Anda di halaman 1dari 41

รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-1

บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่
2.1 บทนา
เนื่องจากแนวเส้นทางของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู จะวิง่ ไปตา
ม แ น ว เ ก า ะ ก ล า ง ถ น น เ ป็ น ส่ ว น ใ ห ญ่
โครงสร้างทางวิง่ รูปแบบมาตรฐานทีใ่ ช้จงึ เป็ นโครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับคา
น ท า ง วิ่ ง ย ก ร ะ ดั บ ส อ ง ทิ ศ ท า ง ( Elevated Typical 2-Track Pier)
ใ ช้ ค า น ท า ง วิ่ ง ม า ต ร ฐ า น (Typical Guideway Beam)
ทีย่ าวไม่เกิน 30 เมตร และมีระยะห่างของช่วงเสารองรับทางวิ่ง (Typical
Span) 30.0 เ ม ต ร ( วั ด จ า ก ศู น ย์ ก ล า ง เ ส า ถึ ง เ ส า )
ย ก เ ว้ น จุ ด ตั ด ที่ ต้ อ ง วิ่ ง ข้ า ม บ ริ เ ว ณ ที่ มี ข้ อ จ า กั ด
ร ะ ย ะ ห่ า ง ร ะ ห ว่ า ง เ ส า ร อ ง รับ ท า ง วิ่ ง จ ะ ย า ว ม า ก ก ว่ า 3 0 .0 เ ม ต ร
โครงสร้างเสารองรับทางวิ่งมี 2 รูปแบบ คือ แบบเสาเดีย่ ว (Single Pier)
และแบบ Portal Frame วางบนฐานรากที่ มี เ สาเข็ ม เจาะ (Bored Pile)
ขนาดเส้นผ่าศูนย์ กลาง 1.5 และ 1.8 เมตร หรื อ เสาเข็ ม เจาะแบบเหลี่ย ม
(Barrette Pile) ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางของคานทางวิ่ง (Guideway
Beam) ส า ห รั บ บ ริ เ ว ณ ท า ง ต ร ง มี ข น า ด 4.40 เ ม ต ร
ใ น ข ณ ะ ที่ บ ริ เ ว ณ ท า ง โ ค้ ง ร ะ ย ะ ห่ า ง จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น ต า ม รัศ มี ค ว า ม โ ค้ ง
รูปแบบโครงสร้างเสารองรับทางวิง่ ของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูแบ่งออ
กเป็ นประเภทต่างๆ ได้ดงั ต่อไปนี้
1) เสาเดีย่ วรองรับคานทางวิง่ ทางเดียว
2) เสาเดีย่ วรองรับคานทางวิง่ ทางเดียวแบบเยื้องศูนย์
3) เสาเดีย่ วรองรับคานทางวิ่งสองทิศทาง ระยะห่างทางวิ่ง 4.40
เมตร
4) เสาเดีย่ วรองรับคานทางวิ่งสองทิศทาง ระยะห่างทางวิ่ง 4.75
เมตร
5) เสาเดี่ ย วรองรับ คานทางวิ่ ง สองทิ ศ ทาง ระยะห่ า งทางวิ่ ง
5.6388 เมตร
6) เสาเดีย่ วรองรับคานทางวิง่ สาหรับ Pocket Track (2 ทางวิง่ )
7) เสาเดีย่ วรองรับคานทางวิง่ สาหรับ Pocket Track (3 ทางวิง่ )
8) เสารองรับคานทางวิง่ สองทิศทางแบบ Portal Frame
9) โครงสร้างรองรับคานทางวิง่ ช่วง Switching Track
10) เสารองรับ คานทางวิ่ง สองทิศ ทางช่ว งยาวมากกว่า 30.0
เมตร
11) เสารองรับคานทางวิง่ ทางเดียวภายในโรงซ่อมบารุง
12) เสา Buffer Stop Pier

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-2
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

แนวทางการออกแบบโครงสร้ า งเสารองรับ ทางวิ่ ง ยกระดับ


ได้พจิ ารณาออกแบบให้สอดคล้องกับความต้องการทางด้านการใช้งานเป็ น
ส า คั ญ โ ด ย ยึ ด ห ลั ก ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง
คงทนและมีความปลอดภัยด้านวิศวกรรมเป็ นไปตามมาตรฐานการออกแบ
บระดับสากล
ความก้า วหน้า ในการออกแบบรายละเอียดโครงสร้างทางวิ่งโคร
งการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู มี รายละเอียดดังนี้

2.2 งานศึกษารูปแบบโครงสร้างทางวิง่ ทีเ่ หมาะสม


จากการศึ ก ษารู ป แบบการต่ อ ยึ ด ระหว่ า งเสากับ คานทางวิ่ ง
ที่ ป รึ ก ษ า ไ ด้ ท า ก า ร ศึ ก ษ า ก ร ณี
เ ส า ร อ ง รั บ ค า น ท า ง วิ่ ง ที่ ร ะ ดั บ ค ว า ม สู ง 15.50 เ ม ต ร
ซึง่ ได้เปรียบเทียบข้อดีขอ ้ เสียของระบบโครงสร้างทีม ่ ีจุดต่อระหว่างเสากับค
านทางวิง่ ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่
1) ระบบโครงสร้างทีย่ ด ึ ติดกันแน่ น (Monolithic system)
2) ระบบโครงสร้า งซึ่ ง ใช้ Mechanical Bearing แบบ Guide
Slide-Fix-Fix-Fix-Guide (GS-F-F-F-GS, Option 1)
3) ระบบโครงสร้า งซึ่ ง ใช้ Mechanical Bearing แบบ Guide
Slide-Fix-Fix-Fix-Fix (GS-F-F-F-F, Option 2)
การยึด ต่อ คานทางวิ่ง กับ เสาซึ่ง ใช้ Mechanical Bearing ชนิ ด
Guide Slide Type (GS)
จ ะ ย อ ม ใ ห้ ค า น ท า ง วิ่ ง ส า ม า ร ถ เ ค ลื่ อ น ที่ ไ ด้ ใ น ทิ ศ ท า ง ร ถ วิ่ ง
และสามารถหมุนรอบแกนทางขวาง (แกนตัง้ ฉากกับทิศทางรถวิง่ ) สาหรับ
Bearing อี ก ช นิ ด ห นึ่ ง คื อ Fixed Type (F)
จะยอมให้คานทางวิ่งสามารถหมุน รอบแกนทางขวางได้เ พีย งอย่า งเดีย ว
ผลการวิเคราะห์ หารูปแบบการเชือ ่ มต่อระหว่างเสากับคานทางวิง่ ทีเ่ หมาะ
ส ม ที่ สุ ด ส า ม า ร ถ ส รุ ป ไ ด้ ดั ง ต า ร า ง ที่ 2 . 2 - 1 โ ด ย รู ป ที่ 2 . 2 - 1
แสดงรูปแบบฐานรากและขนาดเสาทีใ่ ช้สาหรับโครงสร้างทางวิง่ ระบบต่างๆ
จากผลการวิเ คราะห์ โครงสร้างและการศึกษาเปรียบเทียบราคาวัส
ดุของรูปแบบโครงสร้างทางวิง่ ทีใ่ ช้การต่อยึดระหว่างเสากับคานทางวิง่ ในรู
ป แ บ บ ต่ า ง ๆ เ ที ย บ กั บ ร ะ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ บ บ Monolithic พ บ ว่ า
ร ะ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ท า ง วิ่ ง Option 2
มี ร า ค า วั ส ดุ ร ว ม เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ ร ะ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ บ บ Monolithic
สู ง ก ว่ า ป ร ะ ม า ณ ร้ อ ย ล ะ 1 4 แ ล ะ ร ะ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง Option 1
มี ร าคาสู ง กว่ า ระบบโครงสร้า งแบบ Monolithic ประมาณร้อ ยละ 27
ใ น ข ณ ะ ที่ ก า ร เ ค ลื่ อ น ตัว ข อ ง ค า น ท า ง วิ่ ง ใ น แ น ว ต า ม ทิ ศ ท า ง ร ถ วิ่ ง

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-3
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

(Longitudinal Movement) แ ล ะ ใ น แ น ว ตั้ ง ฉ า ก กั บ ทิ ศ ท า ง ร ถ วิ่ ง


(Transverse Movement) อยูใ่ นเกณฑ์ทีย่ อมรับได้

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-4
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

ตารางที่ 2.2-1 เปรียบเทียบราคาวัสดุสาหรับโครงทางวิง่ Option 1, 2 และ Monolithic


Average Pile Pile Safe Load, Total Trans. Total Long.
Pier Pile Length, m Pier Depth, m. Cost, Baht Pile Cost, Baht/m.
Bearing No. of Reinf. Ton Deflection at Movement at
Height: H, Option
Arrangement Bearings Top of GS Bearing/ EJ,
m. At F At GS
f 1.5 f 1.8 f 1.5 f 1.8 f 1.5 f 1.8 Bearing Pier Pile Total %Diff. Guideway, mm. mm. f 1.5 f 1.8
Bearing Bearing/EJ
1 GS-F-F-F-GS 10 - 1.68 - 728 - 40 1.6 1.6 2,400,000 3,136,420 3,632,220 9,168,640 27 116 166 - 18,161
15.5 2 F-F-F-F-GS 10 - 1.65 - 701 - 38 1.2 1.2 1,950,000 2,858,025 3,463,901 8,271,926 14 122 138 - 18,231
Monolithic - - - 1.33 - 705 - 39 1.2 1.0 - 3,889,875 3,352,073 7,241,948 - 119 118 - 17,190

รูปที่ 2.2-1 องค์ประกอบของโครงสร้างทางวิง่ ทีร่ ะดับความสูงไม่เกิน 15.50 เมตร กรณี ใช้ Mechanical Bearing
รูปแบบต่างๆ
NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)
โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-5
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

จากผลการศึ ก ษา พบว่ า ระบบโครงสร้ า งแบบ Monolithic


แ ม้ ว่ า จ ะ มี ค่ า ก่ อ ส ร้ า ง ที่ ต่ า ก ว่ า
แ ต่ ต้ อ ง มี ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง ที่ ไ ด้ ร ะ ดั บ ข อ ง ชิ้ น ส่ ว น Guideway
ในต าแหน่ งที่ต้อ งการพอดี ซึ่งหากมี ข้อ ผิด พลาดจะแก้ไขได้ย าก การใช้
Beaming จ ะ ส า ม า ร ถ ใ ห้ ป รั บ ร ะ ดั บ ไ ด้ ใ น ข น า ด ห นึ่ ง ดั ง นั้ น
โครงสร้า งรองรับ ทางวิ่งที่เ หมาะสมคือ ใช้ Mechanic Bearing รูป แบบ
GS-F-F-F-F ต่ อ ยึ ด ร ะ ห ว่ า ง เ ส า กั บ ค า น ท า ง วิ่ ง
ส า ห รั บ ร ะ บ บ โ ค ร ง ส ร า้ ง เ ส า ร อ ง ร บ ั ค า น ท า ง วิ ง่ 1 ช ุด
จะประกอบไปด้วยเสารองรับทางวิ่งต วั ใน (Interior Pier) จานวน 3 ต้น
แ ล ะ ตั ว น อ ก (EJ. Pier) จ า น ว น 2 ต้ น
เ ส า ทั้ ง ส อ ง ช นิ ด มี ค ว า ม ก ว้ า ง แ ล ะ ค ว า ม ห น า เ ท่ า กั น แ ต่ จ ะ
แ ต ก ต่ า ง กั น ต ร ง ที่ เ ส า ตัว น อ ก จ ะ ต้ อ ง ร อ ง รั บ Bearing ไ ด้ ส อ ง ตัว
เสาแต่ละต้นรองรับ ด้ว ยฐานรากเสาเข็ม เดีย่ วแบบเจาะ (Single Bored
Pile) ข น า ด เ ส ้น ผ า่ ศ ูน ย ์ก ล า ง 1 . 8 0 เ ม ต ร รู ป ที่ 2 . 2 - 2
แสดงรู ป แบบโครงสร้า งเสารองรับ ทางวิ่ง ยกระดับ สองทิ ศ ทางดัง กล่ า ว
เ พื่ อ ใ ห้ ก่ อ ส ร้ า ง ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว เ ส า ร อ ง รั บ ค า น ท า ง วิ่ ง
จึง ถู ก ออกแบบให้เ ป็ นเสาคอนกรี ต หล่อ ส าเร็ จ จากโรงงานแยก ชิ้ น ส่ ว น
( Segmental Precast Concrete Column)
นามาประกอบทีห ่ น้างานโดยการดึงลวดอัดแรงทีหลัง (Post-tensioning)

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-6
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

GS Bearing F Bearing F Bearing F Bearing F Bearing


F Bearing GS Bearing

รูปที่ 2.2-2 โครงสร้างทางวิง่ ทีเ่ ลือกใช้เป็ นแบบต่อเนื่อง 4 ช่วง ยาวช่วงละ 30.0 เมตร

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-7
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2 . 3
งานออกแบบรายละเอียดเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ สองทาง
ระยะห่างคานทางวิง่ 4.40 เมตร
โครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ ของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู
สามารถแบ่งประเภทโครงสร้างเสาทางวิง่ ตามระดับความสูงของเสาได้ดงั นี้
1) โครงสร้างทางวิ่งที่มี เสาสู งไม่เกิน 9.0 เมตร (Hc ≤ 9.0 m.)
Pier Type P2A1 ใช้เป็ น เสาคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
2) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 13.0 เมตร (Hc ≤ 13.0
m.) Pier Type P2A2 ใช้เป็ นเสาคอนกรีตอัดแรงทีหลังแบบ
Segmental precast column
3) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 17.0 เมตร (Hc ≤ 17.0
m.) Pier Type P2A3 ใช้เป็ นเสาคอนกรีตอัดแรงทีหลังแบบ
Segmental precast column
โ ด ย ค ว า ม สู ง ข อ ง เ ส า ร อ ง รั บ ท า ง วิ่ ง ( Hc)
วัด จากระดับ ผิวบนของฐานรากถึง ระดับ สู งสุ ด ของเสา ดังแสดงใน รู ป ที่
2 . 3 - 1
โครงสร้างทางวิง่ สาหรับโครงการนี้ ถูกออกแบบให้เป็ นระบบเสาแบบต่อ เนื่
อ ง ก น ั 4 ช ่ว ง ( 4-Span Continuous System)
ม ีร ะ ย ะ ห ่า ง ร ะ ห ว ่า ง ศ ูน ย ์ก ล า ง เ ส า ถ ึง เ ส า ม า ก ที ส
่ ุด 30. 0 เ ม ต ร
ใ ช้ ร ะ ย ะ ห่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ค า น ท า ง วิ่ ง 4.40 เ ม ต ร
สาหรับรูปแบบเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ สองทิศทางนี้สามารถใช้ได้กบ ั ทางวิ่งที่
เป็ นช่วงทางตรงทีม ่ ีรศั มีความโค้งของแนวเส้นทาง (R) มากกว่าหรือเท่ากับ
7 5 0 เ ม ต ร
จากผลการศึกษารูปแบบทีเ่ หมาะสมของโครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิ่ง ที่
ระดับความสูงต่างๆ สามารถสรุปได้ดงั แสดงใน ตารางที่ 2.3-1
ตารางที่ 2.3-1
รูปแบบโครงสร้างของเสารองรับทางวิง่ สองทางกรณี ระยะห่างคานทางวิง่
4.40 เมตร
Column Heigth Column Dimension PT Bars, Grd. 1080 No. of Rebar/Strands
Pier Type Footing Type Pile Type % Pile Rebar
hc, m BXD, mm tw, mm Dia., mm unit unit
P2A1_RC 9.0 F1-C BP1500-A 2000x1200 - - - 38-DB32 - 3.06%
P2A2 13.0 F1-D BP1800-A 2000x1800 300 25 4 19 4 1.87%
P2A3 17.0 F1-B BP1800-B 2000x1800 300 25 4 22 4 2.42%
P2A4 22.0 F2-B 2xBP1500-B 2000x1800 300 25 4 25 4 2.03%

ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ส า เ ข็ ม เ จ า ะ ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ
ทีใ่ ช้สาหรับรองรับเสาโครงสร้างทางวิง่ แสดงในรูปที่ 2.3-2 ถึง รูปที่ 2.3-4
สาหรับรายละเอียดมิตต ิ า่ งๆ ของเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ แสดงใน รูปที่ 2.3-5

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-8
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

ถึง รูปที่ 2.3-7 ส่วนรายละเอียดการดึงลวดอัดแรงทีหลังแสดงใน รูปที่ 2.3-


8 และ รูปที่ 2.3-9

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-9
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-1 รูปแบบโครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ ยกระดับ

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-10
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-2 รายละเอียดเสาเข็มเจาะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร (Type BP1500-A)

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-11
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-3 รายละเอียดเสาเข็มเจาะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.8 เมตร (Type BP1800-A)

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-12
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-4 รายละเอียดเสาเข็มเจาะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.8 เมตร (Type BP1800-B)

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-13
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-5 รายละเอียดและมิตต


ิ า่ งๆ ของเสารองรับคานทางวิง่ ยกระดับ Pier Type P2A1_RC

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-14
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-6 รายละเอียดด้านมิตต


ิ า่ งๆ ของเสารองรับคานทางวิง่ ยกระดับ Pier Type P2A2

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-15
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-7 รายละเอียดด้านมิตต


ิ า่ งๆ ของเสารองรับคานทางวิง่ ยกระดับ Pier Type P2A3

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-16
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-8 รายละเอียดการดึงลวดอัดแรงทีหลังของเสารองรับคานทางวิง่ ยกระดับ Pier Type P2A2

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-17
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.3-9 รายละเอียดการดึงลวดอัดแรงทีหลังของเสารองรับคานทางวิง่ ยกระดับ Pier Type P2A3

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-18
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2 . 4
งานออกแบบรายละเอียดเสาเข็มบริเวณหน้าโรงพยาบา
ลนพรัตน์ ราชธานี (CH.28+780-29+260)
เนื่องจากปัจจุบน ั กรมทางหลวงกาลังก่อสร้างสะพานยกระดับเพือ ่ ข้
า ม ท า ง แ ย ก บ ริ เ ว ณ ห น้ า โ ร ง พ ย า บ า ล น พ รั ต น์ ร า ช ธ า นี
ลักษณะโครงสร้างเป็ นแบบสะพานคูม ่ ีช่องว่างระหว่างกลางสะพานทัง้ สอง
2.50 เ ม ต ร
ซึ่ ง กระทบกับ การก่ อ สร้ า งฐานรากของโครงการรถไฟฟ้ าสายสี ช มพู
จาเป็ นต้องมีการเจาะเสาเข็มไว้กอ ่ นเพือ่ ป้ องกันผลกระทบดังกล่าว
ฐ า น ร า ก เ ส า เ ข็ ม เ จ า ะ บ ริ เ ว ณ ดั ง ก ล่ า ว
ถู ก อ อ ก แบ บใ ห้ ส ามา ร ถ ร อ ง รับ เ สา ร อง รับ คา น ท า ง วิ่ ง สอ งทิ ศ ท าง
ระยะห่างของช่วงเสา 25 และ 30 เมตร เสามีความสูงไม่เกิน 20.0 เมตร
( วั ด จ า ก ร ะ ดั บ ผิ ว บ น ข อ ง ฐ า น ร า ก ถึ ง ผิ ว บ น ข อ ง ร ะ ดั บ หั ว เ ส า )
จ า ก ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ โ ค ร ง ส ร้ า ง บ ริ เ ว ณ ดั ง ก ล่ า ว
ทาให้ได้รูปแบบฐานรากทีเ่ หมาะสมคือฐานรากเสาเข็มเดีย่ วขนาดเส้นผ่าศู
นย์กลาง 1.80 เมตร เสาเข็ม มีกาล งั ร บ ั น้า หนัก ปลอดภ ยั ไม่ต่า กว่า 650
ตัน (FS =2.5) มีขนาดตอม่อ (Pile Cap) กว้าง 2.3 เมตร และยาว 2.57
เมตร ดังแสดงใน รู ป ที่ 2.4-1 เสาเข็ ม แต่ละต้น มีค วามลึก ประมาณ 45
เมตร มีป ริม าณเหล็ก เสริม ในเสาเข็ม ร อ ้ ยละ 2. 5 ของพื ้น ที ห ่ น้า ต ดั
รายละเอียดการเสริมเหล็กของเสาเข็มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.80 เมตร
สาหรับใช้ในการก่อสร้างแสดงดัง รูปที่ 2.4-2

รูปที่ 2.4-1 ฐานรากแบบเสาเข็มเดีย่ วขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.80 เมตร

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-19
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.4-2 รายละเอียดการเสริมเหล็กเสาเข็มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.80 เมตร

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-20
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2.5 งานออกแบบรายละเอี ย ดเสารองรับ สายส่ ง แรงสู ง ของ


EGAT ถนนแจ้งวัฒนะ (CH.11+750)
เ นื่ อ ง จ า ก ปั จ จุ บั น บ ริ เ ว ณ ต า แ ห น่ ง CH.11+750
ข อ ง เ ส้ น ท า ง โ ค ร ง ก า ร ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ส า ย สี ช ม พู
มีสายไฟฟ้ าแรงสูงขนาด 230 kV ของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
(EGAT) พาดผ่ า นในลัก ษณะไขว้ ก ากบาทกับ แนวทิ ศ ทางรถไฟฟ้ า
แนวสายไฟแรงสูงมีระดับทีซ ่ ้อนทับกับระดับทางวิง่ รถไฟฟ้ าทาให้เป็ นอุปส
ร ร ค กั บ โ ค ร ง ก า ร เ พื่ อ แ ก้ ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว
จาเป็ นต้องออกแบบเสาสูงเพือ ่ ยกระดับแนวสายไฟแรงสูงบริเวณดังกล่าว
รู ป แ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ที่ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ไ ด้ แ ก่
โครงสร้างเสาเดีย่ วขนาดใหญ่ทีส ่ ามารถลอดผ่านช่องว่างระหว่างสะพานข้า
มแยกของกรมทางหลวงได้
ได้มีการประชุมงานออกแบบเสาไฟฟ้ าแรงสูงดังกล่าวในวันอังคาร
ที่ 7 พฤศจิกายน 2560 เวลา 14.00 - 15.30 น. ณ ห้องประชุม 522 ชัน ้ 5
อาคาร ท.101 ณ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ต แห่ ง ประเทศไทยส านัก งานใหญ่
เ ป็ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ร่ ว ม กั น ส า ม ฝ่ า ย ร ะ ห ว่ า ง
ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ฝ่ า ย ผ ลิ ต แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย บ ริ ษั ท ผู้ รั บ สั ม ป ท า น
และบริษท ั ทีป่ รึกษา กาหนดให้ใช้เสาไฟฟ้ แรงสูงแบบ Monopole ดังรูปที่
2.5-1 โดยรูปแปลนแสดงตาแหน่ งเสา Monopole แสดงในรูป ที่ 2.5-2
ผลการประชุมมีมติดงั นี้
1) เสาไฟฟ้ าทีใ่ ช้โครงการนี้เป็ นเสาชนิด Monopole
2) ง า น ท า ฐ า น ร า ก
และประกอบเสาไฟฟ้ าผูร้ บ ั สัมปทานรับผิดชอบทัง้ หมด
3) วัส ดุ - อุ ป กรณ์ กฟผ. จัด เตรี ย มแบบ พร้อ ม Specification
ให้ ท ้งั หมด และผู้ ร บ ั สัม ปทานเป็ นผู้ จ ด
ั ซื้ อ เอง โดย กฟผ.
แจ้งชือ ่ ร้านทีจ่ าหน่ ายหรือผลิตให้
4) ก า ร เ ริ่ ม ท า ง า น ทุ ก ขั้ น ต อ น ทั้ ง ห ม ด ก ฟ ผ .
วางแผนใว้เป็ นช่วงเดือน ธันวาคม 2561
5) ในการประกอบเสาไฟฟ้ าผูร้ บ ั สัมปทานต้องจัดหาเครน ขนาด
2 0 0 - 4 0 0 ton ม า ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง
พ ร้ อ ม ว า ง แ ผ น ใ น ก า ร ป ฎิ บั ติ ง า น ทั้ ง ห ม ด เ ช่ น
การปิ ดการจราจร การวางตาแหน่ งเครน เป็ นต้น

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-21
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.5-1 แสดงการวางเสาไฟฟ้ า Monopole รองรับสายไฟแรงสูง

รูปที่ 2.5-2 รูปแปลนแสดงตาแหน่ งเสา Monopole ทีอ


่ อกแบบใหม่
โครงการได้ จ ด ั ส่ ง ข้ อ มู ล การออกแบบให้ บ ริ ษ ั ท ELETECT
International Corp., Ltd. ซึ่งเป็ น Supplier ของ บริษท ั VALMONT
ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ด า เ นิ น ก า ร อ อ ก แ บ บ เ บื้ อ ง ต้ น โ ด ย Supplier
ดัง กล่า วได้ข อข้อ มู ลเพิ่ม เติม 2 ครั้ง เพื่อ ประกอบการออกแบบเบื้ อ งต้น
ครั้ง ที่ 1 เป็ นการขอข้ อ ก าหนดของ Deflection ของเสาซึ่ ง EGAT
แ จ้ ง ว่ า ไ ม่ มี แ ล ะ ค รั้ ง ที่ 2 ข อ ใ ห้ ยื น ยั น ก า ร อ อ ก แ บ บ ที่ ใ ช้ Load
ในการออกแบบเป็ น Dead End
ได้ มี ก ารประชุ ม ร่ ว มกับ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย
เพื่ อ พิ จ ารณาผลการออกแบบเบื้ อ งต้ น Monopole จาก VALMONT
เมื่อ วัน พุ ธ ที่ 6 ธัน วาคม 2560 เวลา 13.30 - 15.00 น. ณ ห้อ งประชุ ม
505 ชั้ น 5 อ า ค า ร ท . 101 ก ฟ ผ . โ ด ย มี คุ ณ แ ค ท ลี ย า สุ ข พุ่ ม

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-22
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

และคุณทรงธรรม ปรมวรตระกูล จาก การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย


เข้าร่วมประชุม
ั VALMONT ซึ ่ง เ ป็ น ผู ้ผ ล ิต เ ส า
ผ ล ก า ร ป ร ะ ช ุ ม บ ร ิษ ท
MONOPOLE ผ ่า น บ ร ิษ ท ั ELETECH
แ จ้ ง ว่ า ห า ก อ อ ก แ บ บ ก ร ณี ที่ LOAD เ ป็ น DEAD END
ตัวเสาและฐานเสามีขนาดใหญ่มาก ซึ่งตัวฐานเสานัน ้ มีความกว้างประมาณ
4 . 0 0 เ ม ต ร ท า ใ ห้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ติ ด ตั้ ง ไ ด้ เ นื่ อ ง จ า ก มี พื้ น ที่ จ า กั ด
โดยมีชอ ่ งความกว้างระหว่างสะพานเพียง 3.50 เมตร จึงได้ออกแบบกรณีที่
LOAD เป็ น BISEC และได้จดั ทาแบบเบื้องต้นดังรูปที่ 2.5-3
ก ฟ ผ . แ จ้ ง ใ ห้ โ ค ร ง ก า ร ฯ ท ร า บ ว่ า ก ฟ ผ .
เ ห็ น ช อ บ ก า ร อ อ ก แ บ บ โ ด ย ใ ช้ LOAD เ ป็ น BISEC
โดยมีเงือ่ นไขให้ดาเนินการปรับแบบและตรวจสอบเงือ ่ นไขของการออกแ
บบดังนี้

 เสาทีอ
่ อกแบบจะต้องมีเหลีย่ มของตัวเสา จานวน 16 เหลีย่ ม
 ค่า DEFLECTION สูงสุด 4.5 %
 ขนาดความหนาของ STEEL PLATE จะต้อ งไม่ น้ อ ยกว่ า
4.5 ม ม . แ ล ะ ค ว า ม ก ว้ า ง ข อ ง ห น้ า PLATE
ต่อความหนาจะต้องไม่เกิน 2012.4*(Fy)1/2 เมื่อ Fy คือ ค่า
YIELD STRESS ของ PLATE หน่ วยเป็ น ksc
น อ ก จ า ก นี้ ก ฟ ผ . จ ะ ส่ ง แ บ บ ข อ ง ร ะ บ บ GROUNDING
ที่จะต้องติดตัง้ ในฐานรากมาให้ ซึ่งจะมีความต้านทานที่ยอมรับได้ไม่เกิน
10 โ อ ห์ ม ร ว ม ถึ ง จ ะ ส่ ง LIST ข อ ง SUPPLIER
ที่ จ า ห น่ า ย ใ น ส่ ว น ข อ ง วั ส ดุ - อุ ป ก ร ณ์ อื่ น ๆ ใ ห้ กั บ STECON
เพือ่ ตรวจสอบราคา

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-23
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.5-3 แบบรายละเอียดเบื้องต้นของเสา Monopole ทีอ


่ อกแบบใหม่

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-24
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร อ อ ก แ บ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด
รวมถึงการอนุ ม ต ั ิแ บบจากการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต แห่งประเทศไทย การผลิต
ข น ส่ ง แ ล ะ ติ ด ตั้ ง ใ ห้ ทั น ใ น เ ดื อ น ธั น ว า ค ม 2 5 6 1 นั้ น
ทีป
่ รึกษาได้จดั ทาแผนงานแสดงดังตารางที่ 2.5-1
ตารางที่ 2.5-1 แผนการออกแบบและการติดตัง้ เสา MONOPOLE

ปัจจุบนั กฟผ. ได้ลงนามรับรองรายงานการประชุมครัง้ ก่อนแล้ว


แ ล ะ บ ริ ษั ท VALMONT
ได้ปรับปรุงการออกแบบเบื้องต้นตามข้อกาหนดของ กฟผ. เรียบร้อยแล้ว
บริษทั ELETECH ซึง่ เป็ นตัวแทนของบริษท ั VALMONT ผูผ ้ ลิต
Monopole ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ เ ส น อ ร า ค า ข อ ง Monopole
ดังกล่าวมาให้ผอ ู้ อกแบบ และได้ทาการส่งข้อมูลดังกล่าวให้กบ
ั STECON
ไ ป เ มื่ อ วั น ที่ 3 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 1 ที่ ผ่ า น ม า
เพือ
่ จะได้ดาเนินการต่อไปดังแสดงใน รูปที่ 2.5-4

รูปที่ 2.5-4 แสดงใบเสนอราคา Monopole

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-25
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-26
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2 . 6
งานออกแบบรายละเอียดเสารองรับคานทางวิง่ ทางเดียว
ภายในโรงซ่อมบารุง
โครงสร้างเสารองรับคานทางวิง่ ภายในโรงซ่อมบารุง มีความสูงเสา
ไ ม่ เ กิ น 3 . 5 0 เ ม ต ร
โดยความสูงของเสารองรับทางวิง่ วัดจากระดับผิวบนของฐานรากถึงผิวบนร
ะ ดั บ หั ว เ ส า โ ค ร ง ส ร้ า ง ท า ง วิ่ ง ภ า ย ใ น
โรงซ่อมบารุงถูกออกแบบให้เป็ นระบบเสาเดีย่ วแบบต่อเนื่องกัน 4 ช่วง (4-
Span Continuous System) ร อ ง ร บ ั ค า น ท า ง วิ ่ง ท า ง เ ด ีย ว
ม ีร ะ ย ะ ห ่า ง ร ะ ห ว ่า ง ศ ูน ย ์ก ล า ง เ ส า ถ ึง เ ส า ม า ก ที ่ส ุด 30. 0 เ ม ต ร
ผลการศึกษารูปแบบทีเ่ หมาะสมของโครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิ่ง ภายใ
น โ ร ง ซ่ อ ม บ า รุ ง ส า ม า ร ถ ส รุ ป ไ ด้ ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 2 . 6 - 1
ส าหรับ เสารองรับ คานทางวิ่ง ทั่ว ไป และรู ป ที่ 2.6-2 ส าหรับ เสา Buffer
Stop Pier ดังมีรายละเอียดดังนี้

เสาทางวิง่ ทั่วไป
 ใช้เสาคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ เสามีความกว้าง 1.0
เมตร หนา 0.45 เมตร ส าหรับ เสาภายใน (Interior Pier)
และกว้าง 1.0 เมตร หนา 0.75 เมตร สาหรับเสาภายนอก (EJ
Pier)
 ใช้ฐานรากเสาเข็มตอกแบบ spun pile เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.6
เ ม ต ร จ า น ว น 4 ต้ น
รับน้าหนักปลอดภัยต้นละ 120 ตัน (F.S = 2.5)
รายละเอียดการเสริมเหล็กของเสาโครงสร้างทางวิง่ ภายในศูนย์ซ่อ
มบารุงแสดงในรูปที่ 2.6-3

เสา Buffer Stop Pier


 ใช้เสาคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ เสามีความกว้าง 1.0
เมตร หนา 1.50 เมตร
 ใช้ฐานรากเสาเข็มตอกแบบ spun pile เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.6
เ ม ต ร จ า น ว น 12 ต้ น
รับน้าหนักปลอดภัยต้นละ 120 ตัน (F.S = 2.5)
รายละเอียดการเสริมเหล็กของเสาโครงสร้างทางวิง่ ภายในศูนย์ซ่อ
มบารุงแสดงในรูปที่ 2.6-4

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม2561 2-27
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.6-1 รายละเอียดและมิตต


ิ า่ งๆ ของเสารองรับคานทางวิง่ ภายในโรงซ่อมบารุง

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-28
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.6-2 รายละเอียดและมิตต


ิ า่ งๆ ของเสา Buffer Stop Pier ภายในโรงซ่อมบารุง

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม2561 2-29
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.6-3 รายละเอียดการเสริมเหล็กของเสารองรับคานทางวิง่ ภายในโรงซ่อมบารุง

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-30
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.6-4 รายละเอียดการเสริมเหล็กของเสา Buffer Stop Pier ภายในโรงซ่อมบารุง

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนกรกฎาคม 2561 2-31
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2.7 งานออกแบบรายละเอียดเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ ทางเดียว


โครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ ทางเดียวของโครงการรถไฟฟ้ าสา
ยสีชมพูสามารถแบ่งประเภทโครงสร้างเสาทางวิง่ ตามระดับความสูงของเสา
ได้ดงั นี้
1) โครงสร้างทางวิ่งที่มีเสาสูงไม่เกิน 9.0 เมตร (Hc ≤ 9.0 m.)
แ บ บ ต ร ง ศู น ย์ (Pier Type P1A1)
ใช้เป็ นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
2) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 13.0 เมตร (Hc ≤ 13.0
m.) แ บ บ ต ร ง ศู น ย์ (Pier Type P1A2)
ใช้เป็ นเสาคอนกรีตอัดแรงทีหลังแบบ Segmental precast
column
3) โครงสร้างทางวิ่งที่มีเสาสูงไม่เกิน 9.0 เมตร (Hc ≤ 9.0 m.)
แ บ บ เ ยื้ อ ง ศู น ย์ 0 . 9 เ ม ต ร (Pier Type P1B1)
ใช้เป็ นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
4) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 13.0 เมตร (Hc ≤ 13.0
m.) แ บ บ เ ยื้ อ ง ศู น ย์ 0 . 9 เ ม ต ร (Pier Type P1B2)
ใช้เป็ นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
5) โครงสร้างทางวิ่งที่มีเสาสูงไม่เกิน 9.0 เมตร (Hc ≤ 9.0 m.)
แ บ บ เ ยื้ อ ง ศู น ย์ 2 . 2 0 เ ม ต ร (Pier Type P1C1)
ใช้เป็ นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
โ ด ย ค ว า ม สู ง ข อ ง เ ส า ร อ ง รั บ ท า ง วิ่ ง ( Hc)
วั ด จ า ก ร ะ ดั บ ผิ ว บ น ข อ ง ฐ า น ร า ก ถึ ง ร ะ ดั บ สู ง สุ ด ข อ ง เ ส า
ไ ม่ ร ว ม ค ว า ม สู ง ข อ ง หั ว เ ส า (Pier head)
โครงสร้ า งทางวิ่ ง เป็ นร ะ บ บ เ ส า แ บ บ ต อ ่ เ นื ่อ ง ก น
ั 4 ช่ว ง ( 4-Span
Continuous System)
ม ีร ะ ย ะ ห ่า ง ร ะ ห ว ่า ง ศ ูน ย ์ก ล า ง เ ส า ถ ึง เ ส า ม า ก ที ่ส ุด 30. 0 เ ม ต ร
สาหรับรูปแบบเสาเดีย่ วรองรับ ทางวิ่งทางเดียวนี้ ส่วนใหญ่จะอยูว่ างอยูใ่ นแ
นวเส้นทางทีม ่ ีความโค้งมากเพือ ่ หลบสิง่ ก่อสร้างทีเ่ ป็ นอุปสรรคในแนวเส้นท
า ง
ดังนัน้ จึงออกแบบให้เสาสามารถรับแรงกระทาหนีศูนย์กลางในกรณี ทีแ ่ นวเ
ส้ น ท า ง มี ค ว า ม โ ค้ ง (Curve alignment R < 750 เ ม ต ร )
จากผลการศึกษารูปแบบทีเ่ หมาะสมของโครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิ่งที่
ระดับความสูงต่างๆ สามารถสรุปรูปแบบโครงสร้างได้ดงั ตารางที่ 2.7-1
ตารางที่ 2.7-1 สรุปรูปแบบโครงสร้างของเสารองรับทางวิง่ ทางเดียว

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-32
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

Max Eccentric Column Heigth Footing Type Pile Type Column Dimension Column PT Bars, Grd. 1080 Column Rebar/ Tendons f15.24
Pier Type % Pile Rebar
m. Hc, m BXD, mm tw, mm Dia., mm unit No. of Rebar/ Strands unit
P1A1_RC - 9.0 F1-C BP1500-B RC-2000x1200 - - - 30-DB32 - 2.00%
P1A2 - 13.0 F1-A BP1500-C PC-2000x1800 300 25 2 14-f15.2 4 2.50%
P1B1_RC 9.0 F1-C BP1500-C RC-2000x1200 - - - 30-DB32 - 2.50%
0.9
P1B2_RC 13.0 F1-D BP1800-C RC-2000x1200 - - - 30-DB32 - 1.50%
P1C1_RC 2.2 9.0 F2-A 2xBP1200-A RC-2000x1200 - - - 36-DB32 - 1.70%

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-33
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2 . 8
งานออกแบบรายละเอียดเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ สองทาง
ระยะห่างคานทางวิง่ 4.75 เมตร
โครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ ดังกล่าวแบ่งประเภทโครงสร้างเส
าทางวิง่ ตามระดับความสูงของเสาโดยจานวนเหล็กเสริมและลวดอัดแรงแล
ะ ฐ า น ร า ก จ ะ เ ป ลี่ ย น ไ ป ต า ม รั ศ มี ค ว า ม โ ค้ ง ข อ ง เ ส้ น ท า ง
ซึ่งหากเป็ นโครงสร้างเสาทางตรงจะใช้รศ ั มีความโค้งมากกว่าหรือเท่ากับ
750 เมตร และ น้ อ ยกว่ า 750 เมตรส าหรับ โครงสร้ า งเสาทางโค้ ง
ซึง่ สามารถแบ่งตามความสูงของเสาได้ดงั นี้
1) โครงสร้างทางวิ่งที่มีเสาสูงไม่เกิน 9.0 เมตร (Hc ≤ 9.0 m.,
Pier Type P2B1) ใช้เป็ นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
2) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 13.0 เมตร (Hc ≤ 13.0
m., Pier Type P1B2) ใช้เป็ นเสาคอนกรีตอัดแรงทีหลังแบบ
Segmental precast column
3) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 17.0 เมตร (Hc ≤ 17.0
m., Pier Type P1B3) ใช้เป็ นเสาคอนกรีตอัดแรงทีหลังแบบ
Segmental precast column
โ ด ย ค ว า ม สู ง ข อ ง เ ส า ร อ ง รั บ ท า ง วิ่ ง ( Hc)
วั ด จ า ก ร ะ ดั บ ผิ ว บ น ข อ ง ฐ า น ร า ก ถึ ง ร ะ ดั บ สู ง สุ ด ข อ ง เ ส า
ไ ม่ ร ว ม ค ว า ม สู ง ข อ ง หั ว เ ส า (Crossbeam)
โครงสร้ า งทางวิ่ ง เป็ นร ะ บ บ เ ส า แ บ บ ต อ ่ เ นื ่อ ง ก น
ั 4 ช่ว ง ( 4-Span
Continuous System)
ม ีร ะ ย ะ ห ่า ง ร ะ ห ว ่า ง ศ ูน ย ์ก ล า ง เ ส า ถ ึง เ ส า ม า ก ที ่ส ุด 30. 0 เ ม ต ร
สาหรับรูปแบบเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ แบบระยะห่างคานทางวิง่ 4.75 เมตร
จากผลการศึกษารูปแบบทีเ่ หมาะสมของโครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิ่งที่
ระดับความสูงต่างๆ สามารถสรุปรูปแบบโครงสร้างได้ดงั ตารางที่ 2.8-1
และ ตารางที่ 2.8-2
ตารางที่ 2.8-1
สรุปรูปแบบโครงสร้างเสารองรับทางวิง่ สองทางระยะห่างคาน 4.75 เมตร
ทางตรง
Column Heigth Column Dimension PT Bars, Grd. 1080 No. of Rebar/Strands
Pier Type Footing Type Pile Type % Pile Rebar
hc, m BXD, mm tw, mm Dia., mm unit unit
P2B1_RC 9.0 F1-D BP1800-C RC 2000x1200 - - 44-DB32 - 1.75%
P2B2 13.0 F1-B BP1800-A PC 2000x1800 300 25 4 19 4 2.00%
P2B3 17.0 F2-B 2xBP1500-B PC 2000x1800 300 25 4 22 4 2.00%

ตารางที่ 2.8-2
สรุปรูปแบบโครงสร้างเสารองรับทางวิง่ สองทางระยะห่างคาน 4.75 เมตร

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-34
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

ทางโค้ง
Column Heigth Column Dimension PT Bars, Grd. 1080 No. of Rebar/Strands
Pier Type Footing Type Pile Type % Pile Rebar
hc, m BXD, mm tw, mm Dia., mm unit unit
P2B1_RC 9.0 F1-D BP1800-A RC 2000x1200 - - 48-DB32 - 2.00%
P2B2 13.0 F2-B 2xBP1500-B PC 2000x1800 300 25 4 22 4 2.00%
P2B3 17.0 F2-B 2xBP1500-B PC 2000x1800 300 25 4 25 4 2.00%

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-35
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2 . 9
งานออกแบบรายละเอียดเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ สองทาง
ระยะห่างคานทางวิง่ 5.6388 เมตร
โครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิ่งของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู
ร ะ ย ะ ห่ า ง ค า น ท า ง วิ่ ง 5 . 6 3 8 8 เ ม ต ร
สามารถแบ่งประเภทโครงสร้างเสาตามระดับความสูงของเสาดังนี้
1) โครงสร้างทางวิ่งที่มีเสาสูงไม่เกิน 9.0 เมตร (Hc ≤ 9.0 m.,
Pier Type P2C1) ใช้เป็ นเสาคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
2) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 13.0 เมตร (Hc ≤ 13.0
m., Pier Type P2C2) ใช้เป็ นเสาคอนกรีตอัดแรงทีหลังแบบ
Segmental precast column
3) โครงสร้า งทางวิ่ง ที่มี เ สาสู ง ไม่เ กิน 17.0 เมตร (Hc ≤ 17.0
m., Pier Type P2C3) ใช้เป็ นเสาคอนกรีตอัดแรงทีหลังแบบ
Segmental precast column
โ ด ย ค ว า ม สู ง ข อ ง เ ส า ร อ ง รั บ ท า ง วิ่ ง ( Hc)
วั ด จ า ก ร ะ ดั บ ผิ ว บ น ข อ ง ฐ า น ร า ก ถึ ง ร ะ ดั บ สู ง สุ ด ข อ ง เ ส า
ไ ม่ ร ว ม ค ว า ม สู ง ข อ ง หั ว เ ส า (Crossbeam)
โครงสร้ า งท างวิ่ ง เป็ น ระ บบเสา แบบต่ อ เ นื่ อ งกัน 4 ช่ ว ง ( 4-Span
Continuous System)
ม ีร ะ ย ะ ห ่า ง ร ะ ห ว ่า ง ศ ูน ย ์ก ล า ง เ ส า ถ ึง เ ส า ม า ก ที ่ส ุด 30. 0 เ ม ต ร
สาหรับ รูป แบบเสาเดี่ย วรองรับ ทางวิ่งแบบระยะห่างคานทางวิ่ง 5.6388
เมตร
สาหรับรูปแบบเสาเดีย่ วรองรับทางวิ่งสองทิศทางนี้สามารถใช้ได้ก ั
บทางวิ่ ง ที่ เ ป็ นช่ ว งทางตรงที่ มี ร ัศ มี ค วามโค้ ง ของแนวเส้ น ทาง (R)
ม า ก ก ว่ า ห รื อ เ ท่ า กั บ 7 5 0 เ ม ต ร
จากผลการศึกษารูปแบบทีเ่ หมาะสมของโครงสร้างเสาเดีย่ วรองรับทางวิ่งที่
ระดับความสูงต่างๆ สามารถสรุปได้ดงั แสดงใน ตารางที่ 2.9-1
ต า ร า ง ที่ 2 . 9 - 1
สรุ ป รู ป แบบโครงสร้า งเสารองรับ ทางวิ่ง สองทางระยะห่างคาน 5.6388
เ ม ต ร ท า ง ต ร ง
Column Heigth Column Dimension PT Bars, Grd. 1080 No. of Rebar/Strands
Pier Type Footing Type Pile Type % Pile Rebar
hc, m BXD, mm tw, mm Dia., mm unit unit
P2C1 9.0 F1-D BP1800-A RC 2000x1200 - - 44-DB32 - 1.77%
P2C2 13.0 F1-B BP1800-B PC 2000x1800 300 25 4 19 4 2.28%
P2C3 17.0 F2-B 2xBP1500-B PC 2000x1800 300 25 4 22 4 1.80%

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-36
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2 . 10
งานออกแบบรายละเอียดเสาเดีย่ วรองรับทางวิง่ สองทาง
ระยะห่างคานทางวิง่ 4.40 เมตร ระยะห่างเสาถึงเสา 40.0
เมตร (Type P5B)
ใ น ก ร ณี ที่ ค า น ท า ง วิ่ ง ต้ อ ง วิ่ ง ผ่ า น สิ่ ง กี ด ข ว า ง ด้ า น ล่ า ง
จ ะ เ ลื อ ก ใ ช้ วิ ธี ก่ อ ส ร้ า ง เ ส า แ บ บ Extended pier head
แบบหล่ อ ในที่ เ พื่ อ ยื่ น ไปรับ คานท างวิ่ ง ความย าวช่ ว ง 30.0 เมตร
ในกรณี นี้ระยะห่างระหว่างเส้นผ่าศูนย์กลางเสาถึงเสามีคา่ เท่ากับ 40 เมตร
โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ส า เ ดี่ ย ว แ บ บ Extended pier head
นี้ สามารถเลือกใช้ฐานรากได้ 2 ชนิดคือฐานรากที่ใช้เสาเข็มขนาด 1.50
เ ม ต ร จ า น ว น 2 ต้ น ว า ง ข ว า ง ต า ม ทิ ศ ท า ง ร ถ วิ่ ง
ห รื อ ใ ช้ ฐ า น ร า ก ที่ ใ ช้ เ ส า เ ข็ ม แ บ บ Barrette จ า น ว น 2 ต้ น
ว า ง ข น า น ไ ป ต า ม ทิ ศ ท า ง ร ถ วิ่ ง
โครงสร้างเสาดังกล่าวออกแบบให้สามารถรับกาลังเมือ ่ เสามีความสูงมากสุด
ไ ด้ 1 8 . 5 0
เมตรวัดจากระดับผิวบนของฐานรากถึงระดับสูงสุดของเสารวมความสูงขอ
งหัว เสา (Pier head) โครงสร้างทางวิ่ง เป็ นระบบเสาแบบต่อเนื่ อ งกัน 4
ช่ ว ง ( 4-Span Continuous System)
มีร ะยะห่า งระหว่า งศูน ย์ก ลางเสาถึง เสามากที ส ่ ุด 40.0 เมตร และ 35.0
เมตรสาหรับเสาข้างเคียงดังแสดงใน รูปที่ 2.10-1
สาหรับรูปแบบเสาประเภทนี้สามารถใช้ได้กบ ั ทางวิง่ ทีเ่ ป็ นช่วงทาง
ตรงทีม่ ีรศั มีความโค้งของแนวเส้นทาง (R) มากกว่าหรือเท่ากับ 750 เมตร
จ า ก ผ ล ก า ร อ อ ก แ บ บ รู ป แ บ บ ที่ เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ส า
สามารถสรุปได้ดงั แสดงใน รูปที่ 2.10-2

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-37
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-38
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.10-1 รูปด้านข้างของเสา P5B

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-39
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.10-2 สรุปรูปแบบโครงสร้างเสาชนิด P5B

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-40
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

2.11 ง า น อ อ ก แ บ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ ส า Portal Frame


รับทางวิ่ง สองทางระยะห่างคานทางวิ่ง 4.40 ถึง 16.236
เมตร
ในกรณี ที่ ไ ม่ ส ามารถก่ อ สร้า งเสาทางวิ่ ง รู ป แบบมาตรฐานได้
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ช่ ว ง ที่ เ ส้ น ท า ง วิ่ ง โ ค้ ง ม า ก ๆ
และไม่ส ามารถวางเสาไว้บ นเกาะกลางถนนได้ เสาทางวิ่ง ชนิ ด Portal
Frame จึงมีความเหมาะสม โดยจะเลือกใช้วธิ ีกอ ่ สร้างเสา Portal Frame
แบบหล่อในที่ ส่วนคานขวาง (Crossbeam) จะก่อสร้างด้วยวิธี Precast
segmental method หล่อ ชิ้นส่วนจากโรงงานและไปติด ตัง้ ในที่ด้ว ยวิธี
External Post-tensioning System คานทางวิ่ง ส าหรับ เสา Portal
Frame ส่วนใหญ่จะมี ค วามยาวช่วงไม่ค งที่ บางกรณี อ าจน้ อ ยกว่า 30.0
เ ม ต ร ส า ห รั บ ท า ง โ ค้ ง จ ะ อ อ ก แ บ บ เ ส า Portal Frame
รองรับคานทางวิ่งเป็ นระบบคานต่อเนื่อง (Continuous span system)
ส่ว นทางตรงรู ป แบบคานทางวิ่ง สามารถท าเป็ นแบบ Simple Span ได้
เ พื่ อ ใ ห้ ป ร ะ ห ยั ง ร า ค า ค่ า ก่ อ ส ร้ า ง ช นิ ด ข อ ง เ ส า Portal Frame
ทีจ่ ะต้องออกแบบจะต้องแบ่งออกตามความยาวของคานขวางซึ่งมีดงั ต่อไป
นี้

 เสา Portal Frame ระยะห่า งเส้น ผ่า ศู น ย์ ก ลางเสาถึง เสา


7.0 ถึง 15.9 เมตร
 เสา Portal Frame ระยะห่า งเส้น ผ่า ศู น ย์ ก ลางเสาถึง เสา
16.0 ถึง 24.0 เมตร
 เสา Portal Frame ระยะห่า งเส้น ผ่า ศู น ย์ ก ลางเสาถึง เสา
35.0 ถึง 42.0 เมตร

ส า ห รั บ ฐ า น ร า ก ส า ห รั บ เ ส า ช นิ ด Portal Frame
อ า จ แ ต ก ต่ า ง กั น ชึ้ น อ ยู่ กั บ ร ะ ย ะ ห่ า ง เ ส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ล า ง เ ส า ถึ ง เ ส า
และความสู ง ของเสา รู ป ที่ 2.11-1 แสดงรู ป แบบโครงสร้า งเสา Portal
Frame ทีม ่ ีระยะห่างเส้นผ่าศูนย์กลางเสาถึงเสา 16.0 ถึง 24.0 เมตร

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี
รายงานความก้าวหน้า ประจาเดือนสิงหาคม 2561 2-41
บทที่ 2 งานออกแบบโครงสร้างทางวิง่

รูปที่ 2.11-1 สรุปรูปแบบโครงสร้างเสาชนิด Portal Frame ระยะห่างเสา 16.0 ถึง 24.0 เมตร

NCE • DEWI • SENA โครงการออกแบบรายละเอียด งานโยธา (Civil Works)


โครงการรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว สายสีชมพูช่วงแคราย–มีนบุรี

Anda mungkin juga menyukai