ อย่างน้อย 3 – 6 เท่าของค่าใช้จ่ายต่อเดือน

ตัวอย่าง
มีค่าใช้จ่ายต่อเดือน = 20,000 บาท
เก็บเตรียมเป็นเงินสารอง 3 เท่า = 3 x 20,000 = 60,000 บาท
เก็บเตรียมเป็นเงินสารอง 6 เท่า = 6 x 20,000 = 120,000 บาท

ควรต้องเตรียมเงินสารองไว้ประมาณ 60,000 – 120,000 บาท

เก็บ แยกต่างหาก ในช่องทางที่ ปลอดภัย สภาพคล่องสูง ไม่เน้นผลตอบแทน


อาทิ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ และกองทุนรวมตลาดเงิน

19/06/2016 120
Workshop #2 : บริหารความเสี่ยงทางการเงิน

1. วางแผนเงินสารอง

22,000
5
110,000 ออมทรัพย์พเิ ศษ

19/06/2016 121
ภูมิคุ้มกันภัยใหญ่ : ประกันภัย / ประกันชีวิต

19/06/2016 122
จะทาทั้งที… ต้องทาแบบมีเหตุผล!

ค่าใช้จ่ายที่ประเมิน

ทาเพิ่ม

สวัสดิการ และ
ความคุ้มครองที่มีอยู่เดิม

19/06/2016 123
Workshop #2 : บริหารความเสี่ยงทางการเงิน

2. ความคุ้มครองด้านประกันชีวิต/ประกันภัยที่มี ณ ปัจจุบัน

สวัสดิการที่ทางาน 300,000 - 300,000 1,800 - 30,000 - - ไม่ได้ระบุ


ชีวติ AIA 200,000 500,000 200,000 2,400 5,000 - 1,000 - พ่อและแม่
ชีวติ MTL 500,000 - - - - - - - ภรรยา
อุบัติเหตุ KBANK - - 1,000,000 - - 50,000 1,000 - ภรรยา
รถยนต์ ชั้น 1 SMK - - 500,000 - - 100,000 - 500,000 ไม่ได้ระบุ
อัคคีภัยบ้าน - - - - - - - 900,000 ไม่ได้ระบุ

1,000,000 500,000 2,000,000 4,200 5,000 180,000 2,000 1,400,000

ปีหน้าอาจพิจารณาเปลี่ยนประกันรถยนต์จากชั้น 1 เป็น ชั้น 3+


ปรับปรุงชื่อผู้รับผลประโยชน์ให้ถูกต้อง
เขียนจดหมายระบุเจตนารมณ์การใช้เงินสินไหมแนบไว้กับกรมธรรม์ เพื่อให้ญาติจัดการได้ถูกต้อง

19/06/2016 124
ตัวอย่าง ประเมินงบประมาณในการทาประกันสุขภาพเบื้องต้น
Crystal 1 Crystal 2 Crystal 3

อายุ 20 30 40 50 60 65
Crystal 1 4,977 6,017 6,215 7,787 10,869 12,045
Crystal 2 8,653 9,222 10,027 11,637 13,381 14,830
Crystal 3 10,708 11,463 12,366 14,310 17,256 19,138
ที่มา : http://www.bupa.co.th/
19/06/2016 125
ตัวอย่าง ประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย (ซื้อพ่วงประกันชีวิต)
2,000 4,000 6,000 8,000 10,000

ที่มา : http://pantip.com/topic/34702937 เขียนโดย Ms. Many


19/06/2016 126
เจ็บป่วยหนัก ประกันสุขภาพไม่พอ ยังมีสวัสดิการรัฐ

เว็บไซต์ www.nhso.go.th หรือ โทร 1330

19/06/2016 127
หลักการกาหนด “ทุนประกันชีวิต” ที่เหมาะสม

ครอบคลุม + เพียงพอ + ยั่งยืน


(ภาระต่างที่ก่อไว้) (การปรับตัว + ความฝัน) (จ่ายได้ ไม่ลาบาก)
19/06/2016 128
Workshop #2 : บริหารความเสี่ยงทางการเงิน

3. ประเมินทุนประกันชีวิตที่เหมาะสม

2,000,000
240,000
500,000 700,000
300,000
5
500,000
200,000 200,000
1,500,000

3,200,000 1,200,000 2,700,000

3,200,000 1,200,000 2,700,000 1,700,000

19/06/2016 129
เลือก “แบบประกันชีวิต” ให้เหมาะสม
ชั่วระยะเวลา ตลอดชีพ สะสมทรัพย์
แบบประกันชีวิต
(Term Life) (Whole Life) (Endowment)

วัตถุประสงค์
คุ้มครองชีวติ วางแผนมรดก ออมเงิน
คุม้ ครองสินเชื่อ คุม้ ครองชีวิต คุม้ ครองชีวิต
ราคาเบี้ยประกัน ถูกที่สุด ถูก แพงมาก

เงื่อนไขการจ่าย เมื่อเสียชีวิต เมื่อเสียชีวิต เมื่อเสียชีวิต


ผลประโยชน์ - เมื่อครบสัญญา (อายุ 90/99) เมื่อครบสัญญา

มีการสะสมมูลค่าเงินสด   

เงินคืนระหว่างสัญญา   
เบี้ยประกันโดยประมาณ
(ต่อความคุ้มครอง 1 ล้านบาท) 5,000 – 10,000 15,000 – 20,000 80,000 – 150,000

19/06/2016 130
หลักประกันที่ดีที่สุด เกิดจาก สุขภาพและวิถีชีวิตที่ดี

19/06/2016 131
Wealth Accumulation
ต่อยอด/เพิ่มพูนความมั่งคั่ง

132
ทางเลือกการลงทุน
รายได้ รายได้ ปัจจัยขับเคลื่อน
ทรัพย์สิน
(กระแสเงินสด) (มูลค่าเพิ่ม) ผลตอบแทน

มูลค่าธุรกิจ ความคิดสร้างสรรค์
ธุรกิจ กาไรของธุรกิจ
(เมื่อขายกิจการ) การกูย้ ืมเงิน

อสังหาริมทรัพย์ ค่าเช่า ราคาทรัพย์ การกูย้ ืมเงิน

หุ้น เงินปันผล ราคาหุน้ ดอกเบีย้ ทบต้น

กองทุนรวม เงินปันผล ราคา NAV ดอกเบีย้ ทบต้น

19/06/2016 133
หนังสือแนะนา สาหรับผู้สนใจลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

19/06/2016 134
ดอกเบี้ยทบต้น สิ่งมหัศจรรย์ที่ทกุ คนเข้าถึงได้!

ดอกเบี้ยทบต้น เป็นพลังที่
ทรงอานุภาพที่สุด ในจักรวาล
The most powerful force in the universe is compound interest

19/06/2016 135
กฎ 72 อธิบายพลังของการทบต้น

ระยะเวลาที่ทาให้เงินโตขึ้น 1 เท่าตัว (ปี) =


72
ผลตอบแทนต่อปี

หากฝากเงินได้ ดอกเบี้ย 2% ต่อปี


ต้องใช้เวลาเท่าไร เงินลงทุนจึงจะเติบโตเป็นเท่าตัว ? 36 ปี
หากลงทุนเป็นระยะเวลาทีเ่ ท่ากัน
แต่ได้ ผลตอบแทน 12% ต่อปี เงินจะเติบโตเป็นกี่เท่า ? 64 เท่า
19/06/2016 136
ดาวโหลด App เครื่องคิดเลขการเงิน
ระบบปฏิบัติการ iOS
(Apple iPhone, iPad, iPod Touch)
เข้า App Store ติดตั้ง App ชื่อ
EZ Financial Calculators

ระบบปฏิบัติการ Android
(Samsung, HTC, LG, Lenovo, Oppo, ฯลฯ)
ดาวโหลดได้ฟรี
เข้า Play Store ติดตั้ง App ชื่อ
Financial Calculators

02/10/2016 137
TVM Calculator คานวณเกี่ยวกับดอกเบี้ยทบต้น

เงินลงทุนที่ม/ี ต้องใช้ ณ ปัจจุบัน


เงินที่ต้องลงทุนเพิ่มในแต่ละปี
มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปี ตั้งค่าการคานวณ
เป็นรายปีก่อน
จานวนปีที่ลงทุน

เลือกเป็น Annually (รายปี)


ลงทุนทุกสิ้นปี หรือ ทุกต้นปี

02/10/2016 138
1. ลงทุนเงินก้อนเท่านี้ เงินจะเติบโตเป็นเท่าไร ?
มีเงินลงทุนทั้งสิ้น 300,000 บาท หากสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 10% ต่อปี
โดยลงทุนเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 30 ปี อยากทราบว่าเงินลงทุนจะเติบโตเป็นเท่าใด ?

เงินลงทุนที่มีอยู่แล้ว (ใส่เป็นค่าติดลบ) -300,000

เงินที่จะลงทุนเพิ่มรายปี (ใส่เป็นค่าติดลบ) 0
มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต

อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย (% ต่อปี)
5,234,820
10 
จานวนปี 30

เลือกความถี่การทบต้นเป็น Annually

02/10/2016 139
2. ลงทุนเงินรายเดือนเท่านี้ เงินจะเติบโตเป็นเท่าไร ?
วางแผนลงทุนเป็นประจาเดือนละ 3,000 บาท (ปีละ 36,000 บาท)
หากสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 10% ต่อปี
โดยลงทุนเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 35 ปี อยากทราบว่าเงินลงทุนจะเติบโตเป็นเท่าใด ?

เงินลงทุนที่มีอยู่แล้ว (ใส่เป็นค่าติดลบ) 0

เงินที่จะลงทุนเพิ่มรายปี (ใส่เป็นค่าติดลบ) -36,000


มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต

อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย (% ต่อปี)
9,756,877
10 
จานวนปี 35

เลือกความถี่การทบต้นเป็น Annually

02/10/2016 140
3. ลงทุนเงินก้อน + เงินรายเดือน เงินจะเติบโตเป็นเท่าไร ?
ลงทุนทันที 500,000 บาท และ ลงทุนเพิ่มเดือนละ 10,000 บาท (ปีละ 120,000 บาท)
หากสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 8% ต่อปี
โดยลงทุนเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 20 ปี อยากทราบว่าเงินลงทุนจะเติบโตเป็นเท่าใด ?

เงินลงทุนที่มีอยู่แล้ว (ใส่เป็นค่าติดลบ) -500,000

เงินที่จะลงทุนเพิ่มรายปี (ใส่เป็นค่าติดลบ) -120,000


มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต

อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย (% ต่อปี)
7,821,914
8 
จานวนปี 20

เลือกความถี่การทบต้นเป็น Annually

02/10/2016 141
แผนลงทุนมนุษย์เงินเดือน 10/1
เงินเดือนขึน้ ลงทุนรายเดือน ลงทุนโบนัส ผลตอบแทน
5.0% 10.0% 1.0 10.0%

รายได้ เงินลงทุน มูลค่าเงินลงทุน


ปี ที่ อายุ
เงินเดือน รายเดือน โบนัส ต้ นงวด ลงทุนเพิ่ม ผลตอบแทน ปลายงวด
1 31 25,000 2,500 25,000 0 55,000 0 55,000
2 32 26,250 2,625 26,250 55,000 57,750 5,500 118,250
3 33 27,563 2,756 27,563 118,250 60,638 11,825 190,713
5 35 30,388 3,039 30,388 273,453 66,853 27,345 367,651
10 40 38,783 3,878 38,783 887,281 85,323 88,728 1,061,333
15 45 49,498 4,950 49,498 1,999,323 108,896 199,932 2,308,152
20 50 63,174 6,317 63,174 3,947,855 138,982 394,785 4,481,622
25 55 80,627 8,063 80,627 7,287,096 177,380 728,710 8,193,186
26 56 84,659 8,466 84,659 8,193,186 186,250 819,319 9,198,754
27 57 88,892 8,889 88,892 9,198,754 195,562 919,875 10,314,192
28 58 93,336 9,334 93,336 10,314,192 205,340 1,031,419 11,550,951
29 59 98,003 9,800 98,003 11,550,951 215,607 1,155,095 12,921,653
30 60 102,903 10,290 102,903 12,921,653 226,387 1,292,165 14,440,206

06/12/2016 142
แผนลงทุนมนุษย์เงินเดือน 20/3
เงินเดือนขึน้ ลงทุนรายเดือน ลงทุนโบนัส ผลตอบแทน
5.0% 20.0% 3.0 10.0%

รายได้ เงินลงทุน มูลค่าเงินลงทุน


ปี ที่ อายุ
เงินเดือน รายเดือน โบนัส ต้ นงวด ลงทุนเพิ่ม ผลตอบแทน ปลายงวด
1 31 25,000 5,000 75,000 0 135,000 0 135,000
2 32 26,250 5,250 78,750 135,000 141,750 13,500 290,250
3 33 27,563 5,513 82,688 290,250 148,838 29,025 468,113
5 35 30,388 6,078 91,163 671,203 164,093 67,120 902,417
10 40 38,783 7,757 116,350 2,177,873 209,429 217,787 2,605,089
15 45 49,498 9,900 148,495 4,907,430 267,291 490,743 5,665,464
20 50 63,174 12,635 189,521 9,690,189 341,138 969,019 11,000,346
25 55 80,627 16,125 241,882 17,886,508 435,388 1,788,651 20,110,548
26 56 84,659 16,932 253,977 20,110,548 457,158 2,011,055 22,578,760
27 57 88,892 17,778 266,675 22,578,760 480,016 2,257,876 25,316,652
28 58 93,336 18,667 280,009 25,316,652 504,017 2,531,665 28,352,334
29 59 98,003 19,601 294,010 28,352,334 529,217 2,835,233 31,716,785
30 60 102,903 20,581 308,710 31,716,785 555,678 3,171,678 35,444,142

06/12/2016 143
แผนลงทุนมนุษย์เงินเดือน 20/3 + พัฒนาตนเอง
เงินเดือนขึน้ ลงทุนรายเดือน ลงทุนโบนัส ผลตอบแทน
7.0% 20.0% 3.0 10.0%

รายได้ เงินลงทุน มูลค่าเงินลงทุน


ปี ที่ อายุ
เงินเดือน รายเดือน โบนัส ต้ นงวด ลงทุนเพิ่ม ผลตอบแทน ปลายงวด
1 31 30,000 6,000 90,000 0 162,000 0 162,000
2 32 32,100 6,420 96,300 162,000 173,340 16,200 351,540
3 33 34,347 6,869 103,041 351,540 185,474 35,154 572,168
5 35 39,324 7,865 117,972 827,842 212,349 82,784 1,122,975
10 40 55,154 11,031 165,461 2,805,238 297,830 280,524 3,383,592
15 45 77,356 15,471 232,068 6,582,407 417,723 658,241 7,658,370
20 50 108,496 21,699 325,487 13,496,660 585,877 1,349,666 15,432,204
25 55 152,171 30,434 456,513 25,797,775 821,723 2,579,777 29,199,276
26 56 162,823 32,565 488,469 29,199,276 879,244 2,919,928 32,998,448
27 57 174,221 34,844 522,662 32,998,448 940,791 3,299,845 37,239,083
28 58 186,416 37,283 559,248 37,239,083 1,006,647 3,723,908 41,969,638
29 59 199,465 39,893 598,395 41,969,638 1,077,112 4,196,964 47,243,714
30 60 213,428 42,686 640,283 47,243,714 1,152,510 4,724,371 53,120,595

06/12/2016 144
จะหาผลตอบแทนดีๆ ได้ที่ไหน ?

19/06/2016 145
สินทรัพย์เพื่อการลงทุน (Investment Assets)
คาดการณ์ยาก
ทางเลือก ทองคา , น้ามัน , ค่าเงิน
ใช้กระจายความเสี่ยง
หุ้น ผลตอบแทน
เจ้าของ ชนะเงินเฟ้อ
อสังหาริมทรัพย์ แต่มีความไม่แน่นอน

ตราสารหนี้ระยะยาว มั่นคงปลอดภัย
เจ้าหนี้ ผลตอบแทนแน่นอน
ตราสารหนี้ระยะสั้น จากดอกเบี้ยรับ
แต่อาจแพ้เงินเฟ้อ
เงินฝาก

19/06/2016 146
สินทรัพย์ลงทุนพื้นฐาน สาหรับนักลงทุนสหรัฐฯ
Ibbotson® SBBI®
Stocks, Bonds, Bills and Inflation 1926-2014

หุ้นขนาดเล็ก
หุ้นขนาดใหญ่
ตราสารหนี้ระยะยาว
ตราสารหนี้ระยะสั้น
อัตราเงินเฟ้อ

ที่มา : Ibbotson, Morningstar


19/06/2016 147
สินทรัพย์ลงทุนพื้นฐาน สาหรับนักลงทุนไทย
ปี อัตราเงินเฟ้อ เงินฝากประจา 1 ปี ตราสารหนี้ระยะสั้น ตราสารหนี้ระยะยาว หุ้นไทย
1999 0.31% 6.00% 6.88% 7.75% 36.27%
2000 1.60% 4.08% 7.77% 14.29% (43.15%)
2001 1.60% 3.50% 4.33% 8.33% 15.20%
2002 0.70% 2.75% 4.41% 10.18% 20.51%
2003 1.80% 2.00% 2.57% (2.49%) 120.68%
2004 2.70% 1.00% 0.58% 2.87% (11.10%)
2005 4.50% 1.00% 0.42% (0.23%) 10.44%
2006 4.70% 2.88% 5.30% 5.48% (0.71%)
2007 2.30% 4.46% 6.11% 7.63% 30.40%
2008 5.50% 2.33% 7.84% 18.78% (44.12%)
2009 (0.90%) 1.75% 1.78% (4.18%) 69.20%
2010 3.30% 0.68% 1.78% 5.76% 44.71%
2011 3.81% 1.63% 2.96% 5.61% 2.97%
2012 3.02% 3.00% 4.02% 3.30% 39.80%
2013 2.18% 2.50% 3.42% 2.14% (3.67%)
2014 1.89% 2.25% 3.97% 9.37% 18.71%
2015 (0.90%) 1.72% 3.14% 5.09% (11.47%)
ค่าเฉลี่ย 2.23% 2.55% 3.93% 5.72% 11.13%
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
19/06/2016 148
เรียกว่า “ค่าเฉลี่ย” แต่แทบไม่มีปีไหนได้ตามค่าเฉลี่ย
7
มีเพียง 3 ปี จาก 41 ปี (โอกาส 7.3%)
6
ที่หุ้นไทยมีผลตอบแทนใกล้เคียงค่าเฉลี่ย
5 ที่ประมาณ 10% ต่อปี
ทาความเข้าใจ
จานวนครั้ง (ปี)

4
ความเสี่ยง 3
3
ช่วงนี้ให้ได้
2

ผลตอบแทนรายปีของหุ้นไทย (SET Total Return Index)

03/08/2016 149
ระยะสั้นหุ้นสามารถขึ้นลงด้วยปัจจัยใดก็ได้
แต่ระยะยาวหุ้นขึ้นลงตามผลประกอบการของบริษัท (1)
BDMS : บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จากัด (มหาชน)

19/06/2016 150
ระยะสั้นหุ้นสามารถขึ้นลงด้วยปัจจัยใดก็ได้
แต่ระยะยาวหุ้นขึ้นลงตามผลประกอบการของบริษัท (2)
CENTEL : บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จากัด (มหาชน)

19/06/2016 151
กองทุนหุ้นที่ได้ผลตอบแทนย้อนหลัง 10 ปีสูงที่สุด
ผลตอบแทนย้อนหลัง (% ต่อปี)
อันดับ บลจ
3 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี
BTP BBLAM 4.21 16.90 19.77 15.09
RPF2 MFC 4.06 12.02 19.48 14.22
BBASIC BBLAM 4.00 14.44 18.46 14.04
KTSE KTAM 2.93 10.81 17.47 14.00
TNP MFC 4.51 11.86 18.52 13.97
STD2 MFC 4.32 11.57 18.95 13.96
BKA BBLAM 3.03 13.64 18.04 13.93
SF7 MFC 4.33 11.98 18.37 13.89
STD MFC 3.91 11.40 18.87 13.89
SCIF MFC 3.90 11.69 19.02 13.83
ที่มา : WealthMagik ณ วันที่ 30 มิ.ย. 59

13/08/2016 152
ผลตอบแทนหุ้นทั่วโลก ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา

21.4%

13.2% 14.4%
8.8% 9.2% 8.6%
7.1% 8.7% 6.3%
4.9% 5.8% 5.6%
3.7% -6.2% -4.1% -1.0% 3.7% 5.1% 1.7% 4.6%
0.1%

ที่มา : Guide to the Markets Asia Edition 3Q 2016 ณ 30 มิ.ย. 59 โดย JP Morgan Asset Management
06/12/2016 153
ผลตอบแทนที่ชนะดัชนี S&P500 (รวมเงินปันผล)
ผลตอบแทนของ “ระดับเทพ” เขาได้กันเท่าไร ?

35%

30%

25%

20%

15%

06/12/2016 154
ตัวอย่าง หุ้นที่ให้ผลตอบแทนดีเลิศ
KCE : บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จากัด (มหาชน)
บาท / หุ้น % ผลตอบแทน (Yield)
ปี
ราคาปิด เงินปันผล Capital Gain Dividend Total
2011 4.78
2012 10.40 0.3000 117.6% 6.3% 123.8%
2013 23.50 0.6000 126.0% 5.8% 131.7%
2014 34.25 0.9000 45.7% 3.8% 49.6%
2015 70.00 1.2000 104.4% 3.5% 107.9%
ค่าเฉลี่ยแบบทบต้น (% ต่อปี) 95.6% 4.8% 100.4%

ที่มา : SETTRADE

06/12/2016 155
ตัวอย่าง หุ้นที่ให้ผลตอบแทนดี
SMK : บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จากัด (มหาชน)
บาท / หุ้น % ผลตอบแทน (Yield)
ปี
ราคาปิด เงินปันผล Capital Gain Dividend Total
2011 21.90
2012 35.00 0.9000 59.8% 4.1% 63.9%
2013 42.20 1.1000 20.6% 3.1% 23.7%
2014 47.40 1.4750 12.3% 3.5% 15.8%
2015 54.00 1.7030 13.9% 3.6% 17.5%
ค่าเฉลี่ยแบบทบต้น (% ต่อปี) 25.3% 3.6% 28.9%

ที่มา : SETTRADE

06/12/2016 156
ตัวอย่าง หุ้นที่ให้ผลตอบแทนไม่ดี
SE-ED : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด (มหาชน)
บาท / หุ้น % ผลตอบแทน (Yield)
ปี
ราคาปิด เงินปันผล Capital Gain Dividend Total
2011 8.60
2012 8.82 0.4111 2.6% 4.8% 7.3%
2013 4.62 0.1111 -47.6% 1.3% -46.4%
2014 5.05 0.1800 9.3% 3.9% 13.2%
2015 5.25 0.1800 4.0% 3.6% 7.5%
ค่าเฉลี่ยแบบทบต้น (% ต่อปี) -11.6% 3.4% -8.5%

ที่มา : SETTRADE

06/12/2016 157
ตัวอย่าง หุ้นที่ให้ผลตอบแทนย่าแย่
IT : บริษัท ไอที ซิตี้ จากัด (มหาชน)
บาท / หุ้น % ผลตอบแทน (Yield)
ปี
ราคาปิด เงินปันผล Capital Gain Dividend Total
2011 10.50
2012 5.00 0.2800 -52.4% 2.7% -49.7%
2013 2.72 0.0000 -45.6% 0.0% -45.6%
2014 2.70 0.0000 -0.7% 0.0% -0.7%
2015 2.32 0.0000 -14.1% 0.0% -14.1%
ค่าเฉลี่ยแบบทบต้น (% ต่อปี) -31.4% 0.7% -30.5%

ที่มา : SETTRADE

06/12/2016 158
อย่าเพิ่งคิดว่าง่าย เครื่องมือดี ต้องใช้ให้เป็นด้วย!

สถิติผลตอบแทนดีๆ มีให้เห็นอยู่
แต่เอาเข้าจริง น้อยคนที่ได้รับผลตอบแทนนั้น

19/06/2016 159
19/06/2016 160
สินทรัพย์ลงทุนพื้นฐาน สาหรับนักลงทุนสหรัฐฯ
Ibbotson® SBBI®
Stocks, Bonds, Bills and Inflation 1926-2014

ที่มา : Ibbotson, Morningstar


19/06/2016 161
“Activity is the enemy of investment returns”
Warren Buffett
นักลงทุนเอกของโลก

19/06/2016 162
กลยุทธ์การลงทุนช่วงเริ่มต้น
KISS : Keep It Simple and Stupid
มูลค่าพอร์ต  แบ่งเงินเป็นสัดส่วนชัดเจน
ลงทุนอย่างมีเป้าหมาย
 ทาความเข้าใจธรรมชาติ
ของสินทรัพย์เพื่อการลงทุน
ว่ามีผลตอบแทน และ
ความเสี่ยงเป็นอย่างไร
มูลค่าเป้าหมาย
 เลือกเครื่องมือที่งา่ ย
เหมาะกับระยะเวลาลงทุน
และเพียงพอให้บรรลุเป้าหมาย
 เน้นการทยอยลงทุนด้วยวิธี
Dollar-Cost Averaging (DCA)
ระยะเวลาบรรลุเป้าหมาย เพื่อสร้างฐานะอย่างต่อเนื่อง
เวลา
02/10/2016 163
ไม่เก็ง เน้นสะสม
 รู้ข้อจากัดตัวเอง ว่าคาดการณ์ตลาดไม่ถูก
มือใหม่ ประสบการณ์ก็ยังน้อย มือเก๋าก็ยังผิด
 เชื่อว่าสินทรัพย์ลงทุนให้ผลตอบแทนดีในระยะยาว
ลาพังเท่านี้ ก็ใช้เปลี่ยนแปลงชีวิต ยกระดับฐานะได้
 รอได้ เงินเย็น มีระยะเวลาลงทุน
เวลาจะช่วยจัดการกับความผันผวน
 ยอมรับว่าอาจแพ้บางศึก แต่ชนะสงคราม
ใช้วนิ ัยและความต่อเนื่องเป็นอาวุธ

02/10/2016 164
เริ่มต้นลงทุนผ่าน “กองทุนรวม”

เครื่องมือที่เรียบง่าย ใช้เงินลงทุนเริ่มต้นน้อย
02/10/2016 165
ต้องการผลตอบแทนจากสินทรัพย์ไหน เลือกกองทุนประเภทนั้น
สินทรัพย์ที่ต้องการลงทุน ประเภทกองทุนรวม

เงินฝาก ตั๋วเงินคลัง กองทุนรวมตลาดเงิน


ตราสารหนี้ระยะสั้น (Money Market Fund)

พันธบัตร หุ้นกู้ กองทุนรวมตราสารหนี้


ตราสารหนี้ (Fixed Income Fund)

หุ้นไทย กองทุนหุ้น / ตราสารทุน


หุ้นต่างประเทศ (Equity Fund)

อสังหาริมทรัพย์ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
โครงสร้างพื้นฐาน (Property Fund / REITs)

ทองคา
กองทุนรวมทองคา
(Gold Fund)

02/10/2016 166
ปลูกพืชให้ถูกพันธุ์... เพื่อให้ทันเก็บกิน
ผลตอบแทนที่คาดหวัง
กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF)
กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF)
12%
กองทุน
11% หุ้น
10%
กองทุนผสม
9% (หุ้น 60-70%)
8%
กองทุนผสม
7% (หุ้น 30-40%)
หรือ กองทุนอสังหาฯ
6%
กองทุนผสม
5% (หุ้น 15-20%)
4%
3% กองทุน
ตราสารหนี้
2% กองทุน
ตลาดเงิน
1% ระยะเวลาการลงทุนขั้นต่าที่แนะนา

1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 ปี 7 ปี

02/10/2016 167
สถิติผลตอบแทนและความเสี่ยงในอดีตของสินทรัพย์พื้นฐาน
ปี ตราสารหนี้ ผสมแบบระมัดระวัง ผสมเสี่ยงปานกลาง ผสมเชิงรุก หุ้นไทย
(หุ้น 15%) (หุ้น 30%) (หุ้น 60%)
1999 6.88% 11.29% 15.70% 24.51% 36.27%
2000 7.77% 0.13% (7.51%) (22.78%) (43.15%)
2001 4.33% 5.96% 7.59% 10.85% 15.20%
2002 4.41% 6.83% 9.24% 14.07% 20.51%
2003 2.57% 20.29% 38.00% 73.44% 120.68%
2004 0.58% (1.17%) (2.92%) (6.43%) (11.10%)
2005 0.42% 1.92% 3.43% 6.43% 10.44%
2006 5.30% 4.40% 3.50% 1.69% (0.71%)
2007 6.11% 9.75% 13.40% 20.68% 30.40%
2008 7.84% 0.05% (7.75%) (23.34%) (44.12%)
2009 1.78% 11.89% 22.01% 42.23% 69.20%
2010 1.78% 8.22% 14.66% 27.54% 44.71%
2011 2.96% 2.96% 2.96% 2.97% 2.97%
2012 4.02% 9.39% 14.75% 25.49% 39.80%
2013 3.42% 2.36% 1.29% (0.83%) (3.67%)
2014 3.97% 6.18% 8.39% 12.81% 18.71%
2015 3.14% 0.95% (1.24%) (5.63%) (11.47%)
ค่าเฉลี่ย 3.93% 5.83% 7.43% 9.79% 11.13%
หมายเหตุ การวางแผนไปในอนาคตสามารถปรับลดอัตราผลตอบแทนในอดีตลงประมาณ 1-2% หากต้องการเพิ่มความระมัดระวัง
02/10/2016 168
แนวทางคัดเลือกกองทุนอย่างง่าย
Percentile Ranking

02/10/2016 169
เว็บไซต์สมาคมบริษัทจัดการลงทุน : www.aimc.or.th
02/10/2016 170
ผลการดาเนินงาน กองทุนหุ้นไทยทั้งอุตสาหกรรม

ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) ณ 30 มิ.ย. 59

02/10/2016 171
ใส่ใจเลือกสักนิด ผลตอบแทนระยะยาวแตกต่างกันมาก
10 ปี
1.00 3.26
1.00 2.76
1.00 2.58

10 ปี
1.00 3.69
1.00 2.94
1.00 2.11
ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) ณ 30 มิ.ย. 59

02/10/2016 172
ตัวอย่าง ประเมิน KFSDIV ด้วย Percentile Ranking

ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) และ บลจ. กรุงศรี ณ 30 มิ.ย. 59

02/10/2016 173
ตัวอย่าง ประเมิน BBASIC ด้วย Percentile Ranking

ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) และ บลจ. บัวหลวง ณ 30 มิ.ย. 59


02/10/2016 174
ทางเลือกของการจัดสรรสินทรัพย์เพื่อการลงทุน

Thai AI Thai
Thai Bond Bond
Bond Foreign
Thai Foreign
Stock
Bond Stock Foreign
Foreign Foreign
Stock
Thai Bond Bond
Stock Foreign
Bond Thai
Thai Property Thai Property
Stock
Stock /REITs Stock /REITs

สินทรัพย์การเงิน สินทรัพย์การเงิน สินทรัพย์การเงิน สินทรัพย์การเงิน


ในประเทศ ทั่วโลก + อสังหาริมทรัพย์ + อสังหาริมทรัพย์
ทั่วโลก + สินทรัพย์ทางเลือก
ทั่วโลก

02/10/2016 175
สร้างฐานะด้วย “วินัย”

“ผมจะปลูกต้นไม้ไปจนกว่าผมจะตาย”
ร.ต.ต. วิชัย สุริยุทธ
ผู้ปลูกต้นไม้กว่า 3 ล้านต้น
ในพื้นที่รกร่างทิ้งว่าง อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ

02/10/2016 176
ออมแบบไหน... ง่ายกว่ากัน ?
1) รับเงินเดือน 20,000 บาท เพื่อใช้จ่ายอย่างประหยัด
พยายามเหลือเงินไว้ 2,000 บาท เพื่อนาไปลงทุนสิ้นเดือน

2) หักเงินไปลงทุนก่อน 2,000 บาท และใช้จ่ายอย่าง


ไม่ต้องกังวล จากเงิน 18,000 บาท ส่วนที่เหลืออยู่

เมื่อจ่ายให้กับสิ่งที่ “สาคัญ” และ “จาเป็น” ครบถ้วนแล้ว ก็สามารถใช้จ่ายเงินที่เหลือ


ได้อย่าง อิสระ โดย ไม่ต้องกังวล และ อาจไม่ต้องทาบัญชีรับจ่ายเพิ่มเติม

02/10/2016 177
เก็บออมและลงทุนให้เป็น อัตโนมัติ!

VS

ทาเองทุกๆ เดือน ทาให้เป็นอัตโนมัติ


(เหนื่อยหน่อย ลืมได้ โอกาสพลาดสูง) (วินัยสูงสุด สะดวก และไม่เหนื่อย)
02/10/2016 178
ได้ประโยชน์จากวิธี Dollar-Cost Averaging (DCA)

ขึ้นได้รักษาวินัย!
ลงทุนต่อเนื่องไม่พลาดการเติบโต

ลงได้ต้นทุนที่ดี!
ต่าวันนี้ สูงวันหน้า

02/10/2016 179
DCA หุ้นไทย ระยะเวลา 10 ปี (2006-2015)
หน่วย ลงทุนเดือนละ 5,000 บาท IRR = 10.8% ต่อปี บาท
160 1,400,000
140 1,200,000
120
1,000,000
100
800,000
80
600,000
60
400,000
40
20 200,000

0 0
Jun-12

May-15
May-08

Jul-09

Feb-10

Sep-10

Nov-11

Jan-13
Dec-08

Aug-13

Oct-14

Dec-15
Aug-06

Apr-11
Jan-06

Mar-07

Oct-07

Mar-14
จานวนหน่วยสะสม ต้นทุนสะสม มูลค่าพอร์ต

02/10/2016 180
ผลลัพธ์การลงทุน DCA หุ้นไทย ช่วง วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์
ดัชนี้ ห้นุ ไทย มูลค่า มูลค่าสะสม
Date ต้นทุน หน่ วยที่ได้ % กาไร หน่ วยสะสม ต้นทุนสะสม % กาไรสะสม
(SET Index) ณ ธ.ค. 2009 ณ ธ.ค. 2009
Dec-07 858.10 5,000 5.8268 4,280 -14.40% 5.8268 5,000 4,280 -14.40%
Jan-08 784.23 5,000 6.3757 4,683 -6.34% 12.2025 10,000 8,963 -10.37%
Feb-08 845.76 5,000 5.9118 4,342 -13.15% 18.1143 15,000 13,306 -11.30%
Mar-08 817.03 5,000 6.1197 4,495 -10.10% 24.2341 20,000 17,801 -11.00%
Apr-08 832.45 5,000 6.0064 4,412 -11.76% 30.2404 25,000 22,213 -11.15%
May-08 833.65 5,000 5.9977 4,406 -11.89% 36.2382 30,000 26,618 -11.27%
Jun-08 768.59 5,000 6.5054 4,778 -4.43% 42.7436 35,000 31,397 -10.29%
Jul-08 676.32 5,000 7.3930 5,430 8.61% 50.1365 40,000 36,827 -7.93%
Aug-08 684.44 5,000 7.3052 5,366 7.32% 57.4418 45,000 42,193 -6.24%
Sep-08 596.54 5,000 8.3817 6,157 23.13% 65.8234 50,000 48,350 -3.30%
Oct-08 416.53 5,000 12.0039 8,817 76.35% 77.8274 55,000 57,167 3.94%
Nov-08 401.84 5,000 12.4428 9,140 82.79% 90.2701 60,000 66,307 10.51%
Dec-08 449.96 5,000 11.1121 8,162 63.25% 101.3822 65,000 74,469 14.57%
Jan-09 437.69 5,000 11.4236 8,391 67.82% 112.8059 70,000 82,860 18.37%
Feb-09 431.52 5,000 11.5869 8,511 70.22% 124.3928 75,000 91,371 21.83%
Mar-09 431.50 5,000 11.5875 8,511 70.23% 135.9803 80,000 99,883 24.85%
Apr-09 491.69 5,000 10.1690 7,470 49.39% 146.1493 85,000 107,353 26.30%
May-09 560.41 5,000 8.9220 6,554 31.07% 155.0713 90,000 113,906 26.56%
Jun-09 597.48 5,000 8.3685 6,147 22.94% 163.4398 95,000 120,053 26.37%
Jul-09 624.00 5,000 8.0128 5,886 17.71% 171.4526 100,000 125,939 25.94%
Aug-09 653.25 5,000 7.6540 5,622 12.44% 179.1067 105,000 131,561 25.30%
Sep-09 717.07
ราคายั
5,000
ง ไม่ ฟื้นตัว
6.9728 5,122 2.44% 186.0795 110,000 136,683 24.26%
Oct-09 685.24
ยังขาดทุน 7.2967
5,000
-14.4% 5,360 7.19% 193.3762 115,000 142,043 23.52%
Nov-09 689.07 5,000 7.2562 5,330 6.60% 200.6324 120,000 147,372 22.81%
Dec-09 734.54

02/10/2016 181
เมื่อไร ? ควรเริ่มให้ความสาคัญกับภาวะตลาด

เน้นวินัย ภาวะตลาดเริ่มมีผลบ้าง ต้องใส่ใจภาวะตลาดมากขึ้น


ลงทุนแบบ DCA เป็นหลัก แต่ยัง DCA ได้อยู่ เสี่ยงเกินไปสาหรับการ DCA

19/06/2016 182
ระยะเวลาการลงทุนสั้นลงเรื่อยๆ

19/06/2016 183
เราคงไม่อยากให้ความเสียหายเกิดขึ้นในช่วงใกล้เกษียณ ?
ปี ตราสารหนี้ ผสมแบบระมัดระวัง ผสมเสี่ยงปานกลาง ผสมเชิงรุก หุ้นไทย
(หุ้น 15%) (หุ้น 30%) (หุ้น 60%)
1999 6.88% 11.29% 15.70% 24.51% 36.27%
2000 7.77% 0.13% (7.51%) (22.78%) (43.15%)
2001 4.33% 5.96% 7.59% 10.85% 15.20%
2002 4.41% 6.83% 9.24% 14.07% 20.51%
2003 2.57% 20.29% 38.00% 73.44% 120.68%
2004 0.58% (1.17%) (2.92%) (6.43%) (11.10%)
2005 0.42% 1.92% 3.43% 6.43% 10.44%
2006 5.30% 4.40% 3.50% 1.69% (0.71%)
2007 6.11% 9.75% 13.40% 20.68% 30.40%
2008 7.84% 0.05% (7.75%) (23.34%) (44.12%)
2009 1.78% 11.89% 22.01% 42.23% 69.20%
2010 1.78% 8.22% 14.66% 27.54% 44.71%
2011 2.96% 2.96% 2.96% 2.97% 2.97%
2012 4.02% 9.39% 14.75% 25.49% 39.80%
2013 3.42% 2.36% 1.29% (0.83%) (3.67%)
2014 3.97% 6.18% 8.39% 12.81% 18.71%
2015 3.14% 0.95% (1.24%) (5.63%) (11.47%)
ค่าเฉลี่ย 3.93% 5.83% 7.43% 9.79% 11.13%

19/06/2016 184
ตัวอย่าง การปรับลดความเสี่ยงของ กบข.

19/06/2016 185
เตรียม เกษียณ อย่างไร แก่ไป... ไม่ลาบาก

19/06/2016 186
Workshop #3 : ประเมินทุนเกษียณอายุ

1. ประเมินรายจ่ายต่อเดือน ณ วันเกษียณอายุ (ด้วยราคาปัจจุบัน)

300 x 30 = 9,000
700 x 4 = 2,800
3,000
1,000
2,000
24,000/12 = 2,000
-
4,000
60,000/12 = 5,000
28,800

19/06/2016 187
Workshop #3 : ประเมินทุนเกษียณอายุ

2. ปรับรายจ่ายให้เป็นค่าเงินในอนาคตด้วยตัวคูณเงินเฟ้อ

28,800 2.1 60,480

19/06/2016 188
Workshop #3 : ประเมินทุนเกษียณอายุ

3. ประเมินทุนเกษียณที่ควรมี ณ วันเกษียณอายุ
(กรณีที่ลงทุนหลังเกษียณแล้วได้ผลตอบแทนเท่ากับอัตราเงินเฟ้อ)

60,480 20 14,515,200

ไม่ควรประเมินน้อยเกินไป เป็นเป้าหมายขั้นต้น
อย่างน้อยควรเผื่ออายุขัย หากลงทุนหลังเกษียณ
ถึงประมาณ 80 ปี ได้ผลตอบแทนมากขึน้
อาจเตรียมเงินน้อยกว่านีไ้ ด้

19/06/2016 189
แหล่งเงินทุนเพื่อเกษียณอายุ : ภาคเอกชน

4 ออม/ลงทุนเพิ่มด้วยตัวเอง

3 กองทุนสารองเลี้ยงชีพ

2 บานาญ ประกันสังคม

แหล่งเงินทุน
1 เงินชดเชยตามกฎหมาย
ขั้นพื้นฐาน

02/10/2016 190
เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน
ระยะเวลาในการทางาน อัตราเงินชดเชย
ตั้งแต่ 120 วัน แต่ไม่ถึง 1 ปี 30 วัน
ตั้งแต่ 1 ปี แต่ไม่ถึง 3 ปี 90 วัน
ตั้งแต่ 3 ปี แต่ไม่ถึง 6 ปี 180 วัน
ตั้งแต่ 6 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี 240 วัน
ตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป 300 วัน

02/10/2016 191
บานาญชราภาพ กองทุนประกันสังคม
ระยะเวลาที่ ร้อยละของเงินเดือน เงินบานาญ
จ่ายเงินสมทบ (ปี) เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย* (บาท/เดือน)
15 20.0% 3,000
16 21.5% 3,225
17 23.0% 3,450
18 24.5% 3,675
19 26.0% 3,900
20 27.5% 4,125
25 35.0% 5,250
30 42.5% 6,375
31 44.0% 6,600
32 45.5% 6,825
33 47.0% 7,050
34 48.5% 7,275
35 50.0% 7,500
36 51.5% 7,725
37 53.0% 7,950
38 54.5% 8,175 * สูงสุดอัตรา 15,000 บาท/เดือน

02/10/2016 192
แหล่งเงินทุนเพื่อเกษียณอายุ : ข้าราชการ

3 ออม/ลงทุนเพิ่มด้วยตัวเอง

2 กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ

แหล่งเงินทุน
1 เงินบานาญ
ขั้นพื้นฐาน

02/10/2016 193
เงินบานาญ
กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.
เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ
เงินบานาญ =
50

กรณีเป็นสมาชิก กบข.
เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ
เงินบานาญ* =
50
* แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของอัตราเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย

02/10/2016 194
ตัวอย่าง เงินบานาญ (สูตรสมาชิก กบข.)
เงินเดือนเฉลี่ย เวลาราชการ (ปี)
(60 เดือนสุดท้าย) 30 ปี 35 ปี 40 ปี
30,000 18,000 21,000 21,000
40,000 24,000 28,000 28,000
50,000 30,000 35,000 35,000
60,000 36,000 42,000 42,000
70,000 42,000 49,000 49,000
80,000 48,000 56,000 56,000
90,000 54,000 63,000 63,000
100,000 60,000 70,000 70,000
* สูงสุดไม่เกินร้อยละ 70 ของอัตราเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย

02/10/2016 195
กองทุนสารองเลี้ยงชีพ (Provident Fund)
14,000,000
มูลค่าเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพของมนุษย์เงินเดือนทั่วไป
12,000,000
12,398,410
เมื่อสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนระดับต่างๆ

10,000,000

8,000,000

6,561,062
6,000,000

4,482,605
4,000,000
3,183,952
2,000,000
1,026,855
0
22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60

สมมติฐานการคานวณ : เริ่มเป็นสมาชิกฯ เมื่ออายุ 22 ปี, เงินเดือนเริ่มต้น 15,000 บาท จากนั้นเพิ่มขึ้นปีละ 5% ทุกปี


อัตราเงินสะสม = 5% และ อัตราเงินสมทบ = 5%

02/10/2016 196
ประเมินเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ (PVD)
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator

ยอดเงินรวมใน PVD ณ ปัจจุบัน


เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ส่วนของเรา)
อัตราเงินสมทบ (ส่วนของนายจ้าง)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ

ยอดเงิน PVD ณ วันเกษียณอายุ

02/10/2016 197
ประเมินเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ (PVD)
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator

ยอดเงินรวมใน PVD ณ ปัจจุบัน


เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ส่วนของเรา)
อัตราเงินสมทบ (ส่วนของนายจ้าง)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ

ยอดเงิน PVD ณ วันเกษียณอายุ

02/10/2016 198
กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.)
 ได้เลือกแผนการลงทุนให้สอดคล้องกับระยะเวลาการลงทุน
และวัตถุประสงค์การลงทุนแล้วหรือไม่ ?

 ใช้สิทธิ์ “ออมเพิ่ม” แล้วหรือยัง ?


(ออมเพิ่มได้อีก 1–12% ของเงินเดือน รวมสูงสุด 15%)

02/10/2016 199
แผนการลงทุน 4 แผนดั้งเดิม

แผนตั้งต้น
ของสมาชิก กบข.
ทุกราย

02/10/2016 200
แผนการลงทุน แผนสมดุลตามอายุ

02/10/2016 201
ประเมิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ : กรณีปกติ
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator

ยอดเงินรวมใน กบข. ณ ปัจจุบัน


เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ของข้าราชการ)
อัตราเงินสมทบ (ของรัฐฯ)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ

ยอดเงิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ

02/10/2016 202
ประเมิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ : กรณีเปลี่ยนแผนการลงทุน
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator

ยอดเงินรวมใน กบข. ณ ปัจจุบัน


เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ของข้าราชการ)
อัตราเงินสมทบ (ของรัฐฯ)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ

ยอดเงิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ

02/10/2016 203
ประเมิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ : กรณีออมเพิ่ม & เปลี่ยนแผน

ออมเพิ่มเต็มสิทธิ์ 15% ออมเพิ่มเต็มสิทธิ์ 15%


ลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 6% ลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 8%
02/10/2016 204
เก็บออม และ ลงทุนเพิ่ม ด้วยตนเอง

02/10/2016 205
ตัวอย่าง #1 กรณีเริ่มต้นเร็ว และไม่มีเงินลงทุนตั้งต้น

หรือ เดือนละ หรือ เดือนละ 3,000


5,000 และโบนัส 24,000
ไม่มี เงินลงทุนเริ่มต้น
เงินที่ต้องลงทุนเพิ่มในแต่ละปี
เป้าหมาย = 10 ล้านบาท
ผลตอบแทนเฉลี่ย = 10% ต่อปี
ระยะเวลาการลงทุน = 30 ปี

02/10/2016 206
ตัวอย่าง #2 กรณีเริ่มต้นช้า แต่มีเงินลงทุนตั้งต้น

มีเงินลงทุนเริ่มต้น = 5 แสนบาท
เงินที่ต้องลงทุนเพิ่มในแต่ละปี
เป้าหมาย = 10 ล้านบาท
ผลตอบแทนเฉลี่ย = 10% ต่อปี
ระยะเวลาการลงทุน = 20 ปี

02/10/2016 207
ออกแบบเส้นทางการลงทุน
มูลค่ าเงินลงทุน 16.0
ปี ที่ อายุ ทักษะ
ต้ นงวด ผลตอบแทน ลงทุนเพิ่ม ปลายงวด 15.0
1 36 1,000,000 10.0% 100,000 200,000 1,300,000 14.0
2 37 1,300,000 10.0% 130,000 200,000 1,630,000
13.0
3 38 1,630,000 10.0% 163,000 200,000 1,993,000
12.0
4 39 1,993,000 10.0% 199,300 200,000 2,392,300
5 40 2,392,300 10.0% 239,230 200,000 2,831,530 11.0
6 41 2,831,530 10.0% 283,153 250,000 3,364,683 10.0
7 42 3,364,683 10.0% 336,468 250,000 3,951,151 9.0
8 43 3,951,151 10.0% 395,115 250,000 4,596,266 8.0
9 44 4,596,266 10.0% 459,627 250,000 5,305,893
10 45 5,305,893 10.0% 530,589 250,000 6,086,482
วินัย 7.0
6.0
11 46 6,086,482 8.0% 486,919 300,000 6,873,401
5.0
12 47 6,873,401 8.0% 549,872 300,000 7,723,273
13 48 7,723,273 8.0% 617,862 300,000 8,641,135 4.0
14 49 8,641,135 8.0% 691,291 300,000 9,632,426 3.0
15 50 9,632,426 8.0% 770,594 300,000 10,703,020 2.0
16 51 10,703,020 8.0% 856,242 300,000 11,859,261 1.0
17 52 11,859,261 4.0% 474,370 300,000 12,633,632 เวลา
0.0
18 53 12,633,632 4.0% 505,345 300,000 13,438,977 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55
19 54 13,438,977 4.0% 537,559 300,000 14,276,536
แผนการลงทุน ต้ นทุนสะสม
20 55 14,276,536 4.0% 571,061 300,000 15,147,598

02/10/2016 208
ผลลัพธ์การลงทุนจริง
มูลค่ าเงินลงทุน ใส่เงินลงทุนเพิ่ม 16.0
ปี ที่ อายุ ทักษะ
ต้ นงวด ผลตอบแทน ลงทุนเพิ่ม ปลายงวด ได้ตามแผนหรือไม่
1 36 1,000,000 -2.4% -24,000 200,000 1,176,000 14.0
2 37 1,176,000 -15.0% -176,400 200,000 1,199,600
สร้างผลตอบแทน
3 38 1,199,600 34.7% 416,261 200,000 1,815,861
ได้ตามแผนหรือไม่ 12.0
4 39 1,815,861 42.1% 764,478 200,000 2,780,339
5 40 2,780,339 -5.0% -139,017 200,000 2,841,322
6 41 2,841,322 7.5% 213,099 250,000 3,304,421 10.0
7 42 3,304,421 2.1% 69,393 250,000 3,623,814
8 43 3,623,814 57.0% 2,065,574 250,000 5,939,388 8.0
9 44 5,939,388 -14.0% -831,514 250,000 5,357,873
10 45 5,357,873 24.2% 1,296,605 250,000 6,904,479 วินัย
6.0
11 46 6,904,479 3.6% 248,561 300,000 7,453,040
12 47 7,453,040 7.8% 581,337 300,000 8,334,377
13 48 8,334,377 -5.0% -416,719 300,000 8,217,658 4.0
14 49 8,217,658 17.0% 1,397,002 300,000 9,914,660
15 50 9,914,660 6.1% 604,794 300,000 10,819,454 2.0
16 51 10,819,454 7.2% 779,001 300,000 11,898,455
17 52 11,898,455 5.0% 594,923 300,000 12,793,378 เวลา
0.0
18 53 12,793,378 -3.0% -383,801 300,000 12,709,577
35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55
19 54 12,709,577 11.4% 1,448,892 300,000 14,458,468
ผลลัพธ์จริ ง แผนการลงทุน ต้ นทุนสะสม
20 55 14,458,468 2.8% 404,837 300,000 15,163,305

02/10/2016 209
วางแผน & จัดพอร์ตลงทุน เพื่อเป้าหมายอื่นๆ ในชีวิต

ที่มา : Goals-based Investing: Integrating Traditional and Behavioral Finance โดย Dan Nevins

19/06/2016 210
ฝันที่สวยงามของครอบครัวนี้... จะเป็นจริงได้หรือไม่ ?

อายุ 35 ปี, สามี-ภรรยามีรายได้ 60,000 บาท/เดือน, มีเงินลงทุนเริ่มต้น 500,000 บาท

19/06/2016 211
สรุปเป้าหมาย : อะไร ? เท่าไร ? เมื่อไร ?
ระยะเวลา
เป้าหมาย มูลค่าเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย

1. ท่องเที่ยว 3 ปี 200,000 บาท

2. ดาวน์รถใหม่ 5 ปี 300,000 บาท

3. เงินทุนเพื่อการศึกษาบุตร 15 ปี 2,000,000 บาท

4. เงินทุนเพื่อเกษียณอายุ 25 ปี 10,000,000 บาท

19/06/2016 212
วางแผนเงินลงทุน
เป้าหมาย ท่องเที่ยว ดาวน์รถ การศึกษาบุตร ทุนเกษียณ รวม

ลาดับความสาคัญ 4 3 2 1

เงินลงทุนเริ่มต้น 50,000 100,000 100,000 250,000 500,000

เงินลงทุนเป้าหมาย 200,000 300,000 2,000,000 10,000,000 12,500,000

ระยะเวลาบรรลุเป้าหมาย
3 5 15 25
(ปี)
อัตราผลตอบแทน
3% 5% 8% 10%
ที่คาดหวัง (% ต่อปี)
เงินที่ต้องลงทุนต่อเดือน
(คานวณจาก App)
4,000 2,600 5,200 6,200 18,000
กองทุน กองทุนผสม กองทุนผสม กองทุนหุ้น Saving Rate
ตัวอย่าง เครื่องมือลงทุน ตราสารหนี้ (หุ้น 15%) (หุ้น 60%) (หุ้น 100%) 30%
19/06/2016 213
ลงทุนให้เหมือนวิ่งมาราธอน!

19/06/2016 214
เชิญศึกษาเพิ่มเติมได้ฟรีที่ www.a-academy.net เมนู Videos

เรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง ทุกที่ ทุกเวลา


ผ่านวีดีโอ Streaming บน .

02/10/2016 215
Action Plan
วางแผนลงมือปฏิบัติ

216
เส้นทางสู่ความมั่นคงและอิสรภาพทางการเงิน
สินทรัพย์ หนี้สิน

2 พอใช้ 3-6 เดือน 1


ก าจั ด หนี เ
้ ลว
กากับหนี้ดี
สร้างทรัพย์สินลงทุน
ไว้เลี้ยงตัวในระยะยาว
(เลือกทรัพย์สินที่ถนัด) ความมั่งคั่งสุทธิ
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
มั่นคงขึ้นเรื่อยๆ
3 สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว
มีเหตุผล พอเพียง สมฐานะ

19/06/2016 217
จัดทาแผนงบประมาณส่วนบุคคล (Personal Budget)
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2016
กระแสเงิ นสดรับ
เงินเดือน 60,000 60,000 60,000 60,000 60,000 60,000 61,200 61,200 61,200 61,200 61,200 61,200 727,200
คอมมิชชั ่น/โบนัส 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
เงินปั นผล 0 0 0 0 30,000 0 0 0 0 0 0 0 30,000
รายได้อ่ืนๆ : 0 0 20,000 0 0 0 0 0 20,000 0 0 0 40,000
รวมกระแสเงิ นสดรับ 60,000 60,000 80,000 60,000 90,000 60,000 61,200 61,200 81,200 61,200 61,200 61,200 797,200
กระแสเงิ นสดจ่าย
ออมและลงทุน 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 216,000
เพือ่ : ท่องเที่ยว 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 48,000
เพือ่ : ดาวน์รถ 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 31,200
เพือ่ : การศึกษาบุตร 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 62,400
เพือ่ : เกษียณอายุ 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 74,400
คงที่ 26,950 26,950 26,950 41,950 63,950 26,950 26,950 26,950 26,950 44,950 26,950 26,950 393,400
ภาษี 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 14,400
ประกันสังคม 750 750 750 750 750 750 750 750 750 750 750 750 9,000
กองทุนสารองเลีย้ งชีพ / กบข. 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 21,600
ค่างวดบ้าน / ค่าเช่าบ้าน 13,000 13,000 13,000 13,000 50,000 13,000 13,000 13,000 13,000 13,000 13,000 13,000 193,000
ค่างวดรถ 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 96,000
ค่างวด / เงินคืนหนี้อ่ืนๆ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ค่าน้ า ค่าไฟ 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 12,000
ค่าโทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต เคเบิ้ล 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 14,400
เบี้ยประกัน 0 0 0 15,000 0 0 0 0 0 18,000 0 0 33,000
ผันแปร 12,000 12,000 12,000 24,000 12,000 12,000 12,000 12,000 12,000 12,000 20,000 26,500 178,500
ค่าอาหาร 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 60,000
ค่าเดินทาง 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 36,000
ค่าใช้จ่ายสุขภาพ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 8,000 0 8,000
ค่าใช้จ่ายส่วนตัวอื่นๆ 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 18,000
ค่าสันทนาการ/บันเทิง 2,000 2,000 2,000 14,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 14,000 48,000
ค่าทาบุญ 500 500 500 500 500 500 500 500 500 500 500 3,000 8,500
ค่าใช้จ่ายผันแปรอื่นๆ : 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
รวมกระแสเงิ นสดจ่าย 56,950 56,950 56,950 83,950 93,950 56,950 56,950 56,950 56,950 74,950 64,950 71,450 787,900
กระแสเงิ นสดสุทธิ 3,050 3,050 23,050 -23,950 -3,950 3,050 4,250 4,250 24,250 -13,750 -3,750 -10,250 9,300
19/06/2016 218
เริ่มวันนี้… วันที่เรายังมีเวลามากที่สุด!

เวลาที่ดีที่สุดในการปลูกป่าคือ 20 ปีที่แล้ว
เวลาดีที่สุดรองลงมาคือ... ตอนนี้!

19/06/2016 219
ไม่ล้มเลิก

ลงมือทา

มีแผนรองรับ

กล้าที่จะฝัน

ขอให้ประสบความสาเร็จ... ในทุกสิ่งที่มุ่งหวังนะครับ
19/06/2016 220
แนวคิด Pay It Forward
ร่วมส่งต่อความรู้ทางการเงิน

221
แนวทางการมีส่วนร่วม

1. บอกต่อ 2. เป็นแบบอย่าง 3. สมทบทุน


ให้คนที่เราห่วงใย ของความสาเร็จ เพื่อส่งต่อความรู้
19/06/2016 222
แนวทางการมีส่วนร่วม

1. บอกต่อ 2. เป็นแบบอย่าง 3. สมทบทุน


ให้คนที่เราห่วงใย ของความสาเร็จ เพื่อส่งต่อความรู้
19/06/2016 223
Personal Coaching ฟรี... ปีละอย่างน้อย 100 คน

19/06/2016 224
Meeting + Webinar + Seminar เฉพาะชาว FF

19/06/2016 225
FF : Pay It Forward Community
 ให้สิทธิ์ เฉพาะผู้ที่ส่ง Post-Assignment เท่านั้น
 ส่งอีเมล์ขอรับโจทย์ได้ที่ a.academy.th@gmail.com
ภายในวันที่ 19 ธันวาคม 2559 เท่านั้น
 สิทธิประโยชน์ ที่จะได้รับ
 สิทธ์ในการเข้าเป็นสมาชิก Secret Group ใน Facebook
 สิทธิ์ในการ Coaching / Review แผนการเงิน/แผนชีวิต
 สิทธิ์ในการอบรมหลักสูตรต่อยอดต่างๆ ภายในกลุ่ม
 กาหนดส่งภายใน 19 มกราคม 2560 เท่านั้น

19/06/2016 226
แนวทางการมีส่วนร่วม

1. บอกต่อ 2. เป็นแบบอย่าง 3. สมทบทุน


ให้คนที่เราห่วงใย ของความสาเร็จ เพื่อส่งต่อความรู้
19/06/2016 227
จุดเริ่มต้น : กองทุน Pay It Forward เพื่อส่งต่อความรู้ทางการเงิน

รศ.ดร. ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา


อาจารย์ประจาคณะบริหารธุรกิจ นิด้า
ผู้ดาเนินรายการ Money Talk

19/06/2016 228
หลักการกองทุน FF Pay It Forward โดย A-Academy
รายรับ รายจ่าย
 เงินสมทบทุน  มีวัตถุประสงค์เพื่อการส่งต่อความรู้
(เปิดรับจากผู้เข้าร่วมสัมมนา ทั้งหลักสูตรที่จัดให้ Public, In-House,
หลักสูตรกลุ่ม Pay It Forward) และ Online อาทิ

 50% ของรายได้จากการบรรยาย  ค่าสถานที่


In-House ภายในองค์กรต่างๆ  ค่าเดินทาง
(หลักสูตรกลุ่ม Pay It Forward)
 ค่าเอกสาร/เครื่องมือ/อุปกรณ์
 ค่าประชาสัมพันธ์
 ค่าทีมงาน และอื่นๆ ตามสมควร

หมายเหตุ/ข้อควรทราบ ผมขอสงวนสิทธิ์ใช้ดุลยพินิจในการจัดการรายรับ-รายจ่ายแต่เพียงผู้เดียว

19/06/2016 229
สถานะ กองทุน Pay It Forward โดย A-Academy (ณ 13 ธ.ค. 59)
1,000,000
ยอดเงินกองทุนคงเหลือ (ก่อนจัดสัมมนา FF7) = 341,281 บาท 918,163
900,000 จัดสัมมนาทัง้ สิน้ 49 ครัง้ จานวนผู้ผ่านหลักสูตร 3,941 คน
800,000

700,000

600,000 576,882

500,000

400,000 380,512

300,000

200,000
101,070 86,931 96,990 99,101 102,400 100,000
100,000 86,350 80,879 91,080 69,510
59,390 55,105 55,490
28,397
1,840
0
อื่นๆ In-House FF1 FF2 FF3 FF4 FF5 FF6 รวม
รับ จ่าย

19/06/2016 230
สมทบเงินทุนเข้ากองทุน
“Pay It Forward”

หย่อนลงกล่องที่เตรียมไว้หน้าห้อง
หรือ โอนเงินเข้าบัญชีต่อไปนี้

ธนาคาร สาขา ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี


SCB 233-2-24614-6
ลาดพร้าว
BBL ศักดา สรรพปัญญาวงศ์ 021-7-14735-4
101
KBANK 881-2-10913-9

19/06/2016 231
พร้อมให้บริการในเดือน เม.ย. 2560

11/12/2016 232

Anda mungkin juga menyukai