Anda di halaman 1dari 7

[ไขข้อข้องใจ] แบตเตอรีช

่ าร์จอย่างไรให้อยูก
่ ับเราไปนานๆ

เชอื่ ว่าหลายๆ คนอาจจะเคยอ่านบทความเกีย ่ วกับวิธถ ี นอมแบตเตอรี่



ยืดอายุการใชงานมาจากหลายที ่ ลายแหล่ง ซงึ่ ข ้อมูลแต่ละทีก
ห ่ ็เหมือนกันบ ้างต่างกันบ ้าง
จนบางครัง้ ก็เริม ั สนว่าอันไหนถูกอันไหนผิดกันแน่
่ สบ
เราจึงได ้พยายามค ้นหาข ้อมูลจากแหล่งทีน ่ ่าเชอ ื่ ถือด ้านแบตเตอรี่
เรียบเรียงและสรุปข ้อมูลทีถ ่ ก
ู ต ้องพร ้อมผลการทดลองทีท ่ าในแลป
เพือ ่ หาคาตอบให ้เพือ ่ นๆอ่านกันว่าอะไรคือ วิธช ี าร์จแบต ใชง้ านมือถือ ทีถ ่ กู ต้องกันแน่

ก่อนทีจ
่ ะไปถึงเนือ
้ หา ทีบ ่ างคนอาจจะคิดว่า “ยาวไปไม่อา่ น”
เราเลยขอสรุปแบบสน ั ้ ๆเอาไว ้ให ้ดังนี้

ี ารใชง้ านแบตเตอรีท
สรุปวิธก ่ เี่ ป็น Li-Ion (ลิเธียมไอออน) หรือ Li-Po
(ลิเธียมโพลิเมอร์)
เพือ
่ การถนอมแบตให้อยูไ่ ปนานๆ

1. ชาร์จให ้บ่อย ไม่เต็มไม่เป็ นไร


2. ้
อย่าใชแบตหมดจนเครื อ่ งดับ
3. ้
แต่ควรต ้องใชแบตให ้หมดเกลีย ้ ง 1-3 เดือนครัง้
4. อย่าปล่อยให ้เครือ ่ งร ้อน อยูใ่ นทีเ่ ย็นยิง่ ดี
5. เลีย ้
่ งการใชงานระหว่ างชาร์จ
6. สามารถเสย ี บปลั๊กชาร์จไปเรือ ่ ยๆได ้แม ้ไฟเต็ม
7. อย่าอัดประจุเพิม ่ ด ้วยทีช ่ าร์จไฟแรงๆ
8. ี เวลาชาร์จครัง้ แรกนานๆก็ได ้
ไม่ต ้องเสย

ความเข้าใจผิดต่อแบตลิเธียม โดยนึกว่าม ันจะเหมือนก ับแบต Nickel


(นิกเกิล
้ แคดเมียม)

1. ้ ้หมดก่อนแล ้วค่อยชาร์จ
ควรใชให
2. ชาร์จตอนแบตยังไม่หมด จะสร ้างความจาให ้แบต ว่ามีความจุน ้อยลง
3. ชาร์จแล ้วควรชาร์จให ้เต็ม
4. ชาร์จครัง้ แรกต ้องนาน 14-16 ชม.

ทีน
่ เี้ รามาดูกันว่าอะไรเป็ นทีม
่ าของวิธข
ี ้างต ้นนี้

ต ้องเกริน ั เล็กน ้อยว่าแบตเตอรีข


่ สก ่ องอุปกรณ์พกพาในปัจจุบ ันไม่วา่ จะเป็ นบนสมาร์ทโฟน
แท็บเล็ตหรือคอมพิวเตอร์โน๊ตบุก ๊ จะเป็นแบตเตอรีป ่ ระเภท Li-Ion หรือไม่ก็ Li-Po
ซงึ่ เจ ้าแบตเตอรี่ 2 ประเภทนีต้ า่ งกันเล็กน ้อยทีโ่ ครงสร ้างของมัน แต่ในเชงิ การใชงานจริ
้ งๆ
แล ้วก็ไม่เห็นความ แตกต่างเท่าไรนัก

ื่ มเพราะอะไร ?
แบตเตอรีเ่ สอ

โดยปกติแล ้วแบตเตอรีจ ื่ มสภาพตามเวลาอยูแ


่ ะเสอ ้
่ ล้วแม ้ว่าจะไม่ได ้ใชงานก็ ตาม
ดังนัน
้ เราควรซอ ื้ แบตทีเ่ พิง่ ผลิตออกมาใหม่ๆ ไม่เอาทีเ่ ก่าเก็บมา แต่ในเชงิ ของการใชงานแล
้ ้ว
แบตเตอรีจ ่ ะมีสงิ่ ทีเ่ รียกว่า “Charge cycle” คือ

1

เลขประมาณรอบการใชงานของแบตเตอรี ก
่ อ
่ นทีแ
่ บตเตอรีจ
่ ะเริม ื่ มสภาพหรือหมดอายุ
่ เสอ
ทีนค
ี้ อ
ื “รอบ” ทีว่ า่ นีม ี บสายชาร์จแบตขึน
่ ันเป็ นยังไง เสย ้ ไป 1% แล ้วถอดนีน ่ ับเป็ นรอบรึยัง?

เชอื่ มัย
้ ครับว่า “การนับรอบ” ของแบตเตอรีน ่ เี่ ป็ นปั ญหาระดับโลกเลยทีเดียว (ว่าไปนั่น)
เพราะน ้อยทีน ่ ักจะมีวธิ กี ารนับ รอบทีค
่ นทั่วไปสามารถอ่านเข ้าใจได ้และมีเกณฑ์ชด ั เจน
จนกระทั่งมีบริษัทชอ ื่ คุ ้นหูพวกเรานามว่า “แอปเปิ ล” ได ้ อธิบายว่า 1 Charge cycle
คือการใชแ ้ บตเตอรีค ่ รบ 100%
แต่ไม่จาเป็นว่าต้องเป็นการใชง้ านต่อเนือ ่ งจนแบตเตอรีห ่ มดนะคร ับ ตัวอย่างเชน ่

ใชบแบตเตอรี จ
่ ากเต็ม 100% ลดไปเหลือ 50% นาไปชาร์จเพิม ่ จนเต็ม แล ้วใช ้ อีก 50%
แบบนีถ ้ งึ นับเป็ น 1 Charge cycle ครับ

ผลการทดสอบแบตเตอรีห ่ ลายๆก ้อนทีแ


่ สดงให ้เห็นว่าเมือ ้
่ มีการใชงานไปเรือ่ ยๆความจุจะค่อยๆ
่ ึ
น ้อยลงไปซงปกติจะลดลงเหลือราว 75% ของความจุจริงเมือ ่ ผ่านไปประมาณ 1 ปี

แน่นอนว่าแบตเตอรีไ่ ม่ได ้เสอ ื่ มเพียงเพราะการใชงานจนครบ


้ Charge cycle อย่างเดียว
ยังมีปจั จ ัยอีกหลายๆ
อย่างทีท ื่ มสภาพก่อนเวลาอ ันควรหรือเรียกว่ามันไป “ลด Charge cycle”
่ าให้แบตเตอรีเ่ สอ
ของแบตเตอรีค ่ รับ
ข ้อมูลทีเ่ ราจะนาเสนอต่อไปนีเ้ ป็ นผลการทดลองทีไ่ ด ้มาจากการทดสอบกับแบตเตอรี่ Li-Ion
ครับ

จริงหรือไม่ทวี่ า
่ “ไม่ควรปล่อยแบตหมดแล้วถึงชาร์จ” ?

2
Depth of discharge คือ ปริมาณแบตเตอรีท ่ ถ
ี่ ก ้ เชน
ู ใชไป ่ Depth of discharge 100%
เท่ากับแบตเตอรีถ
่ ก ้
ู ใชงานเหลื
อ 0%, Depth of charge 10% เท่ากับ แบตเตอรีเ่ หลือ 90%)
Discharge cycles before the battery capacity drops to 70% คือ

จานวนรอบการใชงาน/ชาร์ จแบตเตอรี่ ก่อนที่ ความจุของแบตเตอรีจ่ ะลดลงไปเหลือ 70%
ของความจุเดิม

ตารางข ้างบนนีเ้ ป็ นผลการทดลองว่าการชาร์จแบตเตอรีท ่ รี่ ะดับไฟต่างๆ


สง่ ผลต่อความจุของแบตเตอรีใ่ นระยะยาวอย่างไรการทดลองทาโดยการชาร์จแบตเตอรี่ Li-Ion
ขนาดความจุเท่ากันแต่เริม ่ ชาร์จทีร่ ะดับ Depth of discharge
ต่างกันและบันทึกข ้อมูลว่าสามารถชาร์จไปได ้กีร่ อบก่อนทีค ่ วามจุเต็มๆของแบตเตอรีจ
่ ะตกลงไป
เหลือ 70% จากความจุเริม ่ ต ้น


ผลการทดลองพบว่าถ ้าเราใชงานแบตเตอรี จ ่ นีไ
่ นเหลือ 0% แล ้วจึงค่อยชาร์จ และทาเชน ้ ป 300
– 500 รอบก็จะพบว่า แบตเตอรีม ่ ค
ี วามจุลดลงไปเป็ น 70% จากของเดิมซะแล ้ว
ในขณะทีถ่ ้าเราชาร์จแบตเตอรีต ่ อนทีเ่ หลือมากกว่า 0% จะมีจานวนรอบมากกว่า 4-8
เท่าก่อนทีแ
่ บตเตอรีจ่ ะมีความจุลดลงเหลือ 70% เลยทีเดียว

ดังนัน ้ ข ้อมูลทีว่ า่ การชาร์จแบตเตอรีเ่ มือ ่ ประจุ(เปอร์เซ็นต์)เหลือน้อยๆ


นนท ั้ าให้แบตเตอรีเ่ สอ ื่ มเร็ว เป็นความจริงคร ับ แต่วา่ การชาร์จเมือ่ ประจุลดไปเล็กน้อย
(เปอร์เซ็นต์ลดไปนิดเดียว) ก็ไม่ได้สง ่ ผลดีน ัก

ชวงทีเ่ หมาะสมทีส ่ ด
ุ จากข้อมูลในตารางคือชว ่ งทีแ
่ บตเตอรีเ่ หลือราว 50% คร ับ

จริงหรือไม่ทวี่ า ื่ มเร็ว” ?
่ “ความร้อนทาให้แบตเตอรีเ่ สอ

การทดลองนีท ้ ดสอบว่า “ความร ้อน” และ “ประจุทค ี่ งเหลือ”


มีผลต่อการเสอ ื่ มสภาพของแบตเตอรีห ่ รือไม่
โดยการปล่อยแบตเตอรีท ่ ไี่ ม่ถก ้
ู ใชงานให ้อยูใ่ นอุณหภูมท ิ แ
ี่ ตกต่างกันเป็ นเวลา 1 ปี
โดยมีแบตเตอรีก ่ ้อนหนึง่ ชาร์จไว ้ที่ 40% มีแรงดันไฟฟ้ า (Volt) ตา่ กับแบตเตอรีอ ่ ก
ี ก ้อนหนึง่
ทีช
่ าร์จไว ้ที่ 100% หรือก็คอ ื แบตเตอรีท่ ช
ี่ าร์จเต็ม มีแรงดันไฟฟ้ า (Volt) ทีส ่ งู กว่า

ผลการทดลองพบว่าทีอ ่ ณ
ุ หภูมย
ิ งิ่ สูง ยิง่ ร ้อน แบตเตอรีย ื่ มสภาพมากครับ ที่ 60
่ งิ่ เสอ
องศาเซลเซย ี ส แบตเตอรี่ 40% ที่ ถูกทิง้ ไว ้มีความจุเมือ ่ ชาร์จเต็มลดลงไป 75% จากเดิม
ขณะทีแ่ บตเตอรี่ 100% มีความจุเมือ ่ ชาร์จเต็มลดไปเป็ น 60% ภายในเวลาเพียง 3
เดือนเท่านัน
้ ! จะเห็นว่าแบตเตอรีท ่ ม
ี่ แี รงดันไฟฟ้ าสูงกว่าก็จะเสอ ื่ มเร็วกว่าด ้วยครับ

ดังนัน
้ ข ้อมูลทีว่ า่ ความร้อนทาให้แบตเตอรีเ่ สอ ื่ มเร็ว เป็นความจริงคร ับ
รวมถึงแบตเตอรีท ่ ถ
ี่ ก
ู เก็บไว้โดยมีแรงด ันไฟฟ้าสูง
(เปอร์เซนต์เยอะๆ)ก็จะเสอ ื่ มเร็วเชน
่ ก ัน

3
โอ๊ย! แบตเหลือน้อยก็ไม่ด ี เครือ ื่ ม แล้วเราจะทาย ังไงก ับม ันดีละ่ ?
่ งร้อนก็ทาแบตเสอ

่ ันฟั งแค่สาเหตุทท
ไม่ต ้องห่วงครับ เราไม่ได ้มาเล่าสูก ื่ ม
ี่ าให ้แบตเตอรีเ่ สอ
เราเตรียมคาแนะนาสาหรับการใชงานและ ้ การดูแลรักษาแบตเตอรีเ่ หมาะสมมาให ้เพือ
่ นๆ
อ่านกันด ้วย จากคาแนะนาทีไ่ ด ้สรุปไว ้ข ้างบนเราจะมาลงรายละเอียด
กันว่าควรหรือไม่ควรทาเพราะอะไร ลองไปดูกันเลยครับ

ชาร์จไฟอย่างไรให ้ถูกต ้อง เดีย


๋ วมาดูกัน

1. ชาร์จแบตบ่อยๆ ไม่เต็มก็ไม่เป็นไร

แบตเตอรีแ่ บบลิเธียม-
ไอออนนัน้ ไม่จาทีจ่ ะต ้องปล่อยชาร์จจนเต็ม
ต่างกับแบตเตอรีย่ คุ เก่าทีเ่ ป็ นประเภทนิกเกิล-
่ ารชาร์จไม่เต็มจะสง่ ผลต่อความจุของแบตเตอรี่
แคดเมียมทีก
ด ังนนการชาร์
ั้ จแบตเตอรีล ่ เิ ธียม-ไอออนเพิม่ เล็กน้อย
แล้วเลิกชาร์จไม่สง่ ผลเสย ี ต่อแบตเตอรีแ ่ ต่อย่างใดคร ับ

2. อย่าปล่อยแบตเหลือน้อย


แม ้ว่าปั จจุบันสมาร์ทโฟนหรืออุปกรณ์ทใี่ ชแบตเตอรี ่ ว่ นใหญ่จะมีสว่ นของซอฟท์แวร์ทป
ส ี่ ิ ดเครือ
่ ง
เองเมือ่ แบตเตอรี่ เหลือตา่ มากๆ แต่เราก็ควรจะใสใ่ จปริมาณแบตเตอรีท ่ ค ่ กัน
ี่ งเหลือเชน
เพราะจากการทดลองข ้างต ้นจะเห็นว่าถ ้าเรา ชาร์จแบตเตอรีเ่ มือ ่ แบตเตอรีเ่ หลือน้อยๆ
จะทาให้ต ัวแบตเตอรีเ่ สอ ื่ มสภาพเร็ว เพราะฉะนั น
้ การชาร์จบ่อยๆ จะชว่ ยลดปั ญหานีไ ้ ด ้ครับ

3. ใฃ้จนแบตหมดไปเลยบ้าง 1-3 เดือนครงั้

เอ๊ะยังไง?
ไหนข ้อทีแ ่ ล ้วเพิง่ บอกว่าไม่ควรปล่อยให ้แบตเหลือน ้อยแล ้วคราวนีม ้ าบอกให ้ปล่อยแบตให ้เหลื
อน ้อยๆ มันมี สาเหตุครับ เชอว่าหลายๆ่ ื
คนน่าจะเคยเจอเหตุการณ์ทด ้
ี่ เู วลาทีใ่ ชงานได ้ ้อีกกีช
้ของแบตเตอรีว่ า่ ใชได ่ วั่ โมง กีน ่ าที
แว ้บแรกเห็นชวั่ โมงกว่าสบายใจ ไม่กน ี่ าทีบอกมาบอกเหลือไม่ถงึ ชวั่ โมงซะอย่างงัน ้
การทีร่ ะบบคานวณเวลาใชง้ าน
แบตเตอรีค ่ ลาดเคลือ ่ นเกิดจากการทีเ่ ราชาร์จเป็นชว ่ งสนๆั้ บ่อยเกินไปนน ่ ั เอง
วิธปี ้ องก ันปัญหานีค ้ อื ปล่อยให้แบตเตอรีเ่ หลือน้อยๆ แล้วชาร์จให้เต็มสกครงนึ ั ั้ งทุกๆ 1-
3 เดือนคร ับ

ิ ธิภาพ
4. อย่าปล่อยแบตร้อน จะลดทอนประสท

การทีใ่ ห ้แบตเตอรีโ่ ดนความร ้อนหรือทิง้ ตัวเครือ


่ งสมาร์ทโฟนไว ้ในทีร่ ้อนนัน
้ ไม่เป็ นผลดีตอ
่ แบตเ
ตอรีค
่ รับ จากการทดลองทีไ่ ด ้อ ้างอิงไว ้ข ้างบน
การทีแ ่ บตเตอรีเ่ จอความร้อนมากๆจะทาให้แบตเตอรีเ่ สอ ื่ มเร็ว
ความจุของแบตเตอรีก ่ ็จะลดลงครับ ดังนัน้ พยายามหลีกเลีย่ งการวางสมาร์ทโฟนไว ้ในทีร่ ้อน
กลางแดด หรือหลีกเลีย ้
่ งการใชงานหนั กจนเกิด ความร ้อนสูงครับ

สาหรับคอมพิวเตอร์โน้ตบุก ๊ นัน

การถอดแบตเตอรีอ ้
่ อกแล ้วใชการเส ี บไฟเข ้าโดยตรงก็เป็ นวิธก
ย ี ารหนึง่
แต่ก็มักจะพบปั ญหาตามมาในกรณีทไี่ ฟฟ้ าดับอาจจะสง่ ผลให ้ข ้อมูลหายหรือทาให ้ฮาร์ดแวร์ขด

4
ข ้องได ้ ทาให ้การหลีกเลีย ่ งความร ้อนจากตัวเครือ
่ งเป็ นไปได ้ยาก
แต่ก็มวี ธิ ห ่ อจะชว่ ยได ้คือการหาอะไรมารองใต้ต ัวเครือ
ี นึง่ ทีพ ่ งเพือ
่ ให้ความร้อนระบายออก
ได้ดข ี นึ้ คร ับ

่ งการใชง้ านระหว่างชาร์จ
5. เลีย

ถ ้าเป็ นไปได ้ควรจะปิ ดเครือ ่ งขณะชาร์จครับ เพราะการทีเ่ ปิ ดเครือ ้


่ งใชงานอย่ างต่อเนือ ่ ง
จะทาให ้มีการทางานทีอ ั
่ าศยไฟจากแบตเตอรี่
เมือ่ ทีช ่ าร์จปล่อยไฟเข ้ามาแล ้วพบว่ามีการโดนแบ่งไฟไปก็จะเพิม ่ ปริมาณกระแสเพิม ่
การชาร์จไฟโดยทีม ่ ก ี ระแสไฟฟ้ าสูงก็ จะสง่ ผลให ้ทัง้ ทีช
่ าร์จและอุปกรณ์ทช ี่ าร์จร ้อน
ซงึ่ ทัง้ กระแสไฟทีม ่ ากกว่าปกติและความร้อนทีเ่ กิดขึน ้ ล้วนเป็นสาเหตุท ี่
ทาให้แบตเตอรีเ่ สอ ื่ มเร็ วถ ้าหากเราปิ ดเครือ
่ งหรือหลีกเลีย ้
่ งการใชงาน
ทีช่ าร์จก็จะสามารถปล่อยไฟให ้ทีร่ ะดับปกติ กระแสไฟฟ้ าไม่สงู เกินไปซงึ่ ทา
ให ้เกิดความร ้อนน ้อยกว่าและปลอดภัยกว่าครับ

ี บชาร์จค้างไว้ได้ ถ้าทีช
6. สามารถเสย ่ าร์จและแบตมีระบบต ัดไฟ

ทีช ่ าร์จและแบตเตอรีข ่ องอุปกรณ์พกพาสมัยนี้สว่ นใหญ่จะมีระบบต ัดไฟเมือ ่ ชาร์จเต็มอยูแ ่ ล้


วครับดังนัน ้ ไม่ต ้องห่วงว่า ชาร์จทิง้ ไว ้นานๆแล ้วจะมีปัญหา
แต่ในทางกลับถ ้าหากทีช ่ าร์จหรือแบตเตอรีท ่ ใี่ ชนั้ น ่ องแท ้หรือไม่ได ้มาตรฐานก็เสย
้ ไม่ใชข ี่ งอยูค

รับ เพราะมันอาจจะไม่มรี ะบบต ัดไฟอยูภ ่ ายในก็เป็ นได ้ เชน ่
ทีช ่ าร์จไม่มรี ะบบตัดไฟและคาดหวังให ้แบตเตอรีต ่ ดั ไฟเอง หรือ
แบตเตอรีท ่ ไี่ ม่มก ี ารตัดไฟหวังพึง่ ให ้ทีช
่ าร์จตัดไฟเอง ลองคิดดูสค ิ รับว่าถ ้าทีช
่ าร์จและ
แบตเตอรีค ่ นู่ ม
ี้ าเจอกันจะเกิดอะไรขึน ้ ดังนัน ้ ควรจะหลีกเลีย ่ งของทีล ่ อกเลียนแล ้วหันมา
ใชแ ้ บตเตอรีข ่ องแท้ ทีช ่ าร์จ ของแท้จะดีทส ี่ ด
ุ คร ับ ไม่งน ั ้ อาจจะเกิดเหตุการณ์แบบ xphone
ทีร่ ะเบิดระหว่างชาร์จก็เป็ นได ้ :p

Charger Doctor (ตัววัดไฟเวลาชาร์จเข ้าเครือ


่ ง)
แสดงผลให ้เห็นว่าแบตเต็มแล ้ว
ก็แทบจะไม่มก
ี ารจ่ายไฟเข ้าไปเพิม
่ อีก

7. อย่าอ ัดประจุเพิม
่ ด้วยทีช
่ าร์จไฟแรงๆ

บางคนอาจจะเคยสงั เกตว่า ถ ้าหากเรานาเอา Charger ทีม ่ ค


ี วามต่างศก ั ย์สงู (V สูงๆ)
มาชาร์จไฟเข ้าเครือ ่ งเรา จะทาให ้ใชเ้ ครือ ่ งใชง้ านได้ยาวนานกว่าเดิม
นั่นก็เป็ นเพราะว่าเจ ้าทีช่ าร์จไฟเหล่านั น้ สามารถอัดไฟได ้แรงขึน ้ และชาร์จไฟเข ้าไปได ้มากกว่า
100% ของทีเ่ ก็บนั่นเอง
ถ ้าเปรียบเทียบก็คงเหมือนเราสามารถยัดของลงถุงได ้ถ ้าเราออกแรงยัดมันเพิม ่ อีกหน่อย
แต่ก็ต ้องอย่าลืมว่าถ ้าเรายัดบ่อยๆจะถุงก็อาจจะเสย ี หายหรือเสอ ื่ มสภาพเร็วกว่าปกติ
เชน ่ เดียวกับแบตเตอรีข ่ องเรานั่นเอง
ฉะนัน ้ ทางทีดเี ลือกใชที ้ ช่ าร์จทีม
่ าก ับเครือ่ งของเราเองเป็ นดีทส ี่ ด
ุ ครับ

5
ไฟทีช ั ย์สงู ๆจะทาให ้ได ้ประจุสงู กว่าความจุจริง
่ าร์จด ้วยความต่างศก

แต่ลดรอบการใชงานอย่ างรวดเร็วเชน ่ กัน

8. ชาร์จครงแรก
ั้ ไม่จาเป็นต้องนาน

ถ ้าเป็ นสมัยก่อนพวกเราเข ้าใจกันว่าเวลาซอ ื้ เครือ่ งอะไรสก ั อย่างมาแล ้วมันทางานด ้วยแบตเตอรี่


จะต ้องเสย ี บชาร์จทิง้ ไว ้นานๆ ก่อนถึงจะดี ใชค ่ รับนั่ นคือวิธใี ชงานที
้ ถ
่ ก
ู ต ้อง
แต่เป็ นสาหร ับแบตเตอรีร่ น ุ่ เก่าประเภทนิกเกิลแคดเมียมครับ
เนือ่ งจากแบตเตอรีล ่ ักษณะนีม ้ จ
ี ะพฤติกรรมทีเ่ รียกว่า Memory Effect
คือเมือ ่ ถูกชาร์จไฟไประดับหนึง่ แล ้วเลิกชาร์จ ต ัวแบตเตอรีจ ่ ะเข้าใจว่า ณ
จุดทีเ่ ลิกชาร์จคือจุดสูงสุดของความจุของม ันและจะทาให ้แบตเตอรีป ่ รับความจุมาอยูท
่ ี่
ระดับนัน ้ ไม่สามารถทาให ้ความจุสงู กว่านัน ้ ได ้ ทาให ้การชาร์จแต่ละครัง้ ควรจะชาร์จให ้เต็มๆ ไป
แต่สาหร ับแบตเตอรี่ ประเภทลิเธียมนนไม่ ั้ มพ ี ฤติกรรมล ักษณะนีค ้ ร ับ
ด ังนนเราจะชาร์
ั้ จแล้วเลิกชาร์จเมือ ่ ไรก็ได้คร ับ

วิธก ่ ไี่ ม่ได้ใชง้ าน


ี ารเก็บร ักษาแบตเตอรีท

แบตเตอรีท ่ ถ
ี่ กู ชาร์จไว ้เต็มนัน ้ จะมีแรงดันไฟฟ้ าสูง ซงึ่ เป็ นสภาพที่ แบตเตอรีม
่ ี “ความเครียด”
(Stress) การทีแ ่ บตเตอรีม ่ ี ความเครียดสูงนั น ่ ่ ื
้ จะสงผลต่อการเสอมของแบตเตอรีร่ วดเร็ว
กว่าสภาพทีม ่ คี วามเครียดตา่ (ดังทีเ่ ห็นว่าเวลาซอ ื้ เครือ ่ งใหม่ ไฟในแบตจะชาร์จมาให ้ไม่เต็ม
เพือ
่ การถนอมแบตสูงสุดนั่นเอง) จากผลการทดลองระบุวา่
ปริมาณแบตเตอรีท ่ ถ
ี่ อื ว่ามีความเครียดตา่ คือประมาณ 40% ของความจุ
ดังนัน
้ ถ้าจะปิ ดเครือ ั
่ งทิง้ ไว้ ก็ให้แบตเตอรี่ เหลือสกประมาณ 40%
จะถือว่าดีตอ ่ แบตเตอรีค ่ ร ับ

เป็ นอย่างไรบ ้างครับสาหรับคาแนะนาเหล่านี้ มีเพือ ่ นๆ คนไหนทีท ่ าอยูแ


่ ล ้วบ ้างหรือเปล่า
หรือถ ้าเพือ ่ นๆ คนไหนทีไ่ ม่ เคยทราบมาก่อนก็น่าจะได ้แนวทางนาไปใชได ้ ้
แม ้ว่าข ้อมูลทีน ่ ามาเสนอก็เป็ นผลการทดสอบทีผ ่ า่ นมาระยะหนึง่ แล ้ว
และแบตเตอรีใ่ นปั จจุบันนัน ้ ก็มก
ี ารพัฒนาอย่างต่อเนือ ่ ง ประสท ิ ธิภาพก็สงู ขึน้ เรือ
่ ยๆ
แต่ละยีห ่ ้อก็มล ี ก
ั ษณะทีแ
่ ตกต่างกันไป แต่ด ้วยโครงสร ้างทีย ่ ังเป็ นแบตเตอรีป ่ ระเภท Li-Ion
ก็ทาให ้สามารถอ ้างอิงผลการทดสอบดังกล่าวในการใช ้
เป็ นแนวทางในการดูแลรักษาแบตเตอรีไ่ ด ้ครับ

ั เพิม
ถ ้าหากมีข ้อสงสย ่ เติมหรือบทความมีข ้อผิดพลาดประการใด ้
สามารถแสดงความคิดเห็นไว ้ได ้เลยครับ แล ้วจะมาชว่ ยแก ้ไขข ้อข ้องใจให ้ครับ

6
สาหรับทีม ่ าของข ้อมูลการทดลองต่างๆ

รวมถึงคาแนะนาการใชงานแบตเตอรี ท
่ เี่ ราได ้นาเสนอนั น

เราได ้อ้างอิงจาก ทางเว็ บไซต์ Battery
University ซงึ่ เป็ นเว็บไซต์ทต
ี่ งั ้ ขึน
้ โดยบริษ ัท Cadex Electonics

ั้ าระด ับโลกในด้านการทดสอบประสท
บริษัทนีเ้ ป็นบริษ ัทชนน ิ ธิภาพของแบตเตอรีร่ วมทัง้ ยั

งผลิต อุปกรณ์ทใี่ ชงานเกี ย
่ วกับแบตเตอรีไ่ ม่วา่ จะเป็ น เครือ
่ ง วิเคราะห์สภาพแบตเตอรี,่
่ าร์จแบตเตอรี่ หรือ อุปกรณ์เฝ้ าสงั เกตแบตเตอรี่
ทีช
โดยเป้ าหมายของการตงเว็ ั้ บไซต์ขน ึ้ มานนก็
ั้ เพือ ่ ทีจ่ ะให้ความรูเ้ กีย่ วก ับแบตเตอรี่
แก่ผสู ้ นใจได้ศก ึ ษาได้ฟรีครับ โดยเนือ ้ หาจะอ ้างอิงจากหนั งสอ ื่ “Batteries in a Portable
World – A Handbook on Rechargeable Batteries for Non-Engineers” ทีเ่ ขียนโดยคุณ
Isidor Buchmann ผู ้ก่อตัง้ บริษัทครับ

Source: Battery University (1), (2), (3)


BatteryBattery Usage

Anda mungkin juga menyukai