Anda di halaman 1dari 13

อนาคตจักรีไมมี...

เสื่อม
ในป พ.ศ. 2543 พระเจาอยูหัวทรงมีทีทาวาจะถอนพระองคเพื่อไปสูความสันโดษคือ จะทรงปลีกวิเวกที่วัง
ไกลกังวลริมชายหาดทะเลหัวหินเหมือนพระมหาชนกในวรรณคดีที่ทรงนํามาเผยแพรใหมเพื่อการปฏิบัติ
ธรรมขั้นสุดทายที่จะนําไปสูการรูแจง พระองคทรงทําทาเหมือนจะปลอยวางความดิ้นรนกระเสือกกระสนที่
เคยไดทรงปฏิบัติมาตลอดในอดีตที่แสนจะยาวนาน
แตพระเจาอยูหัวก็ไมสามารถที่จะละทิ้งพระราชภารกิจไดโดยสิ้นเชิงเหมือนกับวาพระราชภารกิจยังมิได
บรรลุผลสําเร็จครบถวนบริบูรณ มีหลายครั้งที่ทรงปรากฏพระองคในการถวายสัตยปฏิญญาณของรัฐมนตรี
ใหม ทรงตอนรับพระราชอาคันตุกะคนสําคัญ และโปรดเกลาใหผูบริจาคหรือกลุมขาราชการเขาเฝา เชน ใน
วาระการเลื่อนยศนายทหารประจําปในเดือนกันยายน พ.ศ. 2543 ทรงเสด็จออกเปนขาวทางโทรทัศนในการ
ใหนักวางแผนของกรุงเทพเขาเฝา ทรงกําชับกําชาพวกเขาอยางยืดยาวเรื่องการจัดการจราจร และเมื่อเกิดน้ํา
ทวมหาดใหญใน 2 - 3 สัปดาหตอมาก็ยังไดทรงบรรยายออกโทรทัศนยืดยาวอีกครั้งตอเจาหนาที่รับผิดชอบ
งานด า นภั ย พิ บั ติ ส าธารณะ เสด็ จ กลั บ กรุ ง เทพเพื่ อ พระราชทานพระราชดํ า รั ส เนื่ อ งในวั น เฉลิ ม พระ
ชนมพรรษา ทรงเลาเรื่องศีลธรรมทั่วๆไป และเรื่องขําขันถอมพระองคและทรงเหน็บแนมนักการเมืองเชน
เคย แตสวนใหญแลวทรงแยกพระองคประทับอยางสันโดษ พระราชกรณียกิจหลักดูเหมือนจะเปนการนิ
พนธหรือเขียนหนังสือเรื่องของสุนัขที่มีชื่อเรียกวา คุณทองเเดง อันเปนชีวประวัติของสุนัขที่ทรงรับเลี้ยงมา
4 ปแลว คุณทองแดงมีชื่อเสียงโดงดังจากการเปนสุนัขทรงโปรดของพระเจาอยูหัวและหนังสือชีวประวัติ
ของคุณทองแดงที่พิมพในป พ.ศ. 2545 ก็มีพระบรมฉายาลักษณพระเจาอยูหัวทรงกอดและเลนกับคุณทอง
แดงในหลายภาพทรงแยมพระสรวลอยางที่ไมคอยมีใครไดพบเห็นกันบอยนัก
ดูผิวเผินแลวหนังสือหนา 84 หนาทั้งภาษาอังกฤษและไทยวาดวยสุนัขพันธุทางหรือหมาไทยตัวหนึ่งที่อาจ
ถูกมองขามวาเปนเพียงพระเกษมสําราญหรืองานอดิเรกของในหลวงเทานั้นที่ทรงเตือนพสกนิกรวา แมแต
สุนัขขางถนนก็ไมไดต่ําตอยกวาสุนัขฝรั่งพันธุแท แตหนังสือเลมนี้มีความหมายมากกวานั้น เพราะทรงบรร
ยายอบรมสั่งสอนพสกนิกรใหเห็นเปนตัวอยางโดยทรงบรรยายวาคุณทองแดงเปน “หมาธรรมดาที่ไมธรรม
ดา” คือ มันมีสํานึกเคารพตอพระเจาอยูหัวอยางสงบเสงี่ยมเจียมตัว รูจักที่ต่ําที่สูง รูจักการวางตน รูกาล เทศะ
ไมตีตนเสมอทาน ทรงไดมันมาเมื่อมันเกิดมาไดไมกี่วัน กอนนั้นมันรองทั้งวัน แตพอถูกนํามาถวายพระ
เจาอยูหัว มันก็หยุดรองและคลานเขาไปหมอบอยูบนพระเพลาหรือตักของพระองคราวกับขอฝากชีวิตไว
แลวมันก็หลับไปเลย ไกลจากความกังวล ความเหงาและความกลัว คุณทองแดงคลองแคลววองไว ฉลาดและ
สนอกสนใจปฏิบัติตามคําสั่งของพระเจาอยูหัวโดยไมเคยตั้งคําถามหรือแสดงความสงสัย มันถวายการปก
ปองในหลวงจากสุนัขตัวอื่นๆ โดยไมตองสั่งหรือตองการประจบเพื่อหวังรับเกียรติยศหรือเครื่องราชยใดๆ
ที่นาทึ่งสําหรับสุนัขที่มีชาติกําเนิดแบบไพรหรือสุนัขขางถนนก็คือ มันเดินอยางผูดี มีทวงทาของชาววัง
กลิ่นไมเหม็นสาบ ไมเหา และทั้งที่เปนสุนัขตัวโปรดของพระเจาอยูหัว แตมันกลับถอมเนื้อถอมเนื้อถอมตัว
มันรูจักการวางตัวที่พอเหมาะเวลาเขาเฝาพระเจาอยูหัวอยู มันจะเขาเฝาในหลวงก็ตอเมื่อมีพระบรมราชโอง
การรับสั่งเทานั้น และมันก็มีกิริยามารยาทอันงดงามอยูตลอดเวลา และปฏิบัติตนไดถูกตองตามประเพณีปฏิ
บัติอยางเปนทางการทุกประการ โดยไมเคยวางตนอยูเหนือพระเจาอยูหัว สวนสุนัขตัวอื่นๆแมแตลูกๆของ
คุณทองแดงเองจะแสดงอาการปลื้มปติดีใจตลอดเวลาที่เขาเฝาพระเจาอยูหัวดวยการโดดขึ้นพระเพลา (ตัก)
และเลียพระพักตพระเนตรของในหลวง แตคุณทองแดงไมเคยและไมมีวันทําอยางนั้นตอใหในหลวงทรงดึง
ตัวมันขึ้นมาเพื่อกอด ทองแดงก็จะรีบหมอบกราบบนพื้นอยางรวดเร็ว หูหลุบในอาการแสดงความเคารพนบ
นอบ ขาราชการในวังรายหนึ่งบอกวา หากอยากรูวาจะนั่งอยางไรใหงามเวลาเฝาในหลวงก็ใหดูตัวอยางจาก
คุณทองแดง
คนไทยบางคนอาจรับไมไดกับการประชดเปรียบเปรยใหยกยองเทิดทูนพระเจาอยูหัว โดยยกสุนัขใหเปน
แบบอยาง แตคนไทยสวนใหญรักคุณทองแดงและหนังสือพระราชนิพนธเลมนี้มีคนซื้อหนังสือเลมนี้ไป
มากกวา 500,000 เลมกลายเปนหนังสือที่ขายดีที่สุดของไทยตลอดกาล เสื้อยืดคุณทองแดงก็มียอดขายในปริ
มาณใกลเคียงกัน โดยถวายผลกําไรจากการขายโดยเสด็จพระราชกุศล หนังสือเรื่องของคุณทองแดงจึงสะ
ทอนพระบรมเดชานุภาพของพระเจาอยูหัว แมวาจะทรงแทรกแซงทางการเมืองและการบริหารประเทศมา
โดยตลอด รวมทั้งเปนการสยบบรรดาผูที่ชอบวิพากษวิจารณเรื่องของพระราชวงศ พระเจาอยูหัวยังทรงเปน
ที่รักและเทิดทูนของพสกนิกรสวนใหญดวยพระปรีชาสามารถอันชาญฉลาดในการปกปองพระราชวงศจักรี
ไมใ หตองถูกเบียดขับ โดยวิ ถีแห งทุ นนิย มเสรีประชาธิปไตยสมัยใหม แตความสําเร็จ นี้กลั บกลายเปน
อุปสรรคในการเปลี่ยนผานเพื่อพัฒนาจากการเปนราชอาณาจักรไปสูความเปนประเทศสมัยใหม เพราะ
ถึงแมวาสถาบันพระมหากษัตริยไทยจะยังอยูรอดไมสิ้นพระราชวงศเหมือนกับสถาบันกษัตริยของลิเบียและ
เอธิโอเปย แตสถาบันกษัตริยของไทยก็ไมเคยปรับตัวเพื่อพัฒนาไปสูความเปนสถาบันกษัตริยตามอยางญี่ปุน
หรือยุโรปในศตวรรษที่ 20
แตพระเจาอยูหัวกลับไดทรงสถาปนาลัทธินิยมเจาซึ่งเปนระบอบของการแสวงหาอํานาจในระบบการเมือง
ของไทยโดยพระราชวงศ เปนการเมืองการปกครองแบบโบราณที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนศูนยกลางของ
อํานาจยังคงดํารงอยูตอไปซึ่งเปนเรื่องที่แปลกมาก เพราะการขึ้นครองราชยของพระองคมาจากของการสืบ
เชื้อสายพระราชวงศที่เปนเรื่องบังเอิญแทๆนาจะทําใหพระองคเปนไดแคสัญญลักษณในทางการปกครอง
เทานั้น แตสถาบันพระมหากษัตริยของพระเจาอยูหัวภูมิพลไดตอสูชวงชิงอํานาจทางการเมืองตามระบอบ
รัฐธรรมนูญและกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยตลอดเวลานับแตการขึ้นครองราชยของพระองค การ
ตอตานแข็งขืนตอการเปลี่ยนแปลงของสถาบันกษัตริยนั้นเปนเรื่องธรรมดาที่พบเห็นกันไดทั่วไป เชน บรูไน
เนปาล และตะวันออกกลาง ตางขัดขวางการปรับปรุงระบบการปกครองเหมือนกัน แตสถาบันพระมหา
กษัตริยของไทยนั้นมีขอแตกตางตรงที่วา แทนที่จะรักษาอํานาจไวดวยการบังคับและปราบปรามมวลชน แต
พระเจาอยูหัวภูมิพลกลับทรงใชภาษาและโวหารชักจูงพสกนิกรใหเคลิบเคลิ้มวาประเทศไทยนั้นตองพึ่งพา
สถาบันพระมหากษัตริยทั้งในเชิงสังคมวัฒนธรรมการเมืองการปกครองและใหคนไทยมีความพึงพอใจตอ
สภาพที่เปนอยู ความสําเร็จของพระองคนั้นไมไดเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเอง แตเปนผลมาจากความพยายามที่ยอด
เยี่ยมของพระองคและขาราชบริพารในวังนับรอยๆคนรวมทั้งหนวยงานอื่นๆที่ไดบรรจงสรางกันขึ้นมาจน
ทําใหพระเจาอยูหัวทรงมีสถานะเปนเทพเจาผูสูงสง
มี 2 ปจจัยที่ทําใหการสถาปนาระบอบกษัตริยประสบผลสําเร็จอยางดีเยี่ยม ปจจัยแรกคือ ในหลวงภูมิพลทรง
เปนบุคคลในอุดมคติสําหรับการฟนคืนสถาบันพระมหากษัตริยใหดํารงอยูตอไป หลังการสวรรคตอันนา
สลดของในหลวงอานันท ในหลวงภูมิพลทรงยอมรับหนาที่ในการครองราชบัลลังกอยางไมมีเงื่อนไข ทรงมี
ศักยภาพสูงในการเรียนรู และไมมีขอเกี่ยงงอนใดๆ และไมยอมพระองคตอความโลภ ความเมินเฉย หรือการ
เสพสุขและความหรูหราฟุงเฟอมากเกินไป ปจจัยที่ 2 คือ ความเปนชาวพุทธในสายเลือดของคนไทยที่แมวา
จะมีการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 มาหลายปแลว แตคนไทยยังคงมองตนเองวา เปนชนชาติไทยที่มีรากเหงาของ
พุทธศาสนา และมีความรักใครสมัครสมานสามัคคีในความจงรักภักดีตอสถาบันกษัตริย
คณะราษฎร พ.ศ. 2475 โดยเฉพาะจอมพล ป. พยายามอยางมากที่จะตัดการเชื่อมโยงระหวางพุทธศาสนากับ
สถาบันพระมหากษัตริยออกจากกันเพื่อจะไดลบลางภาพอันสวยงามของความเปนธรรมราชาที่ถูกปลุกให
ฟนชีพขึ้นมาชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยพวกกษัตริยนิยมที่เล็งเห็นวามันเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่งที่
จะตองเชื่อมความเปนเทพและธรรมราชาเขาดวยกันและสถาปนาความขลังความศักดิ์สิทธิ์ของสถาบัน
พระมหากษัตริยกลับคืนขึ้นมาใหม โดยมีทีมงานที่ปรึกษาคนสําคัญของพระเจาอยูหัวคือ กรมหมื่นพิทยลาภ
พฤฒิยากรและพระองคเจารังสิตประยูรศักดิ์ที่ไดเนนย้ําความสําคัญของพิธีกรรมเหนืออื่นใดในฐานะเครื่อง
แสดงวัตรปฏิบัติอันบริสุทธิ์ ดวยการปฏิบัติพิธีกรรมที่สําคัญที่สุดอยาง เชน พระราชพิธีกฐินหลวง และพระ
ราชพิธีในวัดที่สําคัญที่สุดที่ประดิษฐานพระแกวมรกตซึ่งเปนพระพุทธรูปบูชาที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดพรอมดวย
พระเถระที่เปนที่เคารพสูงสุดอยูเบื้องขางพระเจาอยูหัวที่ไมมีผูใดอาจเทียบพระบารมีได
ในระหวางนั้นทีมงานคณะที่ปรึกษาของพระเจาอยูหัวก็ทําหนาที่ปกปองพระองคไมใหถูกสาธารณะมองได
วา ทรงลดพระองคลงมาเลนการเมือง ตั้งแตจุดเริ่มแรกสุดของรัชกาลจนถึงทศวรรษ 2530 โดยการแทรก
แซงของพระเจาอยูหัวมักจะทรงกระทําเบื้องหลังมานหนาที่ปดคลุมดวยเหลาพระราชวงศ องคมนตรีและขา
รับใชในวังที่จงรักภักดีอยางที่สุด โดยใชวิธีปองปากกระซิบบอกถึงพระราชประสงคของพระองคเฉพาะกับ
ผูที่พวกเขาไวใจไดเทานั้น และเขียนพระราชโองการดวยสํานวนโวหารที่รุมรามราวกับวาเปนภาระยุงยากที่
พระเจาอยูหัวจําใจตองทําแทนที่มันเปนพระราชประสงคของพระองคเอง นโยบายที่ทรงชักใยอยูเบื้องหลัง
นี้ทําใหพระองคทรงมีจุดขายที่แตกตางไปจากนักการเมืองที่อยากมีอํานาจทางการเมืองที่มักจะพูดมากกวา
ทํา โดยไมสนใจเรื่องพิธีกรรมและการผูกโยงกับคนและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สูงสงดวยบุญบารมี เปนความแตก
ตางอยางสิ้นเชิงระหวางพระเจาอยูหัวผูศักดิ์สิทธิ์และสูงสงกับนักการเมืองผูต่ําชาเลวทราม พระเจาอยูหัว
ทรงผูกสัมพันธเฉพาะกับขาราชการและทหาร และทรงหลีกเลี่ยงไมใหถูกมองวาทรงเกลือกกลั้วกับนักการ
เมือง เวนเสียแตวาเขาเหลานั้นจะสวมเครื่องแบบนายพลอยางจอมพลสฤษดิ์และพลเอกเปรม
พระเจาอยูหัวทรงตั้งพระทัยที่จะสรางพระองคใหแตกตางจากนักการเมือง โดยถือเปนเรื่องของพระมหา
กรุณาธิคุณที่ไดทรงเสียสละเพื่อประเทศชาติและประชาชนตามหลักแหงทศพิธราชธรรม แตเวลาที่นักการ
เมืองหรือนักธุรกิจทําอยางเดียวกันจะถูกมองวา เปนแคการสรางภาพเพื่อผลประโยชน ในชวงทศวรรษ 2530
วังเริ่มไดรับเงินบริจาคกอนใหญโดยตรงจากวัดที่ร่ํารวยหลายแหงเพื่อถวายโดยเสด็จพระราชกุศล กลายเปน
วงจรของการทําบุญแบบใหมจากประชาชนทําบุญผานวัดนําไปถวายตอใหวัง และไมใชจากเดิมที่วังไป
ทําบุญถวายแกวัด กลายเปนวา พระเจาอยูหัวทรงมีสถานะที่สูงกวาพระและสูงกวาวัด เพราะแมแตพระยัง
ตองรวบรวมเงินไปถวายแดพระองค เปนการสําแดงความสูงสงเปนเลิศเหนือบรรดาคูแขงที่เปนมนุษยรวม
ทั้งเรื่องระบอบประชาธิปไตย ตองถือวามีความสําคัญรองลงมาจากพระเจาอยูหัวดวยเชนเดียวกัน
เมื่อแรกเริ่มนั้นประชาชนทั่วไปเขาใจวา ประชาธิปไตยหมายถึงการมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งที่ทําหนาที่
ตามความตองการของประชาชนที่เสรี โดยมิไดมีการเอยถึงสถาบันพระมหากษัตริย ในป พ.ศ. 2520 รัฐบาล
ใชคําวา “ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริยเปนประมุข” แตพระเจาอยูหัวมีพระราชประสงคที่จะแสดงให
เห็นวาสถาบันพระมหากษัตริยตั้งแตในอดีตนั้นเปนประชาธิปไตยโดยเนื้อหา มิหนําซ้ํายังยิ่งใหญกวาและ
กวางขวางกวาประชาธิปไตยที่นําเขาจากตะวันตกที่คับแคบจึงไดมีการอางหลักศิลาจารึกสมัยพอขุนรามคํา
แหงวาเปนแถลงการณประชาธิปไตย (Democratic Manifesto) ทรงตองย้ําแลวย้ําอีกวา พระมหากษัตริยแหง
ราชวงศจักรีทุกพระองคทรงเปนพระมหากษัตริยของประชาชน และตองทําใหประชาชนเชื่อใหจงไดวา รัช
กาลที่ 7 ทรงเปนผูใหกําเนิดประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญดวยพระองคเองในป พ.ศ. 2475 ในป พ.ศ. 2535
พระเจาอยูหัวไดรับสั่งแกนักเขียนฝรั่ง 2 คนวา รัชกาลที่ 4 ทรงเปนพระมหากษัตริยที่ทรงแนะนําความคิด
ประชาธิปไตยมาสูสยามใหคนไทยไดรูจัก และหลังจากนั้นรัชกาลที่ 7 ทรงสานตอพระราชภารกิจจนสําเร็จ
ดวยการพระราชทานประชาธิปไตยเต็มรูปแบบแกราษฎรตามพระราชประสงคของพระองคเอง
คําแอบอางและการอธิบายดังกลาวนี้ไดรับการเผยแพรโฆษณากรอกหูกรอกตาตามงานเขียนทางวิชาการ
ตํ า ราเรี ย นและละครโทรทั ศ น จ นเป น ความเชื่ อ ความเข า ใจของคนไทยทั่ ว ไปว า พระเจ า อยู หั ว ผู ท รง
ทศพิธราชธรรมที่ทรงอุทิศพระองคดวยความเสียสละคือ เนื้อแทของประชาธิปไตยที่บริสุทธิ์ที่ไดทรงรับใช
พสกนิกรอาณาประชาราษฎรของพระองคโดยไมใชเพียงเพื่อพระองคเองหรือเพื่อหวังคะแนนเสียงจากเขต
เลือกตั้ง เนื่องจากวาพระองคทรงเปนพระมหากษัตริยจึงมีขอมูล หรือพระปรีชาสามารถที่สืบมาจากบุรพ
มหากษัตริยที่ทรงทราบวาประชาชนตองการอะไร กลาวโดยสรุปก็คือ สถาบันพระมหากษัตริยที่เปนองค
ประกอบสําคัญของระบบขุนศึกศักดินาโบราณไดถูกสถาปนาใหเปนองคประกอบสําคัญของประชาธิปไตย
สมัยใหม ในทางตรงขามสมาชิกสภาผูแทนราษฎรกลับไมมีความสําคัญในโครงสรางระบอบประชาธิปไตย
ในปลายทศวรรษ 2500 พระเจาอยูหัวทรงดูถูกดูแคลนนักการเมืองอยางเปดเผยวา เปนแคพวกที่รับใชแตตน
เองกับกลุมผลประโยชนแคบๆและทรงอวดผลงานจากโครงการพระราชดําริของพระองควาดีกวา
การสรางภาพวาสถาบันกษัตริยเปนประชาธิปไตยมาแตเดิมเปนเรื่องยาก เพราะคนไทยเขาใจวาประชาธิป
ไตยเกี่ยวของกับการเลือกตั้งตัวแทนของประชาชนอันเปนคุณสมบัติที่กษัตริยไมมี ดังนั้นวังจึงตองยืนยันวา
กษัตริยราชวงศจักรีทุกพระองคเปนกษัตริยที่ประชาชนนิยมและจะไมนั่งอยูบนบัลลังก หากไมไดรับการ
สนับสนุนจากประชาชนหรือไมไดปกครองดวยความเที่ยงธรรม ในหลวงภูมิพลจึงมักจะอางวา ทรงไดรับ
การเลือกตั้งมานั้นเอง อยางที่ไดพระราชทานสัมภาษณวา “เราเปนกษัตริยที่ไดรับการเลือกตั้งมา หากประชา
ชนไมตองการ พวกเขาสามารถไลเราออกได”
แตพระเจาอยูหัวทรงไมเคยเชื่อมั่นการเลือกตั้งและทรงไมเห็นสาระประโยชนจริงๆ สําหรับการเลือกตั้งผู
แทนมาเปนผูนํา และพระองคทรงไมเคยสนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ทรงพระเกษมสําราญโดยไม
ตองมีการเลือกตั้งในชวงจอมพล สฤษดิ์ และจอมพล ถนอม ทรงสนับสนุนใหมีวุฒิสภาแตงตั้งและพระองค
มักจะทรงเปนคนแตงตั้งเองเพื่อครอบงําสภาผูแทนราษฎร ทรงสนับสนุนนายกรัฐมนตรีอยาง พล.อ. เปรมที่
คุมทั้งสองสภา ทาทีของในหลวงมีอิทธิพลใหสาธารณชนไทยเกิดอคติตอการเลือกตั้งเวลารัฐบาลที่มาจาก
การเลือกตั้งประสบความลมเหลวจากการบอนทําลายของพระองคเอง
พระองคทรงผนวกเอาประชาธิปไตยเขาไวในความเปนธรรมราชาของพระองคซึ่งเปนเรื่องตัวบุคคลมากไป
เปนการสรางแนวคิดทําใหพลเมืองยึดถือตัวบุคคลคือ ยึดพระเจาอยูหัวภูมิพลเปนศูนยกลาง ในฐานะที่มีบุญ
บารมีที่กาวหนามากที่สุดในราชอาณาจักร ทรงเนนย้ําความสามัคคีใหเปนทั้งหนาที่พลเมืองและคุณธรรม
ทรงสอนวา ประชาธิปไตยเปนระบบที่ออกแบบมาเพื่อประโยชนของทั้งชุมชนจึงตองไมแกงแยงแขงขันเพื่อ
ผลประโยชนของตัวเอง แตทุกคนตองทํางานรวมกันดวยเปาหมายเดียวกัน ดังนั้นความสามัคคีที่ไมใชการ
แขงขันกันของพรรคการเมืองจึงเปนหนทางสูประชาธิปไตยที่แทจริง สวนในเรื่องของธรรมะพระองคทรง
ตีความวา ชะตาของคนไทยลวนผูกอยูกับชุมชน และการกระทําของบุคคลจะตองถูกพิจารณาในแงผลที่มีตอ
คนอื่นๆ ชะตากรรมของประชาชนนั้นผูกกับรัฐ และชะตากรรมของรัฐผูกอยูกับสถาบันกษัตริย
แตความสามัคคีและความจงรักภักดียังไมพอเพียงสําหรับการแกปญหาทั้งหมด ทรงสรุปวาความเฉื่อยเนือย
หรือความขี้เกียจของชาวบานทําใหประเทศชาติไมพัฒนา โดยไมทรงโยงเรื่องนี้เขากับการขาดโอกาส การ
ศึกษาหรือขอมูลขาวสาร ไมวาจะอยางไรชาวบานไมไดทํางานหนักพอสําหรับประเทศชาติ ดังนั้นในหลวง
ภูมิพลจึงเติมความอุตสาหะเขาไปในรายการคุณธรรมประจําใจ โดยเนนงานสวนรวมมากกวางานสวนตน
ทรงตําหนิคนที่ไมทํางานหนักวา ขัดขวางการพัฒนาของตนเองและทํารายประเทศชาติ “เด็กๆจะตองรูวา
ความสุขและและความงดงามในชีวิตไมไดเกิดขึ้นมาเอง หากมาจากการทํางานที่ดีและความประพฤติที่ดี
อยางตอเนื่อง คนที่ทําตัวไมดีไมยอมทํางานอยางอุตสาหะจะไมมีวันมีความสุข”
ในอีกดานหนึ่งทรงตีตราความอยากความปรารถนาอันเปนลักษณะของทุนนิยมวา เปนอุปสรรคตอความ
สามัคคีและความกาวหนา นายทุนนั้นเห็นแกตัว แบงเขาแบงเราและเอาเปรียบ มีพระราชดํารัสในป พ.ศ.
2523 วา “คนที่หวังแตประโยชนสวนตัวจะไมไดรับการสรรเสริญ เราตองพยายามรวมมือในการทํางานเพื่อ
ใหประโยชนที่ทุกคนตองการจะกลายเปนประโยชนตอประเทศชาติ” หลังวิกฤตเศรษฐกิจชวงป พ.ศ. 2540
ทรงสรุปวา การเนนกิเลสแบบทุนนิยมนั้นเปนความผิดพลาดหลักในระบบของไทย ทรงเสนอทฤษฎีใหมคือ
เศรษฐกิจพอเพียงของพระองคขึ้นแทนซึ่งจะจัดการระงับความอยากและความโลภ ตรัสวา “ความพอเพียง
คือ ความพอประมาณ หากเราพอประมาณ เราจะมีความอยากนอยลง หากเราอยากนอยลงจะเอาเปรียบคน
อื่นนอยลง หากทุกๆชาติยึดความคิดนี้ โดยไมสุดโตงหรือไมรูจักพอในความปรารถนา โลกก็จะความสุข
กวานี้”
อุปสรรคสําคัญที่สุดสําหรับการรุดหนาไปในแนวทางประชาธิปไตยของธรรมราชาหรือธรรมาธิปไตยคือ
รัฐธรรมนูญและหลักกฎหมายหรือหลักนิติธรรม (Rule of Law) คนทั่วไปเขาใจวา รัฐธรรมนูญเปนสิ่งสํา
คัญของประชาธิปไตย หลักการนี้ไดรับการหนุนเสริมโดยนิทานของวังเองที่สดุดีรัชกาลที่ 7 วา ทรงเปนผู
ประทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกใหแกปวงชนชาวไทย ทําใหราชอาณาจักรเปนประชาธิปไตย แตวังก็ไม
สามารถเปนเจาของหรือกุมรัฐธรรมนูญได เมื่อจอมพล ป. เพิ่มรัฐธรรมนูญเขาไปในสถาบันของประเทศ
“ชาติ - ศาสน - กษัตริย - รัฐธรรมนูญ” โดยจอมพล ป. เนนที่รัฐธรรมนูญในฐานะคูแขงเชิงสถาบันตออํานาจ
กษัตริย คนไทยทุกคนสามารถอางสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญได และวังไมสามารถโตแยง
ในชวงป พ.ศ. 2488 - 2500 พวกนิยมเจาพยายามใชรัฐธรรมนูญใหเปนประโยชนกับวัง แตหลังจากนั้นพระ
เจาอยูหัวภูมิพลทรงเอาแตจะบอนทําลายรัฐธรรมนูญ ทรงรูสึกวาเสรีภาพทางโลกียเปนสาเหตุของการแตก
ความสามัคคีและความระส่ําระสายของคนในชาติ เปนชองทางใหพวกคอมมิวนิสตเขามายึดอํานาจ เพื่อจะ
ชั ก นํ า ประชาชนไปในทางของพระองค ท รงนํ า คติ พุ ท ธว า ดว ยอนิจ จัง หรื อ ความไม จีรั ง เขา มาในเรื่ อ ง
รัฐธรรมนูญ ตรัสวา การประกาศใช การแกไข และการฉีกรัฐธรรมนูญซ้ําแลวซ้ําเลาจนเปนสถิติประจํารัช
กาลของเขานั้นเปนขอพิสูจนวา รัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลงงายเกินไปที่จะเปนเสาหลักของชาติได การที่ไทย
อยูรอดมาไดผานรัฐธรรมนูญหลายฉบับแสดงใหเห็นวา รัฐธรรมนูญไมจําเปน มีแตธรรมะเทานั้นอันเปนกฎ
หมายอันสมบูรณที่เปนฐานธรรมปฏิบัติของพระเจาอยูหัวที่แนนอนและถาวร และเปนพื้นฐานสําคัญของ
ชาติไทย “เมื่อรัฐธรรมนูญถูกฉีกไป หรือรัฐสภายุบไป อํานาจของประชาชนกลับมาทีเรา รวมถึงกฎหมาย
แพงและอาญาทั้งหมดดวย กฎหมายถูกใชอยางไมเปนธรรมอยางไรเพื่อประโยชนของคนจํานวนนอยที่มี
อํานาจและรังแกคนออนแอ ขณะที่การกระทําของพระเจาอยูหัวทั้งเที่ยงตรงและเปนธรรม การใชกฎหมาย
อยางเด็ดขาดตองมีแรงจูงใจหรือความตั้งใจที่ดี และคํานึงถึงผลของการกระทํา แมบางอยางละเมิดกฎหมาย
แตจริงๆแลวเปนประโยชนแกชุมชนโดยรวม ดังนั้นกฎหมายทางโลกยและรัฐธรรมนูญจึงเปนเครื่องมือที่ไร
มโนธรรมที่สามารถทําลายความสามัคคีและทําใหผูคนทําลายกันได
พระองคทรงใหคําแนะนํากับสภารางรัฐธรรมนูญในป พ.ศ. 2540 เพื่อใหรัฐธรรมนูญใหมสั้นและเรียบงาย
ที่สุด อยางที่บริวารของวัง ม.ร.ว. ทองนอย ทองใหญ เขียนในทศวรรษ 2523 วา รัฐธรรมนูญเดียวที่จําเปนคือ
ฉบับที่เชิดชูความปรองดองภายใตรมเศวตฉัตรของพระเจาอยูหัวภูมิพล
ความสําเร็จของพระเจาอยูหัวในการทําใหสถาบันกษัตริยเปนศูนยกลางรัฐมีรากเหงาสวนใหญมาจากพุทธ
ศาสนาเถรวาทแบบไทยและความสามารถอันเยี่ยมยอดของวังในการใชประโยชนและดัดแปลงความเชือ่ ทาง
พุทธศาสนา ทําใหแนวทางของพระองคมีอํานาจนําเหนือประชาชนอยูเสมอ เนื่องจากประชาชนเชื่อวาพระ
องคทรงปฏิบัติธรรมชั้นสูงเหมือนรัชกาลที่ 4 ทรงหลอมรวมทั้งภูมิปญญาของธรรมราชาตามขนบและความ
รูสมัยใหมเขาดวยกัน ที่หาญกลายิ่งกวานั้นคือ อุดมการณของรัฐและสังคมที่ปกครองแบบพุทธสมัยใหมที่
ถือความศักดิ์สิทธิ์ของกษัตริยและกํากับพฤติกรรมของประชาชนดวยหลักธรรมที่ทรงเผยแผคือ อาณาจักร
สุโขทัยที่อยูในอุดมคติแบบไตรภูมิพระรวงที่มีผูนําที่ศักดิ์สิทธิ์ปกครองตามหลักศาสนา และปฏิบัติธรรมใน
ระดับสูงสุด ทรงควบตําแหนงผูนําทั้งทางการเมืองและทางจิตวิญญาณ และปกครองตามการตีความหลัก
ธรรมของพระองคเอง การหยั่งรูวาอะไรเปนสิ่งที่ดีที่สุดสําหรับประชาชนไมไดเกิดจากประสบการณการบริ
หารงานสมัยใหม แตเกิดจากการถือปฏิบัติทศพิธราชธรรมของพระองค
หัวใจสําคัญในการสรางฐานระบบการเมืองที่อิงศาสนาคือ การบรรจงสรางภาพแหงกษัตริยจักรีโดยเฉพาะ
พระเจาอยูหัวภูมิพลใหเปนทั้งธรรมราชาและเทวราชาไปพรอมกัน ประทับอยูตรงจุดที่สวรรคบรรจบกับพื้น
โลก การสรางภาพอยางนี้ดําเนินมาโดยไมเคยหยุดหยอนตลอดรัชกาลที่ 9 แมวาโดยทางการแลวในหลวงจะ
เปนกษัตริยสมัยใหมที่มีอํานาจจํากัด แตหนังสือหนังหาตําราเรียนนับไมถว น พิธีกรรมทั้งของวังและวัด การ
ยกยองจากผูคนตางๆ โดยเฉพาะพระชั้นผูใหญ วาดภาพใหพระเจาอยูหัวภูมิพลทรงอยูในฐานะผูนําสุดขลังที่
มีอํานาจพิเศษตามพันธุกรรมและวิสัยทัศนที่ไปพนโลกีย แถมดวยการสรางภาพดวยพระองคเองที่แสดงการ
หลุดพนไปจากโลกียนี้ เชน อัศจรรยเรื่องตัวเลข การปฏิบัติพิธีกรรมพราหมณ - ฮินดูสุดขลังดั้งเดิม การมอง
ขามคนและกลไกของรัฐบาลสมัยใหมและการสนพระทัยแตพระและชาวพุทธในการโฆษณาวิสัยทัศนของ
พระองคเอง
การสรางภาพดังกลาวไมไดโจงแจงเห็นชัดเจนจับตองไดเสมอไป ในวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมไทย
กษัตริยไมสามารถที่จะระบุอยางตรงๆวาเปนเทพ หรือกระทั่งวาบรรลุนิพพานเปนพระอรหันตแลว คนไทย
พูดถึงกษัตริยวา เปนสมมติเทพซึ่งมีความคลุมเครืออยางจงใจวา พระองคทรงอยูในระดับเดียวกับพระ
อรหันตหรือพระโพธิสัตวซึ่งเปนตําแหนงวาที่พระพุทธเจา
ประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 9 เต็มไปดวยสัญลักษณบงชี้ความเปนสมมุติเทพหรือเทพเจาของในหลวงภูมิ
พล พระระดับสูงสุดตองกมกรานตอพระเจาอยูหัว ในหลวงทรงปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนาที่สําคัญที่สุดอยู
พระองคเดียว ทรงสามารถเสกฝนและแกปญหาที่ไมอาจแกได เชน ปญหาความยากจน ทรงสามารถสยบคน
ที่ชั่วรายไรเหตุผลที่แมจะทรงอํานาจ แตก็ตองสยบอยูแทบพระเทาของพระองค ทรงมีทรัพยศฤงคารและ
ความงามสงาอันไรคูเปรียบ ประชาชนจากทั่วทุกสารทิศลวนตองการพึ่งโพธิสมภารของพระองค อยางที่
เห็นในโทรทัศนเกือบทุกวัน และชาวพุทธตางชาติก็ยอมรับความเปนธรรมราชาของพระองค เมื่อพิธีกฐิน
หลวงขยายกิจการไปถึงจีน กัมพูชา ลาว พมา และศรีลังกา
ปรากฏการณที่แสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของความเปนธรรมราชา - เทวราชาของในหลวงภูมิพลมีหลากหลาย
ทั้งโขลงชางเผือกกับฝูงรถยนตโรลสรอยซสีทองของพระองค ตลอดจนพระเครื่องของพระองคที่ปกปก
ทหารหาญในสมรภูมิ ความบังเอิญของวาระครบ 10,000 วันของการครองราชยในป 2520 ที่ตรงกับพระราช
สมภพของรัชกาลที่ 5 และ 8 ที่พระญาณสังวรสรรเสริญการยึดมั่นในทศพิธราชธรรมของพระองค การอุป
สมบทหมูของคนนับพันคนเนื่องในวาระสําคัญๆของพระองค การปลุกเสกพระราชชนนีใหกลายเปนนัก
บุญหรือแมฟาหลวง และการออกหวย 999 ถึง 2 ครั้งในชวงวันเฉลิมพระชนมพรรษาในป พ.ศ. 2542 ที่เสริม
สงเรื่องประดานี้ทั้งหมดคือ เหตุการณสําคัญและอัศจรรยทั้งหลายที่เกิดขึ้นซ้ําแลวซ้ําอีกไมรูจักหยุดหยอน
ตลอดชวงรัชกาลที่ละมายกับพระพุทธเจา ตลอดจนความร่ํารวยของวงวัฏอัศจรรยแหงการทําบุญรวมเสด็จ
พระราชกุศล
พระเจาอยูหัวทรงสรางภาพสมมติเทพนี้โดยตรงในพระราชดํารัสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ทรงสําแดงญาณ
ทัศนะแบบพระพุทธเจาถึงอุบัติการณเหนือธรรมชาติและปาฏิหาริยในรัชสมัยของพระองค สําแดงบุญญาธิ
การและปรีชาญาณอันไมอาจหยั่งถึงของผูเปนสมมติเทพ
ในการบรรยายเรื่องความเปนกษัตริยแกผูฟงที่สวนผูใหญเปนชาวตางชาติที่สยามสมาคมในป พ.ศ. 2542 บริ
วารใกลชิดพระองคคือ ทานผูหญิง บุตรี วีระไวทยะ อธิบายวาในหลวงภูมิพลเปนสมมติเทพ ตองคอยจัดการ
ใหพระเจาอยูหัวภูมิพลเสด็จพระราชดําเนินอยูบนพรมเพื่อพระบาทจะไดไมสัมผัสดิน เหมือนพระศิวะ และ
เวลาเสด็จจะมีสัญลักษณครุฑปรากฏอยูหนารถหรือเฮลิค็อปเตอรพระที่นั่งเสมอ
ทานผูหญิง บุตรี เลาเรื่องดวยทาทีเครงขรึมอยางที่สุดถึงพระเจาอยูหัวภูมิพลในฐานะพระพรหมที่ขี่หงส
เวลาเสด็จประทับขบวนเรือแหกฐินประจําปไปยังวัดอรุณตองประทับเรือสุพรรณหงส ในพิธีป พ.ศ. 2539
เสด็จกลับโดยเรือครุฑที่กองทัพเรือตอถวายใหมเปนการเฉพาะ ผลจากการไมยึดในวิถีปฏิบัติแหงพรหมนี้
ทานผูหญิง บุตรี บอกวาคือ พายุฝนฟาคะนองที่ทําใหขบวนเรือตองเปยกโชก แตพอหรือพระที่นั่งถึงวัดอรุณ
ฝนก็พลันหยุด เนื่องจากวาพระเจาอยูหัวภูมิพลคือ พระศิวะ ดังนั้นฝนจึงไมอาจกล้ํากรายได “เราจึงมักจะพูด
วามีอะไรบางอยางขางบนนั้น แมวาเขาจะเปนเทพในจินตนาการก็ตาม” มันคงงายที่จะอางวา เปนเรื่อง
ขนบธรรมเนียมประเพณี หรือการพูดกันเลนๆไมจริงจังหรือแคคุยกันในบรรดาสาวกผูคลั่งไคลทั้งหลาย แต
พอมาดูหนังสือที่ทรงนิพนธและพิมพในทศวรรษ 2533 2 เลมแรกคือ นายอิน กับ ติโต ตางเปนเรื่องราวของ
ผูนําที่ปรีชาสามารถและอุทิศตน และเลมที่ 3 คือ มหาชนก ซึ่งชัดเจนวาพระเจาอยูหัวภูมิพลคือ มหาชนก ที่
เปนเหมือนสะพานเชื่อมระหวางโลกและทวยเทพคือ ในหลวงภูมิพลเปนสมมติเทพ
มีหนังสือเลมที่ 4 พระอัตชีวประวัติภาษาอังกฤษของในหลวงภูมิพล The Revolutionary King ที่อํานวยการ
เขียนโดยในหลวงภูมิพลเองและพิมพที่ลอนดอนในป พ.ศ. 2542 10 ปกอนหนานั้น ในหลวงภูมิพลทรงเชิญ
วิลเลียม สตีเวนสัน ผูเขียนเรื่องนายอินทรใหมาเขียนหนังสือ สตีเวนสันพักอยูในวังสระปทุมของพระราช
ชนนีศรีสังวาลย และไดรับการสนับสนุนการคนควาและไดรับโอกาสพระราชทานสัมภาษณในวังอยางที่ไม
เคยปรากฏมากอน
ผลลัพธคือ หนังสือที่นําเสนอพระเจาอยูหัวเปนเทพที่วิเศษอัศจรรยและลวงละเมิดมิไดอยางแทจริง The
Revolutionary King โดยบอกเลาเรื่องราวของกษัตริยที่ปรีชาสามารถ แตคนมักไมคอยรูคุณผูที่กอบกูประ
เทศของพระองคดวยตัวของพระองคคนเดียวหลังจากสงครามและนําพาประเทศชาติฟนฝาพลังอันชั่วรายอีก
มากมายดวยทักษะอันมีมาแตกําเนิด ทรงพยายามนําประชาชนของพระองคใหหลีกหนีจากความโลภและ
ความทะยานอยากไปสูคุณความดีแบบพุทธที่จะพาราชอาณาจักรไปสูความรมเย็นเปนสุข ชาวบานในชนบท
เขาใจถึงความพยายามของกษัตริย แตนักการเมือง พอคาวาณิชยชาวจีน ขาราชการไรหัวคิด และนายพลที่มัก
ใหญใฝสูงและขาในวังกลับไมเขาใจ The Revolutionary King แทบไมมีอะไรแตกตางไปจากงานอาเศียร
วาทสดุดีชีวประวัติภาษาไทยจํานวนมากที่เกี่ยวกับราชสกุลมหิดลและรัชกาลที่ 9 เลยแมแตนอย มันจัดเรียง
เกร็ดเรื่องราวประวัติศาสตรและถอยคําจากพระโอษฐในหลวงภูมิพล พระราชวงศและบริวาร เต็มไปดวย
เรื่องราวปานเทพนิยายมาตรฐานในรัชกาลที่ 9 สอดรับกับทัศนะของวังและพระราชวงศที่นําเสนออยูตามสื่อ
ตางๆ ทั้งหนังสือ เอกสาร รายการโทรทัศน และการโฆษณาชวนเชื่อ
หนังสือ The Revolutionary King หรือ กษัตริยนักปฏิวัติ ของสตีเวนสันก็เชนเดียวกับหนังสือเกี่ยวกับพระ
เจาอยูหัวเลมอื่นๆที่ลวนสอดแทรกไปดวยความลี้ลับและปาฏิหาริย เริ่มดวยเรื่องราวของเด็กหญิงกําพรา สัง
วาล ที่ฟนฝาอุปสรรคกลายเปนแมของกษัตริย 2 พระองค ตอนเปนเด็กเจาฟาภูมิพลแสดงความสนใจเกิน
ธรรมชาติในเรื่องไฮดรอลิก ปาไม และวิศวกรรม และสามารถแปลบทกวีภาษายุโรป 5 ภาษา ความตายอัน
เปนปริศนาของพระเชษฐาอานันทมหิดลและการขึ้นนั่งบัลลังกของพระเจาอยูหัวภูมิพลเปนโองการสวรรค
มีลางบอกเหตุเกิดขึ้นกอนในวัง ในหลวงภูมิพลที่กลัววา วิญญาณของในหลวงอานันทจะลองลอยรอนเรไป
ตลอดกาลจึงผนึกเปนหนึ่งเดียวกับวิญญาณของพระเชษฐาเพื่อสานฝนของในหลวงอานันทใหเปนจริง นั่น
คือ “พุทธประชาธิปไตย (Buddhlst Democracy)” ในหลวงภูมิพลทรงเลาในหนังสือถึงการพบวิญญาณของ
ในหลวงอานันทในวังหลายสัปดาหหลังการสวรรคต “ไดยินเสียงฝเทาตามหลัง หลังเดินจากโกศมา ในงาน
พิธีตางๆ เราเคยมักจะตองเดินตามหลังพี่ชายอยูเสมอ ในชั่วขณะนั้นเราลืมไปวาเขาตายไปแลว บอกเขาวา
“เราตางหากที่ตองเดินตามพี่ อยางนั้นจึงเหมาะสม” พี่ชายตอบวา “ตั้งแตบัดนี้ พี่เดินตามหลังเล็ก”
หลังจากเสด็จครองราชยในชวงทศวรรษ 2493 พระเจาอยูหัวภูมิพลทรงพุงทะยานสูระดับสูงทางจิตวิญญาณ
อยางรวดเร็ว ดวยการทรงคนพบโลกอภิปรัชญาแหงสยาม ทรงมีพระปรีชาญาณที่ชัดแจงอันไมปกติธรรมดา
อ. ธงทอง จันทรางศุ คนของวังบอกกับสตีเวนสันวา ในหลวงภูมิพลเปนที่ยอมรับกันแลววา “เปนภาคหนึ่ง
ชวงตนๆของพระพุทธเจา ตอสูกับอสูรและตานทานการยั่วยวน” เมื่อถึงทศวรรษ 2503 ปรีชาญาณของใน
หลวงภูมิพลแผขยายครอบคลุมทั้งโลกุตระและโลกียะ ตอนนี้ทรงสําแดงภูมิธรรมอันลึกซึ้งชนิดที่เพื่อนรวม
อาชีพเดียวกันในยุโรปไมสามารถเขาใจได ทรงสอนการนั่งสมาธิแก วสิษฐ เดชกุญชร ลูกนองที่ลึกซึ้งในรส
พระธรรมอยูแลว และแกไขความบกพรองของการออกแบบของปนไรเฟลเอ็ม - 16 อยางนาฉงน ทรงมีประ
สบการณเหนือโลกอีกมาก ทรงสัมผัสถึงวิญญาณของพระเชษฐาตลอดเวลา เมื่อ มจ. วิภาวดี รังสิต สิ้นชีพิ
ตักษัยในป พ.ศ. 2520 เนื่องจากเฮลิค็อปเตอรถูกทหารปลดแอกพรรคคอมมิวนิสตไทยยิงตก ในหลวงภูมิพล
ทรงอางวา วิญญาณของเธอมาปรากฏตอพระองคเพื่อเตือนถึงอันตราย
ตลอดเวลาหลายสิบปพระเจาอยูหัวภูมิพลทรงเชิดชูอุดมคติสังคมพุทธของพระองคอยางแข็งขันวา เหนือกวา
วัฒนธรรมตะวันตก ตองอาศัยการละวาง สมาธิ และวัตรปฏิบัติอันบริสุทธิ์ ทรงอธิบายวา “ศาสนาพุทธมี
ความซับซอนมาก มีหลายระดับ ระดับสูงสุดคือ การบรรลุความบริสุทธิ์สัมบูรณในตัวตนของเรา การบรรลุ
ความบริสุทธิ์นี้ เราตองทําทุกสิ่งที่ไมเปนการเห็นแกตัว ปลอยวางทุกสิ่งที่เรานึกวาเปนของเรา”
สตีเวนสันอางพระญาณสังวรพูดวา “พระเจาอยูหัวภูมิพลทรงเปนมหาบุรุษ ทรงมีพลังอํานาจ และญาณวิเศษ
ที่จะเห็นเราไมเพียงแตในภพนี้เทานั้น ยังในภพกอนๆอีกดวย ทรงเปนพระโพธิสัตวแหงความเมตตาที่มีสาย
พระเนตรจับจองทะลุทะลวงไปถึงตัวตนชั่วกัลปของเรา” สตีเวนยังไดรับการบอกเลาวา ในหลวงภูมิพลทรง
ทํานายวาจะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 ลวงหนาเปนเวลาหลายเดือน และเมื่อประชาชนละเลยคํา
เตือนของพระองค พระองคจึงตัดสินพระทัยลดคาเงินบาทเองในที่สุด หลังจากนั้นทรงปลอบโยนประชาชน
ดวยการใหคําแนะนําถึงวิธีการตั้งตนใหมดวยการเสนอทฤษฎีใหมที่หนังสือบรรยายวา เปนแนวคิดทาง
เศรษฐกิจและการเมืองที่สรางสรรคแปลกใหมไฉไลที่สุดนับแตสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ในหลวงภูมิ
พลเปนมหาชนกในมหาสมุทรที่ทรงวายน้ําตะเกียกตะกายเพื่อความอยูรอด ความฝนถึงสังคมที่ปกครองดวย
หลักพุทธอยูแคเอื้อม แตก็เอื้อมไมถึงสักที เขาพากเพียรเหมือนมหาชนก โดยรูสึกวา “เราไมอาจตายได”
พอหนังสือของสตีเวนสันพิมพออกมาออกมา มันกลับกลายเปนความนาอับอาย สตีเวนสันเขียนตามใจตน
เองและขอเท็จจริงคลาดเคลื่อนมากจนทําใหวังขายหนา ความคลาดเคลื่อนมีอยูเพียบ หนังสือเปดเลมดวย
แผนที่ที่แสดงประเทศไทยกินแดนลึกเขาไปในลาวกับพมา แถมวังไกลกังวลอยูหางจากสถานที่จริงขามอาว
ไทยไป 300 กิโลเมตร ปดเลมดวยแผนภูมิวงศาคณาญาติที่ระบุวารัชกาลที่ 7 เปนพระโอรสของรัชกาลที่ 6
ซึ่งที่จริงเปนพระอนุชา ตรงระหวางกลางนั้น สตีเวนสันสรางความดาลเดือดแกวังดวยขอความพาดพิงถึง
พระราชินีสิริกิติ์วา ทรงคิดวาเปนสุริโยทัยกลับชาติมาเกิด ฟาชายวชิราลงกรณทรงขัดเคืองกับฟาหญิงสิริน
ธรเรื่องการสืบราชบัลลังก และที่สําคัญที่สุดคือ ผูเขียนใชคําเรียกที่รับไมไดโดยเรียกพระเจาอยูหัวภูมิพล
ดวยชื่อเลนในวัยเด็กคือ เล็ก เรียกพระเชษฐาวา นันท และเรียกพระราชชนนีศรีสังวาลยวา แม เพราะตามราช
ประเพณีแลวจะตองใชคําเรียกขานพระราชวงศเต็มรูป เชน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเทานั้น หามเรียก
ชื่อเลน ทําใหวังตองสั่งหามขายหนังสือเลมนี้ในประเทศไทยและหามสื่อเขียนถึง โดยไมไดอางขอหาหมิ่น
พระบรมเดชานุภาพ เพราะพระเจาอยูหัวภูมิพลเปนผูสนับสนุนนายสตีเวนสันตั้งแตเริ่มแรกซึ่งกลับกระตุน
คนไทยที่คลองภาษาอังกฤษไปเสาะหาหนังสือเลมนี้ในตางประเทศ ทําใหมีหนังสือนี้หลายพันเลมในเมือง
ไทย และปฏิกิริยาทั่วไปคือ การประนามความผิดพลาดของผูเขียน แตไมตั้งคําถามถึงสาระของเรื่องราวของ
ในหลวงภูมิพลที่เปยมบุญญาภินิหารที่หนังสือของสตีเวนสันตั้งใจนําเสนอ
การกลาวอางวาในหลวงภูมิพลเปนถึงเทพเจาทําใหคนไทยจํานวนมากคลอยตามถึงขั้นปฏิเสธรูปแบบสังคม
ทุนนิยมและรัฐธรรมนูญแบบตะวันตก และสงผลอยางลึกซึ้งใหเกิดความขัดแยงพื้นฐาน 2 ประการที่ยังคง
เปนสาเหตุของความตึงเครียดในสังคมไทย
อันแรกเกี่ยวกับระบบการบริหารประเทศ พระเจาอยูหัวภูมิพลทรงบัญชาการผานทางองคมนตรีและทหาร
โดยไม ทรงจั ดเตรีย มระบบการเมืองให เปนระบบเขาที่เ ขาทางในระยะยาว แตก ลับทรงกระตุ นใหเ กิด
อุปสรรคตอการปฏิรูปการเมือง บรรดานักปฏิรูปอึดอัดคับของ คนไทยยังคงฝากศรัทธาไวกับพระมหา
กษัตริยวัยชราและประชาชนโดยทั่วไปมีทัศนะวา นักการเมืองทั้งหมดเห็นแกตัวและโกงกิน มีแตพระเจาอยู
หัวภูมิพลเทานั้นที่ประชาชนหวังพึ่งได
ความขัดแยงหลักอีกอยางหนึ่งในรัชสมัยของในหลวงภูมิพลคือ การสนับสนุนระบบศีลธรรมที่กวางขวาง
ยืดหยุน และขึ้นกับพระองคเองเปนสําคัญ ทรงมีสวนชวยบอนทําลายหลักกฎหมาย อาชญากรรมรายแรง
ความชั่วรายและการทุจริตมีอยูทั่วทุกหัวระแหงเชนเดียวกับทัศนะไมถือกฎหมายจริงจังในหมูผูกระทําผิด
และผูบังคับใชกฎหมาย เกิดสํานึกรวมในการไมยึดมั่นกฎหมายถึงขนาดมีอุตสาหกรรมทางเพศโดยเปดเผย
เครือขายคายาเสพติด และซุมมือปนตางๆ กฎหมายสมัยใหมที่ออกแบบมาเพื่อปองปรามการกระทําเหลานี้
ไรประสิทธิภาพ เพราะทั้งกฎหมายทั้งผูนําวังและวัดตางก็ไมไดสรางการเชื่อมโยงระหวางกฎหมายสมัยใหม
และธรรมะเขาดวยกัน ดวยการไมใหราคาแกกฎหมายสมัยใหม พวกที่แอบอิงธรรมะจึงเทากับสงเสริมผูกระ
ทําผิดไมเกรงกลัวตอกฎหมาย โดยอางความสํานึกผิดชอบชั่วดีสวนตน การขาดการบังคับใชกฎหมาย และ
อาชญากรรมที่มีอยูดาดดื่นอันเปนผลตามมา เปนเรื่องที่คนไทยกังวลบอยครั้ง คนที่ไมมีอํานาจจะหันไปหา
ระบบศีลธรรมของภูมิพลที่วาดวยชะตากรรมและกฎแหงกรรม
บางครั้งในหลวงภูมิพลทรงหงุดหงิดเดือดดาลกับอาชญากรรม แตขณะที่ทรงประณามอาชญากรรม และ
โดยเฉพาะการคอรัปชั่น พระองคแทบไมปกปองหรือเชิดชูตัวบทกฎหมายเลย กลับทรงตําหนิความไมเปน
ธรรมและการเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา เมื่อทรงเริ่มเห็นชอบการประหารชีวิตหลังจากวางเวนไปนานหลายป การ
ประหารดําเนินไปและถูกรายงานไป ยิ่งกวานั้นในหลวงภูมิพลยังดูทาเห็นดวยกับสงครามยาเสพติดของ
รัฐบาลทักษิณที่ใชความเด็ดขาดในตนป พ.ศ. 2546 แทนที่จะทรงชวยสรางความเขมแข็งใหกับกฎหมายดวย
พระบารมีตอสาธารณะ แตในหลวงภูมิพลกลับแทรกแซงอาชญากรรมอยางลับๆ ตัวอยาง ในป พ.ศ. 2542
ในหลวงภูมิพลทรงปฏิเสธการเลื่อนตําแหนงแกผูพิพากษาอาวุโส 3 คน หนังสือพิมพรายงานวา เปนปฏิกิริ
ยาของในหลวงภูมิพลตอกิตติศัพทในเรื่องทุจริตของผูพิพากษา 3 คนนี้ แตแปลกที่พระองคไมนําเรื่องเขาสู
กระบวนการทางกฎหมายหรือแสดงหลักฐานความผิดของคนทั้งสาม การทําอยางนี้เทากับเรียกรองใหยอม
รับในหลวงภูมิพลอยางมืดบอดในฐานะผูประทานความยุติธรรมสูงสุดซึ่งเปนเยี่ยงอยางที่ไมดี เพราะไมมี
ใครรูวา ความผิดของผูพิพากษาทั้งสามคนคืออะไร
ความขัดแยงระหวางวิถีทางของในหลวงภูมิพลกับรัฐธรรมนูญนิยมสมัยใหมสงผลอยางชัดเจนตอการ
บริหารประเทศของไทย มันเปนอุปสรรคในการแกปญหาวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 เมื่อบรรดาคนที่
พึ่งพิงวังหลีกเลี่ยงการสนับสนุนจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) ที่ตองการแนวทางที่เปนระบบ
และกฎหมายที่เครงครัดโปรงใสเพื่อจะแกปญหาดวยความยืดหยุนกวาและไดผลกวาการแกปญหาแบบ
ไทยๆ
แต จุ ด อ อ นที่ สุ ด ของในหลวงภู มิ พ ลคื อ จุ ด ตายที่ มี อ ยู ใ นสถาบั น กษั ต ริ ย ทุ ก ที่ คื อ พระองค ไ ม ส ามารถ
รับประกันไดวาราชบัลลังกจะถูกสงผานไปยังกษัตริยที่ปรีชาสามารถ อุทิศตน และมีมหากรุณาธิคุณเชน
เดียวกับพระองค จุดออนนี้กอตัวเปนเมฆหมอกครอบคลุมประเทศ เมื่อพระองคทรงโรยแรงลงไปทุกที แม
จะสันนิษฐานกันวา จะทรงมอบราชบัลลังกใหฟาชายวชิรลงกรณ แตไมมีหลักประกันใดๆ เพราะรัฐธรรม
นูญเปดทางใหกษัตริยเลือกเอง ดวยการอางวา สถาบันกษัตริยเปนประชาธิปไตย ในหลวงภูมิพลทรงเปดทาง
ใหคนคิดวา พวกเขามีสวนกําหนดการสืบตําแหนงนี้ได “ประชาชนจะเปนผูตัดสินใจ” เขาพูดในการพระ
ราชทานสัมภาษณป พ.ศ. 2535 “เราเองไมคิดวาเพศจะเปนเรื่องสําคัญนัก”
พระราชดํารัสที่คลุมเครืออยางตั้งใจนี้ทําใหคนไทยที่มีความหวังเชื่อวา ฟาหญิงสิรินธรซึ่งเปนมือวางอันดับ
2 อาจจะเปนกษัตริยจักรีองคตอไป ฟาหญิงสิรินธรทรงมีจุดแข็งอยูที่คนมองวา พระองคดี ทรงสรางคุณงาม
ความดี ทําการกุศล และใสใจในความเปนอยูของประชาชนอยางแทจริง ทรงถูกผูกกับเรื่องศิลปะ การศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรมไทย ขณะที่พระเชษฐาไมไดเปนเชนนั้น ฟาหญิงสิรินธรทรงไดรับมอบหมายใหดูแล
มูลนิธิการกุศลเงินพระราชภารกิจตางๆ ของในหลวงภูมิพล ทรงสะสมบุญจนเต็มโกดัง และนอกจากฐาน
เสียงอันกวางขวางแลว ทรงไดรับการสนับสนุนจากนักเรียนนายรอยและทหารจากนายรอยพระจุลจอมเกลา
(จปร). ที่ทรงสอนหนังสือ เชนเดียวกับในแวดวงราชการ
ถึงอยางนั้นก็ตามสัญญาณสวนใหญบงชี้วา ฟาชายวชิราลงกรณจะขี้นครองราชย ดวยวัยยาง 53 ในป พ.ศ.
2548 ทรงทําตัวดีพอสมควรในปที่ผานๆมา ดูรับผิดชอบมากขึ้น ดวยการยินยอมอยางเปดเผยจากพระชนก -
พระชนนีใหอภิเษกสมรสครั้งที่ 3 ในป พ.ศ. 2544 และดูจะลงหลักปกฐานในชีวิตสวนตัวกับพระชายาสามัญ
ชนแสนสวยคนใหมชื่อ ศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา ไดรับการเปดตัวตอสาธารณะและดูจะไดรับการยอมรับ ดู
ชํานาญงานสังคมมากกวา สุจาริณี และใกลชิดกับฟาชายวชิราลงกรณมาตั้งแตป พ.ศ. 2535 ตามรายงานใน
หนังสือพิมพ กระทั่งกอนที่ฟาชายจะแตงงานกับสุจาริณีเสียอีก
เมื่อในหลวงภูมิพลทรงปลีกวิเวกไปประทับอยูวังไกลกังวลหัวหิน พระภารกิจถูกแบงในหมูพระโอรส -
พระธิดา โดยฟาชายวชิราลงกรณไดทรงงานหลักๆเปนสวนใหญคือ เสด็จแทนในหลวง ในโทรทัศนจะเห็น
ฟาชายกมหนากมตาเพงดูแผนที่และตรวจตราเขื่อนตางๆ ขณะเดินเสด็จชนบท และยังเห็นฟาชายเสด็จตาม
พระชนนีซึ่งเปนกําลังเสริมที่ฟาหญิงที่สิรินธรดูจะขาดไป การเสด็จออกงานชุมนุมลูกเสือชาวบานเปนประ
จําโดยที่ฟาชายที่วชิราลงกรณมักแตงชุดทหารพรอมคาดปนที่เข็มขัด เปนการจัดวางตําแหนงที่สําคัญที่สัม
พันธโดยตรงกับการสืบทอดราชบัลลังก แตความสามารถในการนําของฟาชายวชิราลงกรณเปนเรื่องที่นา
วิตกมาก เพราะไมเคยฉายแววเลยไมวาจะเปนทั้งความเปนธรรมราชาหรือประมุขของรัฐสมัยใหม ในความ
เปนพุทธกษัตริยอํานาจเกิดมาจากการบรรลุในทางจิตวิญญาณของตัวกษัตริยเองซึ่งเปนคุณสมบัติเฉพาะตัว
และไมถาวร แมวาในหลวงภูมิพลจะทรงถายทอดพลังลมปราณของพระองคแกพระราชโอรสไดบาง ถึง
ที่สุดแลวฟาชายวชิราลงกรณจะตองสําแดงบุญบารมีของพระองคเองในกรอบทศพิธราชธรรม ในความเชื่อ
เรื่องเทวราชาของฮินดูถือวา ฟาชายวชิราลงกรณเปนผูสืบทอดคุณสมบัติเทพจากพระบิดา เมื่อหักกลบลบ
หนี้กับบัญชีบุญกรรมอันติดลบของพระองคอาจทํ าให ฟาชายมีบุญเหลื อเปน ทุนรอนในการขับเคลื่อน
ราชอาณาจักรคอนขางนอย ตองทรงประคับประคองพระองคใหดี ไมมีใครเชื่อวา ฟาชายไดทรงสํารวจ
คนหาปริศนาธรรมและจิตวิญญาณของพระองค แตถูกมองวายังทรงลุมหลงในโลกแหงเนื้อหนังมังสา เสาะ
แสวงหาสาวๆ และทรงมีอารมณเกรี้ยวกราดดุราย
ในแงของความเปนกษัตริยสมัยใหมฟาชายวชิราลงกรณยังขาดประสบการณและทักษะที่จําเปนในการรับ
ชวงตอจากในหลวงภูมิพลที่ทรงมีพระปรีชาสามารถอันสุดยอด แตฟาชายกลับทรงคลุกคลีอยูกับคนที่ทะเยอ
ทะยานและไมนาไวใจ ที่ชัดเจนที่สุดไปสนิทสนมกับคนที่วังไมไวใจมากที่สุดคือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ฟา
ชายอาศัยฐานสนับสนุนอันคับแคบของพระราชินี กรมกองบางสวนในกองทัพและลูกเสือชาวบาน ไมใช
ดวยพระบารมีทั่วทั้งประเทศ
ความไมพรอมนี้ไมใชความผิดของฟาชายวชิราลงกรณทั้งหมด เพราะฟาชายทรงอาศัยพระบารมีของพระ
บิดามาตลอด เหมือนฟาชายชารลสแหงอังกฤษที่ 50 ปผานไปยังคงไรความสามารถ เพราะใชเวลาชวงวัย
เยาวและสวนแรกของการเปนมนุษยไปกับการอยูเฉย และมันผิดวิสัยที่จะคาดหวังใหเขาทํางานหนัก สิ่งที่
เหมาะสมสําหรับกษัตริยในระบอบรัฐธรรมนูญมีอยางเดียวคือ เจาชายที่เริ่มปกครองตั้งแตยังหนุมที่ในวัย
เยาวอยูเหนือความเพลิดเพลิน ที่ในวัยเยาวเต็มใจทํางานอยางกระฉับกระเฉง ที่มีอัจฉริยะในดุลพินิจโดย
ธรรมชาติ กษัตริยเชนนี้เปนของขวัญที่ยิ่งใหญจากพระเจา แตก็หาไดยากยิ่ง
คนไทยเห็นขอออนตางๆเหลานี้ในตัวฟาชายวชิราลงกรณไมคอยมีใครติดรูปฟาชายวชิราลงกรณบนผนัง
บาน และนอยคนที่จะเสาะหาพระเครื่องของฟาชายหรือตองการบริจาคใหการกุศลของฟาชาย บางคนถึงกับ
ตีความการเสียชีวิตของพี่เลี้ยงทางจิตวิญญาณของฟาชายวชิราลงกรณในอุบัติเหตุทางรถยนตในป พ.ศ. 2542
วาเปนสัญญาณของเสนทางตันทางจิตวิญญาณของเขา
จุดออนของฟาชายวชิราลงกรณและความอ้ําอื้งของพระเจาอยูหัวภูมิพลทําใหมีความเปนไปไดวา การสืบ
ราชบัลลังกจะปนปวนวุนวาย หากในหลวงภูมิพลไมสละราชบัลลังกเพื่อควบคุมกระบวนการ การสืบทอด
จะตกไปอยูในมือขององคมนตรี โดยเฉพาะ พล.อ. เปรม ประธานองคมนตรีและองคมนตรีสวนใหญเปน
คนของ พล.อ. เปรม ในทางทฤษฎีองคมนตรีจะทําหนที่ปฏิบัติตามที่ในหลวงภูมิพลทรงมีกระแสรับสั่ง หรือ
หากไมมีกระแสรับสั่งตองยึดตามรัฐธรรมนูญกับกฎมณเฑียรบาล พ.ศ. 2467 ปญหาคือ พล.อ. เปรม ซึ่งแก
กวาในหลวงภูมิพล 7 ปอาจถึงแกอสัญกรรมกอนพระเจาอยูหัว องคมนตรีรายอื่นไมมีใครมีบารมีเหมือน
พล.อ. เปรม ที่จะรับมือกับแรงกดดันทางการเมืองทั้งภายในและภายนอกที่จะมาพรอมการเปลี่ยนผานพระ
เจาอยูหัวได
หากปราศจากคนที่มีบารมีอยางในหลวงภูมิพลหรือ พล.อ. เปรม แลว คนไทยกลัววา ฝกฝายของฟาชายวชิรา
ลงกรณกับของฟาหญิงสิรินธรในกองทัพอาจลุกขึ้นมาห้ําหั่นกันได หลายคนหวั่นใจจากการสังหารหมู
กษัตริยเนปาลและพระราชวงศ โดยฝมือของรัชทายาทในป พ.ศ. 2544 พวกเขายังพูดกันถึงคําพยากรณเกา
แก 200 ปที่อาจเปนของรัชกาลที่ 1 เองวา ราชวงศจักรีจะมีกษัตริยเพียง 9 พระองค มีเรื่องเลาหลายเรื่องที่
ลวนบอกวา จะเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญเมื่อสิ้นรัชกาลที่ 9 ทั้งบอกวา จะเกิดความระส่ําระสายนําไปสู
การปฏิวัติจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางสันติไปสูสาธารณรัฐ จะไมมีกษัตรียคลายกับเหตุการณ พ.ศ. 2475 ซึ่ง
ในเวลานั้นเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับคําทํานายอีกอันหนึ่งที่วา ราชวงศจักรีจะอยูเพียง 150 ปซึ่งตรงกับป
พ.ศ. 2475 ดวยความแพรหลายอยางจงใจ คําทํานายนี้มีสวนชวยการปฏิบัติที่ปดฉากสมบูรณาญาสิทธิราชย
กลายเปนคําทํานายที่เปนจริง
แตยังมีคําทํานายอีกวาราชวงศจักรีจะสิ้นสุดใน 230 ปคือ ในป พ.ศ. 2555 ซึ่งไมมีใครรูวาจะจริงหรือไม จะ
ชาหรือเร็วกวาคําทํานายหรือไม
พระปรีชาสามารถเฉพาะพระองคของพระเจาอยูหัวภูมิพลทรงเปนไปเพื่อประโยชนของพระองคและ
สถาบันพระมหากษัตริยซึ่งเปนความขัดแยงและเปนปญหาสําคัญของการสถาปนาความเขมแข็งและการ
พัฒนาระบอบประชาธิปไตย
ขณะที่ระบอบการปกครองที่มีสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยกลางกําลังถึงทางตันที่ไมมีผูสืบทอดพระ
ราชอํานาจที่เหมาะสม กลายเปนวิฤติของระบอบราชาธิปไตย แตอาจเปนโอกาสของการสถาปนาระบอบ
ประชาธิปไตยที่แทจริงเสียที ทั้งนี้คงอยูที่ความพรอมของประชาชนไทยที่จะตองสรางระบอบและจัดระบบ
เพื่อสรางประเทศไทยใหมของเสรีชนที่ไมเปนทาสไพรของสมมุติเทพพระองคใดอีกตอไป

Anda mungkin juga menyukai