Anda di halaman 1dari 5

๑) ที่มา ICNIRP และข้ อกาหนดมาตรฐานความปลอดภัย

ICNIRP เป็ นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ ที่ไม่แสวงหากาไร หรื อ เอ็นจีโอ (non-government organization)

ก่อตังขึ
้ ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ กลุม่ หนึง่ โดยจดทะเบียนชึ ้น ณ กรุงมิวนิค ประเทศเยอรมันในปี ค.ศ. ๑๙๙๒ มีบทบาทในการ
เสนอมาตรฐานอ้ างอิงสาหรับการแผ่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าในย่านความถี่ไม่ทาให้ ไออ้ อนแตกตัว (Non-Ionizing radiation)
(http://en.wikipedia.org/wiki/International_Commission_on_Non-Ionizing_Radiation_Protection) ผู้
ก่อตัง้ และเป็ นประธานคนแรก คือ ดร. Michael Repacholi

ส่วนองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็ นองค์กรมีบทบาทเกี่ยวกับสาธารณะสุขของโลก มีภารกิจหลักในการ


ส่งเสริ ม ติดตาม ให้ ความช่วยเหลือ การกาหนด แนะนาวาระการวิจยั ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้ในด้ านสาธารณะสุข
และ IARC (International Agency for Research on Cancer) เป็ นองค์กร ถาวรในสังกัด องค์การอนามัยโลกทา
หน้ าที่สนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศ ประสาน สนับสนุนและอานวยความสะดวกในการวิจยั เพื่อวัตถุประสงค์ใน
การสืบหาต้ นต่อ กลไกที่เป็ นสาเหตุของการเกิดมะเร็ งต่อมนุษย์จากสาร (agents) ต่างๆ อันจะช่วยปกกัน ลด หรื อขจัด
อันตรายจากสารเสีย่ งต่อมะเร็ ง และที่สาคัญ ทาหน้ าที่พจิ ารณาว่ามีสารตัวใดควรจัดขึ ้นทะเบียนเป็ นสารเสีย่ งต่อมะเร็ง
หรื อไม่ และอยูใ่ นกลุม่ ใด ได้ แก่ กลุม่ 1, 2A, 2B, 3, หรื อ 4 ทานองเดียวกับไฟจลาจลสีแดง เหลือง และ เขียว โดยอาศัย
ข้ อมูลจากรายงานการวิจยั ทีม่ ีในโลกขณะนัน้ การจัดกลุม่ มิได้ ขึ ้นกับว่าสารตัวใดมีความรุนแรงหรือโอกาสมากน้ อยกว่ากัน
หากแต่ขึ ้นกับข้ อมูลการวิจยั ในขณะนัน้ หมายความว่าอาจมีการเปลีย่ นสถานะจากกลุม่ หนึง่ ไปอยูอ่ ีกกลุม่ ในวันข้ างหน้ าก็
ได้

การรับรอง (recognize) ICNIRP จากองค์การอนามัยโลก จึงมีนยั ยะในฐานะนิติบคุ คลระหว่างประเทศที่ไม่


แสวงกาไรซึง่ ได้ จดทะเบียนถูกต้ องตามกฎหมายสากลองค์กรหนึง่ เฉกเช่นองค์กรระหว่างประเทศอื่นๆที่มีบทบาททางด้ าน
สาธารณสุข อีกทังขี
้ ดจากัดมาตรฐานของ กสทช. ตามประกาศ เป็ นบทความของ ICNIRP ที่ตีพิมพ์ในวารสารฟิ สกิ ส์
สุขภาพ (Health Physics) ชื่อเรื่ อง International Commission on Non-Ionizing Radiation Protection:
Guidelines for limiting exposure to time-varying electric, magnetic and electromagnetic fields. Health
Phys 74:494-522, 1998) ซึง่ ต่อไปนี ้จะใช้ คาว่า ICNIRP GUIDELINES จึงไม่ได้ จดั ทาขึ ้นโดยองค์กรเกี่ยวกับสาธารณสุข
หรื อสิง่ แวดล้ อม ทังนี
้ ้ประเทศใดจะอ้ างอิงข้ อเสนอนี ้ (ICNIRP GUIDELINES) หรื อไม่ ก็ขึ ้นกับแต่ละประเทศจะพิจารณา
กัน เป็ นต้ นว่า ในประเทศรัสเซีย จีน อิตาลี สวิสเซอร์ แลนด์ ออสเตรี ย มิได้ กาหนดขีดจากัดตาม ICNIRP GUIDELINES
หากแต่กาหนดอยูใ่ นค่าที่น้อยกว่าตังแต่
้ ๑๐๐ ถึง หนึง่ ล้ านเท่า อีกทังกลุ
้ ม่ นักวิทยาศาสตร์ และสมาคมแพทย์หลายๆกลุม่
ยังได้ เรี ยกร้ องประเทศทังหลายให้
้ ปรับลดค่าขีดจากัดจากมาตรฐานของ ICNIRP GUIDELINES ให้ มีคา่ น้ อยลงหนึง่ หมื่น
เท่าให้ อยูใ่ นระดับไม่เกิน ๑ มิลลิวตั ต์ตอ่ ตารางเมตร หรื อเทียบเท่ากับ ๐.๖ โวล์ทต่อเมตร เนื่องจากเห็นว่ามาตรฐาน
ICNIRP GUIDELINES จะป้องกันได้ เฉพาะอันตรายจากการรับคลืน
่ แม่เหล็กไฟฟ้าที่เป็ นผลกระทบต่อสุขภาพทางความ
ร้ อน ไม่อาจป้องกันอันตรายในระยะยาวจากคลืน่ ในระดับความแรงต่านันมาก
้ ซึง่ ได้ พิสจู น์จากการวิจยั ว่า มีผลกระทบทาง
ชีวภาพจนอาจเกิดผลกระทบต่อสุขภาพในวันข้ างหน้ าได้
๒) องค์ ประกอบและความเชี่ยวชาญของคณะกรรมาธิการ ICNIRP

จากรายนามและประวัติคณะกรรมาธิการที่จดั ทามาตรฐาน ICNIRP GUIDELINES ดังแนบ


(http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=1&ved=0CCUQFjAA&url=htt

p%3A%2F%2Fwww.next-up.org%2Fpdf%2Fpart1_Commission_Members_Biographies.pdf&ei=-

BQ6VKq2KdCquQScgYLoCw&usg=AFQjCNHRGsilBjBeFggP6p8H4OjLwtymGQ&bvm=bv.77161500,d.c2E

) พบได้ วา่ ในกรรมาธิการ ๑๔ ท่าน มีผ้ เู ชี่ยวชาญเฉพาะด้ านกระบาดวิทยา ๒ ท่าน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านจักษุวิทยาหรื อ
ตา ๒ ท่าน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านผิวหนัง ๑ ท่าน ที่เหลือ ๘ ท่านเป็ นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านฟิ สกิ ส์สาขารังสีวิทยาและ
วิศวกรรมสาขาอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่มีผ้ เู ชี่ยวชาญเฉพาะด้ านชีววิทยาและวิทยาศาสตร์ การแพทย์สาขาอื่นๆแม้ สกั ผู้เดียว
จึงทาให้ คณะกรรมาธิการกาหนดขีดจากัดการแผ่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าในระดับที่ไม่เป็ นอันตรายจากมุมมองของผลกระทบที่
เป็ นความร้ อน (thermal effects) เพียงเท่านัน้ ดังเห็นได้ ชดั เจนจากองค์ประกอบทีเ่ ป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านจักษุวิทยา ๒
ท่าน ผู้เชี่ยวชาญด้ านผิวหนัง ๑ ท่าน โดยรังสีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าที่สงู เกินจะทาให้ ผวิ ไหม้ จากกรณีผ้ เู ข้ าใกล้ เครื่ องเรดาร์
ตรวจจับเครื่ องบิน หรื อบนเรื อเดินสมุทร และมีผลต่อดวงตาเนื่องจากเป็ นอวัยวะร่างกายทีม่ ีน ้าเป็ นองค์ประกอบในสัดส่วน
ที่มากสุด โดยน ้ามีคณ
ุ สมบัตใิ นการสือ่ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเป็ นอย่างดี ICNIRP GUIDELINES ที่ กสทช. ใช้ กาหนดเป็ น
มาตรฐานใช้ บงั คับอยู่ จึงไม่สามารถจะป้องกันผลกระทบต่อระบบชีวภาพในสิง่ มีชีวิตจากคลืน่ รังสีในระดับที่ต่ากว่า
ขีดจากัดตามมาตรฐานนับพันนับหมื่นเท่าได้ เนื่องจากคณะกรรมาธิการ ICNIRP ขาดผู้เชี่ยวชาญด้ านชีวภาพ จึงขาดองค์
ความรู้ในผลกระทบต่อชีวภาพ

๓) ความโปร่ งใสของ ICNIRP และ WHO EMF Project

นอกจาก ดร. Repacholi เป็ นผู้จดั ตัง้ ICNIRP และเป็ นประธานคนแรกในปี ค.ศ. ๑๙๙๒ และเมือ่ ครบวาระก็
ได้ รับตาแหน่งประธานกิตติคณ
ุ ตังแต่
้ ค.ศ. ๑๙๙๖ เมื่อพ้ นตาแหน่ง ดร. Repacholi จึงได้ ก่อตังโครงการสนามแม่
้ เหล็ก
ไฟฟ้า หรื อหน่วยงานเฉพาะกิจซึง่ ไม่ใช่หน่วยงานถาวรในสังกัด องค์การอนามัยโลก (The WHO EMF Project
http://www.who.int/peh-emf/project/en/ ) ขึ ้นทันทีในปี ค.ศ. ๑๙๙๖ และดารงตาแหน่งหัวหน้ าโครงการกระทัง่

เกษียรในปี ค.ศ. ๒๐๐๖ บทบาทของโครงการ ก็คือ เพื่อประเมินในผลกระทบใดๆของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีตอ่ สุขภาพ


และสิง่ แวดล้ อม ดร. Repacholi ผู้นี ้ จึงมีบทบาทเป็ นผู้นาทังในการก
้ าหนดเกณฑ์ความปลอดภัย และ การประเมินผล
กระทบจากการดาเนินการภายใต้ กฎเกณฑ์ทตี่ นและพวกเป็ นผู้กาหนดขึ ้น ทาให้ เกิดความคลางแคลงในความโปร่งใสและ
ประเด็นผลประโยชน์ทบั ซ้ อน เนือ่ งจากว่า นอกจาก ดร. Repacholi เป็ นผู้ก่อตัง้ ICNIRP และเป็ นประธานกิตติคณ
ุ มี
บทบาทเสนอมาตรฐานการแผ่รังสีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ก่อให้ เกิดไอออนซึง่ รวมไปถึงคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่า 50 /
60 Hz (ELF) จนถึงความถี่วิทยุ / ไมโครเวฟ (RF / microwave) ยังดารงตาแหน่งหัวหน้ าโครงการ WHO EMF Project
ที่มีบทบาทในการประเมินในผลกระทบใดๆของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีตอ่ สุขภาพและสิง่ แวดล้ อม ครัน้ ต่อมาในปี ค.ศ.
๒๐๐๑ องค์การอนามัยได้ ประกาศให้ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ตา่ 50 / 60 Hz เป็ นสารอาจก่อมะเร็ งต่อมนุษย์ ในกลุม่
2B เนื่องจากการวิจยั พบว่า รังสีแม่เหล็กความแรงสูงกว่า ๔ mG (หรื อ ๐.๔ μT) ทาให้ เกิดโรคมะเร็ งเม็ดเลือดขาวในวัย
เด็กเพิ่มขึ ้น ๒ เท่า ซึง่ มาตรฐานปลอดภัยตามที่ ICNIRP GUIDELINES ได้ กาหนด ได้ แก่ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ mG (๑๐๐ μT)
ขีดจากัดความแรงสนามแม่เหล็กที่มีระดับที่สงู เกินกว่าระดับที่พบความเสีย่ งต่อการเกิดโรคมะเร็ งเม็ดเลือดขาวในวัยเด็ก
ถึง ๒.๕๐ เท่า จนถึงบัดนี ้ ICNIRP ยังไม่มีทีทา่ จะปรับปรุงมาตรฐานที่เสนอตังแต่
้ ค..ศ. ๑๙๙๘ จึงทาให้ นกั วิชาการสงสัย
ในความไม่โปร่งใสของ ดร. Michael Repacholi เพิ่มมากขึ ้น และหลังจากทีเ่ กษี ยณพ้ นจากตาแหน่งหัวหน้ าโครงการ
เพียงไม่กี่เดือน ความชัดเจนก็ได้ ปรากฏขึ ้นเมื่อบริษัท คอนเนคติคตั แสงสว่างและกาลังจากัด (The Connecticut Light
and Power Co. หรื อ CL&P) ซึง่ เป็ นบริ ษัทลูกของผู้ผลิตไฟฟ้า Northeast Utilities และ บริ ษัท United Illuminating

Co. (UL) ได้ จ้าง ดร. Repacholi เป็ นที่ปรึ กษาด้ วยวัตถุประสงค์ในการโน้ มน้ าว Connecticut Siting Council ที่กาลัง

พิจารณาปรับมาตรฐานความแรงสนามแม่เหล็ก ไม่ให้ เข้ มงวดมากตามที่กระทรวงสาธารณะสุขของรัฐคอนเนคติคตั


(DPH) ต้ องการจะลดค่าขีดจากัดความแรงสนามแม่เหล็กลงเหลือไม่เกิน ๖ ถึง ๑๐ mG เนื่องจากการวิจยั ทางระบาด
วิทยาต่างสรุปตรงกันว่า ความแรงสนามแม่เหล็กที่สงู กว่า ๓ ถึง ๔ mG ทาให้ เกิดมะเร็ งเม็ดเลือดขาวในวัยเด็ก ทังนี
้ ้ ดร.
Repacholi ได้ ยื่นคาคัดค้ านเป็ นเอกสารมีความยาวขนาดความจุ ๔.๑ MB ต่อ Connecticut Siting Council ซึง่ เป็ น

หน่วยงานของรัฐบาลในรัฐคอนเนคติคตั มีอานาจตามกฎหมายของรัฐ กากับดูแลกาหนดสถานทีต่ งั ้ (siting) ใดๆที่


เกี่ยวกับสาธารณูปโภคภายในรัฐ เช่น ที่ตงโรงไฟฟ้
ั้ า แนวเดินสายไฟฟ้ากาลังสูง โรงเก็บ / กาจัดขยะ ที่ตงสถานี
ั้ ฐาน
โทรศัพท์เคลือ่ นที่ เป็ นต้ น การกระทาของ ดร. Repacholi จึงได้ รับการวิพากษ์ วจิ ารณ์เป็ นอย่างมาก เช่น บางคนมองว่านี่
เป็ นกิจกรรมที่ตอ่ เนื่องของเขาต่อจากตอนที่อยู่ WHO ซึง่ ในช่วงนัน้ ดร. Repacholi มักจะถูกกล่าวหาว่า มีความลาเอียง
เข้ าข้ างอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลือ่ นที่ และ สาธารณูปโภคไฟฟ้าบนความความเสียหายที่เกิดต่อสาธารณสุขของนานา
ประเทศ บางคนมองว่าการทางานด้ านที่ปรึกษาของเขาเป็ นการตอบแทนกลับคืนให้ กบั อุตสาหกรรม ซึง่ เป็ นผู้สนับสนุน
ทางด้ านการเงินรายใหญ่ให้ กบั โครงการ WHO EMF Project ของเขาด้ วยการใช้ งานต่างๆที่เขาได้ ตระเตรียมไว้ จาก
โครงการมาสนับสนุนนโยบายของภาคอุตสาหกรรมในที่สดุ โดยมีหลักฐานว่า โครงการ WHO EMF Project ได้ รับเงิน
จากภาคอุตสาหกรรมมากกว่าทีเ่ ปิ ดเผยต่อสาธารณะ อย่างเช่น สมาคม GSM ได้ เพิ่มเงินสนับสนุนแก่โครงการในปี ค.ศ.
๒๐๐๖ ถึง ๓ เท่า จากปี ละ ๕๕,๐๐๐ ในปี ค.ศ. ๒๐๐๕ เป็ น ๑๖๕,๐๐๐ เหรี ยญสหรัฐ และยังได้ รับจากสมาคมผู้ผลิต
โทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Mobile Manufacturer Forum, MMF) อีกปี ละ ๑๕๐,๐๐๐ เหรี ยญสหรัฐ ยังมีเงินทุนสนับสนุนจาก
ผู้ประกอบการรายอื่น รวมถึงที่อาจได้ รับจากภาคอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า จึงอาจกล่าวได้ วา่ ภาคอุตสาหกรรม
โทรศัพท์เคลือ่ นที่และพลังงานไฟฟ้า คือผู้ที่แทรกซึมองค์การอนามัยโลก โดยอาศัยนักวิชาการผู้นี ้จัดตังโครงการ
้ WHO

EMF Project ขึ ้นมา โดยในเบื ้องหลังมีวตั ถุประสงค์เพื่อรักษาผลประโยชน์ของภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี ้แล้ ว


คณะกรรมาธิการดังระบุมาข้ างต้ น นอกจาก ดร. Repacholi ผู้เป็ นประธานคนแรกและประธานกิตติคณ
ุ ตังแต่
้ ค.ศ.
๑๙๙๖ ยังมีกรรมาธิการ ICNIRP อีก ๒ ท่าน คือ ศ.จ. ดร. Anders Ahlbom และ ศ.จ. ดร. Anthony Swerdlow ซึง่
เป็ นที่รับทราบโดยทัว่ กันในปั จจุบนั ว่าล้ วนมีประวัติพวั พันกับอุตสาหกรรมโทรคมนาคม จึงมีผลประโยชน์ทบั ซ้ อน ทาให้ ไม่
เป็ นบุคคลที่สมควรจะเชื่อถือได้ ด้ วยเหตุผลดังต่อไปนี ้
ศ.จ. Swerdlow เป็ นผู้มีตาแหน่งอันสาคัญ ๓ ตาแหน่ง ได้ แก่ ประธานคณะกรรมการ AGNIR กรรมาธิการ
ICNIRP และกรรมการถาวรด้ านระบาดวิทยาของ ICNIRP (ICNIRP Standing Committee on Epidemiology)

AGNIR (Advisory Group on Non-Ionising Radiation) เป็ นหน่วยงานอิสระขึ ้นต่อคณะกรรมการ UK Health

Protection Agency (HPA) มีหน้ าที่ให้ คาแนะนาป้องกันอันตรายจากโรคติดต่อ ตลอดจนภัยจากสารเคมีและรังสี ในส


หราชอาณาจักร จึงมีขอบเขตครอบคลุมถึงคาแนะนาต่อรัฐบาลสหราชอาณาจักรเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจาก
คลืน่ วิทยุ อีกทัง้ ศ.จ. Swerdlow ถือหุ้น Cable and Wireless Worldwide และหุ้น Cable and Wireless
Communications ส่วนภรรยาถือหุ้น BT Group ซึง่ เป็ นยักษ์ ใหญ่บริ ษัทโทรคมนาคมรายหนึง่ ของโลก ดังนัน้ ศ.จ.

Swerdlow ซึง่ เป็ นกรรมาธิการ ICNIRP ร่ วมจัดทามาตรฐาน ICNIRP GUIDELINES จึงเป็ นผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ตังแต่
้ การ
กาหนดเกณฑ์มาตรฐาน การใช้ เกณฑ์ในประเทศสหราชอาณาจักรในฐานะประธาน AGNIR จนถึงผู้รับผลประโยชน์
ส่วนตัวจากการเงินปั นผลของหุ้นบริ ษัทโทรคมนาคม

ศ.จ. Ahlbom มิได้ เปิ ดเผยข้ อมูลส่วนตัวสาคัญเกี่ยวกับผลประโยชน์ทบั ซ้ อนของตนต่อ IARC / WHO ว่าตนมี
ตาแหน่งเป็ นกรรมการและเป็ นผู้ร่วมก่อตังบริ
้ ษัทที่ปรึกษา Gunnar Ahlbom AB กับน้ องและน้ องสะใภ้ ในปี ค.ศ. ๒๐๑๐
จดทะเบียนและมีสานักงานตังอยู
้ ใ่ นกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยีย่ ม บริ ษัท Gunnar Ahlbom AB ที่เขาและครอบครัว
จัดตังขึ
้ ้นมามีวตั ถุประสงค์เป็ นลอบบียิสท์ให้ กบั ธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคม (telecom lobbyist) ซึง่ ผู้เป็ นน้ อง Gunnar
Ahlbom ได้ ประกอบอาชีพนี ้มาตังแต่
้ ช่วงต้ นทศวรรษ ค.ฯ. ๑๙๙๐ ก่อนหน้ าที่ ศ.จ. Anders Ahlbom เป็ นหนึง่ ใน
กรรมาธิการ ซึง่ กาหนดมาตรฐาน ICNIRP GUIDELINES ตามเอกสารหมาย ล. ๕ ในปี ค.ศ. ๑๙๙๘ ซึง่ กลายเป็ น
มาตรฐานที่เกิดข้ อถกเถียงกันมากจนถึงวันนี ้ ต่อมา ในต้ นปี ค.ศ. ๒๐๑๑ IARC / WHO ได้ ตงคณะท
ั้ างานชุดหนึง่ ขึ ้นมา
๓๔ ท่าน เพื่อประเมินผลการวิจยั ในโลกเกี่ยวกับความเป็ นไปได้ ของการเกิดมะเร็งต่อมนุษย์จากรังสีคลืน่ แม่เ หล็กไฟฟ้าใน
ย่านความถี่วิทยุ โดยมี ศ.จ. Anders Ahlbom เป็ นหัวหน้ าคณะทางาน แต่ในทันทีที่นกั ข่าวเชิงสืบสวนสัญชาติสวีเดน
Mona Nilsson แถลงข่าวในวันที่ ๒๓ เดือนพฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๑๑ ในช่วงที่คณะทางานเริ่ มจะประชุมกัน ว่า ศ.จ.

Anders Ahlbom มิได้ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับผลประโยชน์สว่ นตัวดังระบุข้างต้ น ทาให้ IARC ปลด Ahlbom ออกจาก

คณะทางาน

ดังนัน้ มาตรฐานขีดจากัดความปลอดภัย ICNIRP GUIDELINES ตีพิมพ์ในวารสาร Health Physics เป็ นที่

เคลือบแคลงสงสัยกันในโลกว่า เป็ นการกาหนดขึ ้นเพื่อผลประโยชน์ของภาคอุตสาหกรรม จึงทาให้ ไม่อาจสร้ างความ


ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งได้ เนื่องจากเป็ นมาตรฐานที่ไม่สามารถป้องกันอันตรายทีเ่ กิดจากผลกระทบต่อชีวภาพในระยะยาว
อย่างแท้ จริ งได้

ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ

เอกสารอ้ างอิง

Aim, Status & History


https://www.icnirp.org/en/about-icnirp/aim-status-history/index.html

It’s Official: Mike Repacholi Is an Industry Consultant And He’s Already in Hot Water

https://microwavenews.com/CT.html

Anda mungkin juga menyukai