Anda di halaman 1dari 2

รูบริกแบบองค์รวม (holistic rubric)

ภาคการศึกษาที่ 2/2560
MTE 600
ความสามารถในการตอบเชิงอธิบาย (constructed response)
ที่เน้นความรู้ในเนื้อหาสาระ (cognitive knowledge) และการให้เหตุผล (reasoning)
วิธใี ช้ : พิจารณาคาตอบในส่วน B และ C โดยรวมในแบบทดสอบและเปรียบเทียบกับคาอธิบายในแต่ละระดับ หากตรงหรือสอดคล้องกับ
คาอธิบายใดก็แสดงว่าคาตอบสาหรับคาถามนั้น ๆ อยู่ในระดับดังกล่าว
รหัส ความหมาย คาอธิบาย*
A แสดงให้เห็นว่า...ฉัน...เข้าใจในความต้องการของคาถามโดยแปลงคาถามให้อยู่ในรูปแบบของ
ประโยคบอกเล่าได้อย่างชัดเจน, B ตอบคาถามได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ (entry response),
ถูกต้องโดยสมบูรณ์ C ให้รายละเอียดเพิ่มเติม (additional responses) ซึ่งอาจเป็นหลักการ กฎ ทฤษฎี หรือสูตรที่
Ⓒ (totally Correct) เกี่ยวข้องกับคาถามพร้อมทัง้ อ้างอิงแหล่งทีม่ าได้อย่างถูกต้องและชัดเจน, 4 ยกตัวอย่าง
ประกอบการอธิบายเพื่อความเข้าใจ (extended responses) ที่สอดคล้องกับรายละเอียด
เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับชีวิตประจาวัน และ E สรุปภาพรวมของการตอบคาถามได้อย่างชัดเจน
แสดงให้เห็นว่า...ฉัน...เข้าใจในความต้องการของคาถามโดยแปลงคาถามให้อยู่ในรูปแบบของ
ประโยคบอกเล่าได้อย่างชัดเจน, ตอบคาถามได้อย่างถูกต้อง, ให้รายละเอียดเพิ่มเติมซึ่งอาจเป็น
ถูกต้องเป็นส่วนมาก
Ⓗ (High partial correct)
หลักการ กฎ ทฤษฎี หรือสูตรที่เกี่ยวข้องกับคาถามพร้อมทัง้ อ้างอิงแหล่งทีม่ าได้อย่างถูกต้องเป็น
ส่วนใหญ่, ยกตัวอย่างประกอบประกอบการอธิบายเพื่อความเข้าใจทีส่ อดคล้องกับรายละเอียด
เพิ่มเติมได้เป็นส่วนใหญ่ และสรุปภาพรวมของการตอบคาถามได้
แสดงให้เห็นว่า...ฉัน...เข้าใจในความต้องการของคาถามโดยแปลงคาถามให้อยู่ในรูปแบบของ
ประโยคบอกเล่าได้พอชัดเจน, ตอบคาถามได้อย่างถูกต้องเพียงบางส่วน, ให้รายละเอียดเพิ่มเติม
ถูกต้องเป็นส่วนน้อย ซึ่งอาจเป็นหลักการ กฎ ทฤษฎี หรือสูตรที่เกี่ยวข้องกับคาถามพร้อมทัง้ อ้างอิงแหล่งทีม่ าได้อย่าง
Ⓛ (Low partial correct) ถูกต้องบางส่วน, ยกตัวอย่างประกอบการอธิบายเพื่อความเข้าใจที่ไม่ค่อยสอดคล้องกับ
รายละเอียดเพิ่มเติม หรือสอดคล้องได้เป็นส่วนน้อย หรือตัวอย่างค่อนข้างคลุมเครือ และสรุป
ภาพรวมของการตอบคาถามวกวนไปมา
ไม่แสดงให้เห็นว่า...ฉัน...เข้าใจในความต้องการของคาถามโดยไม่แปลงคาถามให้อยู่ในรูปแบบ
ของประโยคบอกเล่าหรือแสดงแต่ไม่ชัดเจน สับสน วกวนไปมา, ไม่มีคาตอบ หรือตอบคาถามได้
ไม่ถูกต้องหรือไม่มีคาตอบ
Ⓘ (Incorrect)
ไม่ถูกต้อง, ไม่ให้รายละเอียดเพิ่มเติมหรือให้รายละเอียดที่ไม่สอดคล้องกับคาถามและไม่อ้างอิง
แหล่งที่มา, ไม่ยกตัวอย่างประกอบความเข้าใจหรือยกตัวอย่างที่ไม่สอดคล้องกับคาถาม และไม่
สรุปภาพรวมหรือสรุปไม่ตรงกับคาถามหรือรายละเอียดเพิ่มเติมหรือตัวอย่างประกอบ
* อ้างอิงจากรูปแบบการตอบคาถามเชิงอธิบาย RACES (A Restate the question and turn it into the statement, B Answer all parts of the question,
C Cite the sources, 4 Explain the answers with those sources, and E Summarize the main point in a sentence or two) และ Johnston, I.D.,
Crawford, K., and Fletcher, P.R. (1998). Student Difficulties in Learning Quantum Mechanics. INT. J. Sci. EDUC, 20(4), 427-446

constructedresponse  ออกแบบโดย พิเชษฐ์ พินิจ  2017 1/2


ตัวอย่างการตอบคาถามเชิงอธิบาย (เกี่ยวกับความเค้นทางกล)
คาตอบ*
คาถามตัวอย่าง ผลการวัด
ระดับการตอบ ตัวอย่าง
ความเค้นทางกลคืออะไร? ไม่มีคาตอบ -

ทวนคาถามและ ความเค้น คือ ความเข้มหรือการกระจายตัว

ตอบคาถาม A ของแรงภายในเนื้อวัตถุซึ่งสร้างสมดุลกับภาระ
(entry response) ภายนอกทีก่ ระทาต่อวัตถุนั้น ทั้งนี้
ความเค้นอาจกระจายเท่ากันทั้งพื้นที่หน้าตัด หรือ


หรือไม่เท่าก็ได้ หรือคืออัตราส่วนระหว่างแรง
ภายในต่อพื้นที่ที่แรงนั้นกระทา B
หากทิศทางการตอบไม่ถูกต้อง
ให้รายละเอียด จากตารา/หนังสือ/เอกสาร... ความเค้นมีหลาย
เพิ่มเติมทั้ง แบบ เช่น ความเค้นฉาก (normal stress, )
รายละเอียดของ และความเค้นเฉือน (shear stress, ) ซึ่ง
เนื้อหาและ สามารถคานวณหาค่าได้โดยใช้สูตร
แหล่งที่มา** ของ และ ตามลาดับ โดยที่ คือ
เนื้อหานั้น ๆ C โมเมนต์ดัดบนหน้าตัดที่พิจารณา, คือ ระยะ
(additional จากแกนสะเทินถึงผิวนอกสุด, คือ โมเมนต์
response) ความเฉื่อยเชิงพื้นที่รอบแกนเดียวกันกับ
โมเมนต์ดัด, คือแรงเฉือนบนหน้าตัดที่
พิจารณา และ คือพื้นที่หน้าตัดที่พิจารณา
ซึ่งขนานกับแรงเฉือนนั้น

ยกตัวอย่างประกอบ สูตรเหล่านี้สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจาวัน
การอธิบายเพื่อความ ได้ผ่านการออกแบบโครงสร้างหรือเครื่องจักร
เข้าใจ (extended ต่าง ๆ เช่น การออกแบบคาน (beam) ซึ่งใช้
response) 4 สูตร และการออกแบบสลัก (pin)
สาหรับรถบรรทุกพ่วงซึ่งใช้สูตร (ทั้งนี้
หากมีรูปประกอบด้วยก็จะทาให้การตอบ
ชัดเจนมาก)
สรุปภาพรวม จากข้อคาถามและข้อมูลข้างต้น ความเค้น คือ
(summary) ความเข้มหรือการกระจายตัวของแรงภายใน
E เนื้อวัตถุ และเกิดขึ้นในวัตถุหรือชิ้นส่วนต่าง ๆ
ของโครงสร้างหรือเครื่องจักรรอบ ๆ ตัวเรา Ⓒ

* ความแตกต่างระหว่างระหว่างคาตอบแบบสั้นและแบบยาวหรือแบบขยาย อาจเป็นได้ในหลายลักษณะดังนี้ 1) ความยาวในคาตอบ : ปริมาณตัวอักษรในคาตอบแบบ


ยาวจะมีมากกว่าคาตอบแบบสั้น 2) การยกตัวอย่างประกอบ : ตัวอย่างในคาตอบแบบยาวจะมีจานวนมากกว่าคาตอบแบบสั้น 3) การใช้รูปประกอบ : คาตอบแบบยาว
(ควร)มีรูปประกอบ ขณะที่คาตอบแบบสั้นอาจมีหรือไม่มีรูปประกอบ และ 4) การเรียบเรียงคาตอบ : คาตอบแบบยาวจะมีความเป็นระบบเชื่อมโยงสัมพันธ์กันมากกว่า
คาตอบแบบสั้น
** สอดคล้องกับความแตกฉานด้านสารสนเทศ (information literacy)

constructedresponse  ออกแบบโดย พิเชษฐ์ พินิจ  2017 2/2

Anda mungkin juga menyukai