Anda di halaman 1dari 18

การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling

การสรางโมเดลวัตถุ 3 มิตแิ บบ Surface Modeling เปนวิธที ใี่ ชกบั วัตถุทมี่ พี นื้ ผิวไมสม่ําเสมอ (Irregular
surface) ในการขึน้ รูปโมเดลแบบนี้ เราจะตองเขียนโครงลวด(Wireframe)จากวัตถุ 2 มิติ อาทิ เชน LINE,
ARC, CIRCLE, ELLIPSE, 2D POLYLINE, 3D POLYLINE, SPLINE, RECTANG หรือ POLYGON
ขึน้ มาเปนโครงรางของวัตถุ 3 มิติกอ น เมือ่ เขียนโครงลวดของวัตถุ 3 มิตเิ สร็จเรียบรอยแลว จึงสราง
พืน้ ผิว(Surface)เชือ่ มตอสวนตางๆ ของโครงลวด เมือ่ พืน้ ผิวหรือเซอรเฟสถูกสรางขึน้ มาแลว เราจึงจะ
สามารถนําเซอรเฟสโมเดลไปใชในงานประเภทตางๆ ได
ถึงแมวา AutoCAD 2007 จะมีความสามารถสูงมากพอสมควรในงานขึน้ รูปแบบ Solid Modeling แต
ทางดานงานขึน้ รูปแบบ Surface Modeling นัน้ ลาหลัง(Obsolate)มาก เพราะคําสัง่ ในกลุม นีไ้ มไดรบั
การพัฒนามาเปนระยะเวลามากกวาสิบป จึงมีขอจํากัดและมีจดุ ออนอยูมาก กลุม คําสัง่ ในการสราง
เซอรเฟสที่มีใชใน AutoCAD Release 10 (October 1988) ซึง่ เปนเซอรเฟสพืน้ ฐานแบบงายๆ ยังคง
มีใชงานอยูใน AutoCAD 2007 คําสั่งใหมที่เกี่ยวของกับเซอรเฟสที่เพิ่มขึ้นมาใน AutoCAD 2007
มีเพียงคําสัง่ เดียวคือ Planar Surface ซึง่ ไมไดชวยเพิม่ ความสามารถขึน้ มามากนัก ดังนัน้ จึงถือไดวา
เซอรเฟสของ AutoCAD ยังคงจัดอยูใ นระดับเบือ้ งตนเทานัน้
Note หากผูใชโปรแกรมตองการสรางเซอรเฟสที่มีคุณภาพ เราไมสามารถที่จะใช AutoCAD 2007 ได
เนื่องจากคําสั่งในการสรางเซอรเฟสมีจํากัด ไมสามารถขึ้นรูปเซอรเฟสที่มีความซับซอน มีสวนโคง
สวนเวาและมีความราบเรียบอยางตอเนือ่ งได เราจะตองใชโปรแกรมอื่นๆ แทน อาทิ เชน Rhinoceros
3D, FormZ และอืน่ ๆ เปนเครือ่ งมือในการขึน้ รูปเซอรเฟส แลวสามารถนํากลับมาใชงานใน AutoCAD
จะมีประสิทธิภาพมากกวาการใชคําสั่งสรางเซอรเฟสของ AutoCAD

กอนที่เราจะศึกษาคําสั่งตางๆ ในกลุมที่เกี่ยวของกับการสรางเซอรเฟสโมเดล เราควรที่จะทราบขอ


จํากัดตางๆ ในการสรางเซอรเฟสใน AutoCAD 2007 ซึง่ มีรายละเอียดดังตอไปนี้
< ขั้นตอนการขึน้ รูปโครงลวดและสรางเซอรเฟสใชเวลาคอนขางมาก
< การแกไขปรับแตงรูปทรงทําไดคอนขางยาก เพราะจะตองทําทีร่ ะดับจุดเวอรเทกซ
< ไมสามารถเปลีย่ นแปลงความหนาแนนของผิวหนา(Face)ของเซอรเฟสได
< เซอรเฟสโมเดลจะมีสวนประกอบทีเ่ ปนพืน้ ผิวเทานัน้ ภายในของเซอรเฟสโมเดล
กลวง ไมสามารถหาปริมาตรและคุณสมบัตพิ นื้ ฐานทางวิศวกรรมได

chap-06.PMD 83 12/10/2549, 21:40


84

< เมื่ อสรางเซอรเฟสโมเดลขึ้นมาแลว หากตองการแกไข สวนใหญเราจะตองลบ


เซอรเฟสนัน้ ทิ้ง แลวแกไขเสนโครงลวดเดิม แลวจึงสรางเซอรเฟสขึน้ มาใหม
2D Drafting
< การเชื่อมตอระหวางเซอรเฟส 2 ชิ้นจะสัมผัส(Tangent)แบบราบเรียบหรือไมนั้น
ขึน้ อยูก ับเสนโครงลวด 2 มิตทิ ส่ี รางเปนโครงราง
< หากตรวจสอบเซอรเฟสโมเดลในระยะใกล มักจะพบขอบกพรองของรอยตอที่
ขาดหายของผิวหนา(Face)ซึง่ ขึ้นอยูก ับความหนาแนนของผิวหนาของเซอรเฟส
กอนทีเ่ ราจะสามารถสรางโครงลวดไดอยางถูกตองตรงตามวิธกี ารขึ้นรูปและคําสั่งที่เลือกใช เราควร
ทีจ่ ะรูจ กั คุณสมบัติของคําสัง่ ตางๆ ทีใ่ ชในการขึน้ รูปโครงลวด โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
LINE เปนคําสั่งซึ่งสามารถใชไดใน 2 มิติและ 3 มิติ เสนตรงที่เกิดจากคําสัง่ LINE ในแตละ
ชวงทีม่ กี ารกําหนดตําแหนงคอรออรดเิ นท จะกลายเปนวัตถุแยกชิน้ มีอสิ ระตอกัน แตละ
ชวงของเสนตรงสามารถกําหนดใหอยูใ นตําแหนงใดๆ ใน 3 มิตไิ ด เหมาะสําหรับนําไป
เขียนโครงลวดสําหรับ Surface modeling ซึง่ ไมตอ งการความตอเนือ่ งของแตละชวงของ
พืน้ ผิว หากกําหนดให LINE มีความหนา(Thickness)ในแนวแกน Z เสนตรง LINE จะ
กลายเปน Surface ทันที เสนตรง LINE ไมสามารถกําหนดใหมีความกวาง(Width)ของ
เสนได
3DPOLY 3D POLYLINE นัน้ เหมือนกับคําสั่ง LINE สามารถใชไดใน 2 มิติและ 3 มิติ ในแตละ
ชวงของ 3DPOLY สามารถกําหนดใหอยูใ นตําแหนงใดๆ ใน 3 มิติและทุกๆ ชวงที่มี
การกําหนดตําแหนงคอรออรดิเนทจะกลายเปนวัตถุชิ้นเดียวกัน ไมสามารถกําหนด
ความหนา(Thickness)และความกวาง (Width)ของเสน คําสัง่ นี้เหมาะสําหรับใชในทั้ง
Surface และ Solid modeling ที่ตอ งการความตอเนื่องของพื้นผิวในแตละชวง
POLYLINE 2D POLYLINE หรือ PLINE เปนคําสัง่ ใน 2 มิติ แตเรานิยมใชคําสัง่ นีส้ รางโครงลวด 3
มิติ เนื่องจากเสนที่เกิดจากคําสัง่ นี้ ในทุกๆ ชวงทีม่ ีการกําหนดตําแหนงคอรออรดิเนท
จะกลายเปนวัตถุชิ้นเดียวกันและทุกๆ ตําแหนงคอรออรดิเนทที่ถูกกําหนดจะอยูใน
ระนาบ UCS ใช งานเดียวกัน ไมสามารถกําหนดตําแหน งคอรออรดิ เนทให อยู ใน
ตําแหนงทีต่ า งกันใน 3 มิตไิ ด คําสัง่ นีเ้ หมาะสําหรับใชเขียนโครงลวดในสวนทีเ่ ปนพืน้ ที่
หนาตัดในทั้ง Surface และ Solid modeling และใชในกรณีทตี่ อ งการบังคับใหทกุ ๆ จุด
ของเสนที่กําหนดอยูในระนาบเดียวกัน
ARC เปนคําสั่งใน 2 มิติ แตเรามักใชคําสั่งนีส้ รางโครงลวดในสวนทีเ่ ปนเสนโคงใน 3 มิติ
เสนโคง ARC จะอยูข นานไปกับระนาบ UCS ใชงาน ซึง่ หมายถึงจุดทัง้ สามของเสนโคง
จะอยูบ นระนาบเดียวกันเสมอ คําสัง่ นีส้ ามารถใชไดในทัง้ Surface และ Solid modeling
CIRCLE คําสัง่ นีน้ ิยมใชขนึ้ รูปโครงลวดของวัตถุรปู ทรงกระบอกกลม ซึง่ จะขนานไปกับระนาบ
XY ของ UCS ใชงาน เราสามารถใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเขียนโครงลวดสําหรับ Surface และ
Solid modeling
ELLIPSE คําสัง่ นีน้ ิยมใชขนึ้ รูปโครงลวดของวัตถุ 3 มิตทิ ี่มหี นาตัดเปนรูปวงรี ซึง่ จะขนานไปกับ
ระนาบ XY ของ UCS ใชงาน เราสามารถใชคําสั่งนี้สําหรับเขียนโครงลวดสําหรับ
Surface และ Solid modeling
RECTANG ใชสําหรับเขียนหนาตัดของกลองสีเ่ หลี่ยม ซึ่งจะขนานไปกับระนาบ XY ของ UCS
ใชงาน เราสามารถใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเขียนโครงลวดสําหรับ Surface และ Solid modeling
POLYGON ใชสําหรับเขียนหนาตัดของวัตถุ 3 มิตทิ ี่มีหนาตัดเปนรูปหลายเหลีย่ ม ซึ่งจะขนานไป
กับระนาบ XY ของ UCS ใชงาน เราสามารถใชคําสั่งนี้สําหรับเขียนโครงลวดสําหรับ
Surface และ Solid modeling

chap-06.PMD 84 12/10/2549, 21:40


85
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling

Surface modeling แบงออกตามวิธกี ารสรางอยู 2 วิธคี ือวิธกี ําหนดความหนา(Thickness)ในแนวแกน


Z ใหกับวัตถุ 2 มิติ อาทิ เชน LINE, ARC, CIRCLE, PLINE (ทัง้ แบบเสนตรงและเสนโคงและแบบมี
หรือไมมคี วามหนา), POLYGON, RECTANG, DONUT และคําสัง่ 2D SOLID โดยกําหนดความ
หนาดวยคําสัง่ THICKNESS, CHANGE, CHPROP หรือคําสัง่ PROPERTIES วัตถุจะมีความหนา
เพิม่ ขึ้นไปตามแนวแกน Z ของระนาบ XY ทีส่ รางวัตถุ 2 มิตนิ นั้ ดวยวิธีนมี้ ขี อดีกค็ ือการเขียนวัตถุ 3
มิตเิ ปนไปดวยความรวดเร็ว สามารถแกไขปรับแตงไดเหมือนกับวัตถุ 2 มิติโดยทัว่ ไป แตไมคอ ยไดรบั
ความนิยมนักเพราะมีขอจํากัดคือเราไมสามารถทีจ่ ะเจาะรู ตัด เฉือน ปาดมุมและการกระทําอืน่ ๆ ทีจ่ ะ
ทําใหวัตถุเปลีย่ นรูปรางไปทัง้ ชิน้ หรือบางสวนของวัตถุทอี่ ยูใ นแนวแกน Z ดังรูปที่ 6.1
รูปที่ 6.1

อีกวิธีหนึง่ เปนวิธขี นึ้ รูปเซอรเฟสจากโครงลวด(Wireframe)ใหเปนรูปรางของวัตถุ 3 มิตทิ จ่ี ะสรางขึน้


โดยใชคําสัง่ LINE, ARC, PLINE, 3DPOLY, SPLINE เปนคําสัง่ ในการเขียนโครงลวด เมือ่ ขึน้ รูป
โครงลวดจนเปนรูปรางของวัตถุ 3 มิตแิ ลว จึงใชคําสัง่ ตางๆ ของ Surface modeling สรางผิวหนา(Face)
เชือ่ มตอโครงลวดตามสวนตางๆ ที่ตอ งการดังรูปที่ 6.2 การขึน้ รูปวัตถุ 3 มิติดว ยวิธนี ใี้ ชกบั วัตถุทมี่ ี
รูปที่ 6.2

รูปรางทีซ่ บั ซอน มีสว นโคงสวนเวาในแตละชวงของวัตถุแตกตางกันไป ความโคงของผิวหนา(Face)


ขึน้ อยูก บั ความโคงของโครงลวดทีก่ ําหนด หากวัตถุมสี ว นโคงทีแ่ ปรผันตามระยะตางๆ บนวัตถุหลายๆ
แหง เราจําเปนทีจ่ ะตองสรางโครงลวดทีม่ สี ว นโคงตรงจุดทีต่ อ งการควบคุมความโคงหลายๆ แหงเชน
เดียวกัน สวนผิวหนาทีเ่ ปนพืน้ ราบเรียบหรือผิวหนาที่มสี วนโคงไมเปลี่ยนแปลง เราไมจาํ เปนทีต่ อง
เขียนโครงลวดระหวางผิวหนาทีร่ าบเรียบนัน้ การเขียนดวยวิธนี ี้เปนวิธที ี่ยากลําบากและใชเวลาคอน
ขางมาก เนือ่ งจาก AutoCAD ไมมคี ําสัง่ ควบคุมความราบเรียบแบบตอเนือ่ งระหวางเซอรเฟส
6.1 Draw4Modeling4Planar Surface | PLANESURF |
ใชคําสั่ งนี้ สําหรั บสรางเซอร เฟสสี่ เหลี่ ยมผืนผ าหรื อแปลงวั ตถุ 2 มิติ ใหกลายเป นเซอร เฟสแบบ
แบนราบเรียบ เมือ่ เรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความดังนี้

chap-06.PMD 85 12/10/2549, 21:40


86

2D Drafting

รูปที่ 6.3
กอ น หลัง

Command: _Planesurf {จากรูปที่ 6.3 (ซาย) }


Specify first corner or [Object] <Object>: {คลิกบนพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ สรางเซอรเฟสสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดย
คลิกมุมแรกและคลิกมุมทะแยงหรือคลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ใชตวั เลือก Object เพือ่ นําวัตถุ 2 มิติ
มาแปลงใหกลายเปนเซอรเฟส}
Select objects: Specify opposite corner: 13 found {คลิกเพือ ่ เลือกวัตถุ 2 มิตแิ บบปดทัง้ หมดแบบ
Window หรือ Crossing}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ วัตถุ 2 มิตจิ ะถูกแปลงใหกลายเปนเซอรเฟส
แบบราบเรียบดังรูปที่ 6.3 (ขวา)}

Note ตัวแปรระบบ SURFU และ SURFV ควบคุมการปรากฏของจํานวนเสนโครงตาขายของเซอรเฟสใน


แนวนอนและแนวตัง้ ตัวแปรระบบ DELOBJ ควบคุมการลบวัตถุตน ฉบับหลังจากทีเ่ ซอรเฟสถูกสราง

Note วัตถุ 2 มิตทิ สี่ ามารถนํามาใชกับคําสั่งนี้ไดคอื LINE, CIRCLE, ARC, ELLIPSE, ELLIPTICAL ARC,
2D POLYLINE, 3D POLYLINE (บนระนาบ 2D) และ SPLINE (บนระนาบ 2D)

6.2 SOLID | SO |
คําสัง่ นีใ้ ชสําหรับเขียนรูปหลายเหลีย่ มแบบทึบตัน 2 มิตบิ นระนาบ XY หลังจากใชคําสัง่ นีส้ รางรูป
หลายเหลี่ยมขึ้นมาแลว รูปหลายเหลี่ยมจะกลายเปนเซอรเฟสที่ไมมีความหนาใน 3 มิติ เราสามารถ
ใชคําสั่ง CHANGE, CHPROP หรือคําสัง่ Modify4Properties เพือ่ กําหนดความหนา(Thickness)
ใหแกเซอรเฟสไดดงั รูปที่ 6.4 ในกรณีทตี่ อ งการแปลงใหเปน Solid ใน 3 มิติ เราสามารถใชคําสัง่ Draw
4Modeling4Extrude เพือ่ แปลงโซลิด 2 มิตใิ หกลายเปนโซลิด 3 มิตทิ ม่ี คี วามหนาได

รูปที่ 6.4
กอ น หลัง

chap-06.PMD 86 12/10/2549, 21:40


87
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling

Command: _solid Specify first point: {คลิกตรงใดๆ บนระนาบ XY เพือ่ กําหนดจุดที่ 1}


Specify second point: {คลิกตรงใดๆ บนระนาบ XY เพือ่ กําหนดจุดที่ 2}
Specify third point: {คลิกตรงใดๆ ทีท่ าํ มุมทะแยงกับจุดที่ 2 บนระนาบ XY เพือ่ กําหนดจุดที่ 3}
Specify fourth point or <exit>: {คลิกตรงใดๆ ทีท ่ าํ มุมทะแยงกับจุดที่ 3 บนระนาบ XY เพือ่ กําหนดจุดที่ 4}
Specify third point: {คลิกตรงใดๆ ทีท
่ าํ มุมทะแยงกับจุดที่ 4 บนระนาบ XY เพือ่ กําหนดจุดที่ 5}
Specify fourth point or <exit>: {คลิกตรงใดๆ ทีท ่ าํ มุมทะแยงกับจุดที่ 5 บนระนาบ XY เพือ่ กําหนดจุดที่ 6}
Specify third point: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ยุตกิ ารใชคําสัง่ }

Note จากรูปที่ 6.4 (ขวา) เปน 2D Solid หรือเซอรเฟส 2 มิตทิ ี่ถกู กําหนดใหมีความหนาใน 3 มิตโิ ดยใชคําสั่ง
PROPERTIES แลวแกไขคา Thickness สังเกตุวา 2D Solid จะแยกออกเปน 2 ชิน้ ซึ่งเราสามารถกําหนด
ความหนาของแตละชิ้นใหมีคาแตกตางกันได วัตถุ 3 มิติที่กําหนดความหนาดวยวิธีนี้เปนเซอรเฟส
หากใชคําสั่ง Draw 4Modeling4Extrude วัตถุที่ไดจะกลายเปนโซลิด 3 มิติ

Note วัตถุ 3 มิตทิ ขี่ นึ้ รูปมาจากวัตถุ 2 มิตโิ ดยกําหนดความหนา(Thickness)ดวยวิธี Surface นีไ้ มสามารถทีจ่ ะ
แกไขปรับแตงสวนใดๆ ในแนวแกน Z ได แตสามารถแกไขรูปรางของวัตถุในระนาบ XY ไดเสมอ
โดยใชคําสั่ง STRETCH แลวเคลื่อนยายจุดตางๆ ในระนาบ XY เพื่อเปลี่ยนรูปรางของเซอรเฟสได

Note ในการตรวจสอบวัตถุ 3 มิติวามีผิวหนา(Face)บนวัตถุ 3 มิตินั้นหรือไม เราใชคําสั่ง View4Hide


เพือ่ ซอนเสนทีถ่ ูกบัง หากวัตถุนนั้ มีผวิ หนาอยู วัตถุทอี่ ยูด านหลังจะถูกผิวหนานัน้ ปดบัง

6.3 3DFACE | 3F |
ใชสําหรับสรางผิวหนา(Face)เชือ่ มตอโครงลวด(Wireframe)ทีเ่ ขียนเปนรูปรางของวัตถุ 3 มิตแิ ลว

รูปที่ 6.5
กอ น หลัง

Command: _3dface Specify first point or [Invisible]: {จากรูปที่ 6.5 (ซาย) ใหแนใจวา
# อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย}
Specify second point or [Invisible]: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย}
Specify third point or [Invisible] <exit>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย}
Specify fourth point or [Invisible] <create three-sided face>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q
เพือ่ สรางเฟส 3 เหลีย่ ม}
Specify third point or [Invisible] <exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }
Command: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ 3DFACE}

chap-06.PMD 87 12/10/2549, 21:40


88

3DFACE Specify first point or [Invisible]: {เลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร


ใหคลิกซาย}
Specify second point or [Invisible]:
2D Drafting
{เลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย}
Specify third point or [Invisible] <exit>: {เลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย}
Specify fourth point or [Invisible] <create three-sided face>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 5
เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย}
Specify third point or [Invisible] <exit>: {คลิกขวาหรือ Q ผิวหนาจะถูกสรางขึน ้
จะปรากฏดังรูปที่ 6.5 (ขวา)

6.4 AI_BOX |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสกลองสีเ่ หลี่ยมผืนผาหรือกลองสีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัส
รูปที่ 6.6
กลองสี่ เหลี่ ยมผืนผา กลองสี่ เหลี่ ยมจั ตุรัส

Command: _AI_BOX {จากรูปที่ 6.6 ใหแนใจวา OSNAP อยูใ นสถานะปด}


Specify corner point of box: {คลิกมุมแรกของกลองซาย}
Specify length of box: {พิมพคา ความยาวหรือเลือ ่ นเคอรเซอรกาํ หนดความยาว แลวคลิกซาย}
Specify width of box or [Cube]: {พิมพคา ความกวางหรือเลือ ่ นเคอรเซอรกําหนดความกวาง
แลวคลิกซาย หากตองการสรางกลองสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ใหพมิ พตวั เลือก C }
Specify height of box: {พิมพคา ความสูงหรือเลือ ่ นเคอรเซอรกาํ หนดความสูง แลวคลิกซาย}
Specify rotation angle of box about the Z axis or [Reference]: {พิมพคา มุมในการหมุนกลอง
รอบแกน Z ในทีน่ ไี้ มตอ งการหมุนกลอง ใหพมิ พ 0 แลวกดปุม Q )}

6.5 AI_PYRAMID |
ใชสําหรับสรางรูปปรามิดแบบฐานสามเหลีย่ ม(Tetrahedron)หรือแบบฐานสี่เหลี่ยมดังรูปที่ 6.7
รูปที่ 6.7

ป รามิ ดแบบฐานสี่ เหลี่ ยม ป รามิ ดแบบฐานสามเหลี่ ยม ป รามิ ดแบบยอดเปนสั น

Command: _ai_pyramid {จากรูปที่ 6.7 }


Specify first corner point for base of pyramid: {คลิกมุมแรกของฐานปรามิด}
Specify second corner point for base of pyramid: {คลิกมุมทีส่ องของฐานปรามิด}
Specify third corner point for base of pyramid: {คลิกมุมทีส ่ ามของฐานปรามิด}
Specify fourth corner point for base of pyramid or [Tetrahedron]: {คลิกมุมที่สข ี่ องฐาน
ปรามิด หากตองการปรามิดฐานสามเหลีย่ ม ใหพมิ พตวั เลือก T}
Specify apex point of pyramid or [Ridge/Top]: {พิมพ .XY เพือ ่ แยกจุดคอรออรดเิ นท XY}
of {แลวคลิกจุดทีต
่ อ งการกําหนดเปนจุดยอด}
(need Z): {กําหนดความสูง 500 หนวยในแนวแกน Z}

chap-06.PMD 88 12/10/2549, 21:40


89
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling

Note จากรูปที่ 6.7 จํานวนจุดของฐานและยอดของรูปปรามิดทีเ่ ราตองกําหนด จะขึน้ อยูก บั แบบของปรามิด


ทีเ่ ราเลือก หากเลือกปรามิดแบบ Tetrahedron/Top เราจะตองกําหนดฐาน 3 จุดและยอด 3 จุด หากเลือก
ปรามิดแบบ Fourth Base Point/Ridge เราจะตองกําหนดฐาน 4 จุดและยอด 2 จุด

6.6 AI_WEDGE |
ใชสําหรับสรางรูปลิม่ (Wedge)เซอรเฟส 3 มิติดงั รูปที่ 6.8
รูปที่ 6.8

Command: _ai_wedge {จากรูปที่ 6.8 }


Specify corner point of wedge: {กําหนดจุดมุมของรูปลิม่ โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท
จุดนีจ้ ะเปนดานทีม่ คี วามสูง}
Specify length of wedge: {กําหนดความยาวของรูปลิม ่ โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify width of wedge: {กําหนดความกวางของรูปลิม ่ โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify height of wedge: {กําหนดความสูงของรูปลิม ่ โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify rotation angle of wedge about the Z axis: 0 {หากไมตอ  งการหมุนรูปลิม่ ใหพมิ พ 0 แลว
Q จะปรากฏดังรูปที่ 6.8 }

6.7 AI_DOME |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสรูปทรงกลมครึง่ ซีกคว่ําหรือรูปโดมลงบนพืน้ ระนาบดังรูปที่ 6.9

รูปที่ 6.9

Command: _ai_dome
Specify center point of dome: {กําหนดจุดศูนยกลางของรูปโดมบนพื้นระนาบ XY}
Specify radius of dome or [Diameter]: {กําหนดรัศมี โดยพิมพคารัศมีหรือใชเมาสเพื่อ
กําหนดรัศมีหรือพิมพ D แลวกดปุม Q เพื่อกําหนดเสนผาศูนยกลาง}
Enter number of longitudinal segments for surface of dome <16>: {กํ าหนดเซกเมนต
ในแนวตั้งหรือ Q เพื่อใชคา 16 ที่โปรแกรมกําหนดมาให}
Enter number of latitudinal segments for surface of dome <8>: {กํ าหนดเซกเมนต
ในแนวนอนหรือ Q เพื่อใชคา 8 ที่โปรแกรมกําหนดมาให}

chap-06.PMD 89 12/10/2549, 21:40


90

6.8 AI_SPHERE |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสรูปทรงกลมดังรูปที่ 6.10 2D Drafting
รูปที่ 6.10

Command: _ai_sphere
Specify center point of sphere: {กําหนดจุดศูนยกลางของรูปทรงกลมบนพืน้ ระนาบ XY}
Specify radius of sphere or [Diameter]: {กําหนดรัศมี โดยพิมพคา รัศมีหรือใชเมาสเพือ่ กําหนดรัศมี
หรือพิมพ D แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดเสนผาศูนยกลาง}
Enter number of longitudinal segments for surface of sphere <16>:
{กําหนดเซกเมนตในแนวตัง้ }
Enter number of latitudinal segments for surface of sphere <16>:
{กําหนดเซกเมนตในแนวนอน}

6.9 AI_CONE |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสรูปทรงกรวยดังรูปที่ 6.11
รูปที่ 6.11

Command: _ai_cone
Specify center point for base of cone: {กําหนดจุดศูนยกลางของฐานกรวย}
Specify radius for base of cone or [Diameter]: {กําหนดรัศมีฐาน โดยพิมพคา รัศมีหรือใชเมาสเพือ่
กําหนดรัศมีหรือพิมพ D แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดเสนผาศูนยกลาง}
Specify radius for top of cone or [Diameter] <0>: {กําหนดรัศมียอด โดยพิมพคา รัศมีหรือ
ใชเมาสเพือ่ กําหนดรัศมีหรือพิมพ D แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดเสนผาศูนยกลาง หากตองการใหยอด
แหลม ใหกดปุม Q เพือ่ ใชรศั มียอดเทากับ 0}
Specify height of cone: {กําหนดคาความสูงของกรวย โดยพิมพคา ความสูงหรือใชเมาสกาํ หนดความสูง}
Enter number of segments for surface of cone <16>: {กําหนดจํานวนเซกเมนตของกรวยหรือ
Q เพือ่ ใชคา 16 ทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให}

6.10 AI_TORUS |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสรูปทรงขนมโดนัทดังรูปที่ 6.12

chap-06.PMD 90 12/10/2549, 21:40


91
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling
รูปที่ 6.12

Command: _ai_torus
Specify center point of torus:{กําหนดจุดศูนยกลางของขนมโดนัท}
Specify radius of torus or [Diameter]: {กําหนดรัศมีหรือเสนผาศูนยกลางของขนมโดนัท}
Specify radius of tube or [Diameter]: {กําหนดรัศมีหรือเสนผาศูนยกลางทอของขนมโดนัท}
Enter number of segments around tube circumference <16>:
{กําหนดเซกเมนตทอ ของขนมโดนัท}
Enter number of segments around torus circumference <16>:
{กําหนดเซกเมนตตามเสนรอบวงของขนมโดนัท}

6.11 AI_DISH |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสรูปทรงกลมครึง่ ซีกหงายขึน้ หรือรูปจานบนพืน้ ระนาบดังรูปที่ 6.13
รูปที่ 6.13

Command: _ai_dish
Specify center point of dish: {กําหนดจุดศูนยกลางของรูปจานบนพืน้ ระนาบ XY}
Specify radius of dish or [Diameter]: {กําหนดรัศมี โดยพิมพคา รัศมีหรือใชเมาสเพือ่ กําหนด
รัศมีหรือพิมพ D แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดเสนผาศูนยกลาง}
Enter number of longitudinal segments for surface of dish <16>:
{กําหนดเซกเมนตในแนวตัง้ }
Enter number of latitudinal segments for surface of dish <8>:
{กําหนดเซกเมนตในแนวนอน}

6.12 AI_MESH
ใชสรางพื้นผิว 3 มิตโิ ครงตาขาย โดยกําหนดมุม 4 มุมแสดงขอบเขตของโครงตาขายดังรูปที่ 6.14
Mesh size = 5
ทิศทาง N

รูปที่ 6.14
ทิศทาง M
Mesh size = 8

chap-06.PMD 91 12/10/2549, 21:40


92

Command: _ai_mesh
Specify first corner point of mesh: {กําหนดมุมที่ 1 โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify second corner point of mesh: 2D Drafting
{กําหนดมุมที่ 2 โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify third corner point of mesh: {กําหนดมุมที่ 3 โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify fourth corner point of mesh: {กําหนดมุมที่ 4 โดยใชเมาสคลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Enter mesh size in the M direction: 8 {กําหนดจํานวนตาขาย(Mesh)ในทิศทาง M สังเกตุวา เสนขอบ
ในทิศทาง M จะกลายเปนเสนประ}
Enter mesh size in the N direction: 5 {กําหนดจํานวนตาขาย(Mesh)ในทิศทาง N สังเกตุวา เสนขอบ
ในทิศทาง N จะกลายเปนเสนประ จะปรากฏดังรูปที่ 6.14}

รูปที่ 6.15

หลังเคลื่อนยายจุดเวอร เทกซ ปรับผิวโคงแบบ Quadratic ปรับผิวโค งแบบ Cubic ปรับผิวโคงแบบ Bezier

Note โดยปกติ เมือ่ เราสรางเซอรเฟสสีเ่ หลีย่ มดวยคําสัง่ นี้แลว เรามักจะใชคําสัง่ Modify4Object4Polyline


หรือคําสั่ง Modify4Stretch เพื่อเคลื่อนยายจุดเวอรเทกซจุดเดียวหรือหลายๆ จุดไปที่ระดับ
ความสูงตางๆ แลวใชคําสัง่ Modify4Properties จากนัน้ จึงคลิกลงบนเซอรเฟสและปรับตัวเลือก
Fit/Smooth โดยเลือกคาความตึงหรือความโคงของพื้นผิวตางๆ กัน อาทิ เชน Quadratic, Cubic หรือ
Bezier ดังรูปที่ 6.15

6.13 EDGE |
ใชสําหรับแสดงหรือซอนเสนขอบ(Edge)ของผิวหนา(Face) โดยปกติ เสนขอบของผิวหนาสามเหลีย่ ม
2 ชิน้ ทีม่ เี สนขอบรวมกันและอยูต ดิ กันบนระนาบ XY เดียวกัน โปรแกรมจะไมแสดงเสนขอบรวมกัน
ของผิวหนาทัง้ สองนัน้
เสนขอบ(Edge)

แสดงเส นขอบ แสดงผิ วหน า รูปที่ 6.16 แสดงผิ วหน า ซ อนเส นขอบ

Command: _edge
Specify edge of 3dface to toggle visibility or [Display]: {คลิกบนเสนขอบทีต่ อ งการซอน}
Specify edge of 3dface to toggle visibility or [Display]: {คลิกขวาหรือQ เสนทีถ่ กู เลือกจะถูก
ซอน}

chap-06.PMD 92 12/10/2549, 21:40


93
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling

Note หากตองการเรียกเสนขอบ(Edge)ทีถ่ กู ซอนกลับมาปรากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพ ใหพมิ พ D เพือ่ เลือกตัวเลือก


Display จะปรากฏขอความ Enter selection method for display of hidden edges [Select/All] <All>:
หากกดปุม Q โปรแกรมจะแสดงเสนขอบทีถ่ กู ซอนทัง้ หมดเปนเสนประ ใหคลิกบนเสนประทีต่ อ ง
การเรียกคืน

6.14 3DMESH |
ใชสําหรับสรางพืน้ ผิว 3 มิตโิ ครงตาขาย(Mesh) โดยกําหนดจุดเวอรเทกซในตําแหนงทีต่ อ งการ เหมือน
กับคําสัง่ AI_MESH เราใชคําสัง่ นีเ้ ปนพืน้ ฐานในการสรางวัตถุ 3 มิติ อาทิ เชน ภูมปิ ระเทศ วัตถุพนื้ ผิว
นูนหรือเวาและอื่นๆ

รูปที่ 6.17

10
N=
N = 10

M=
10

M = 10

Command: _3dmesh
Enter size of mesh in M direction: 2 {กําหนดจํานวนจุดเวอรเทกซของโครงตาขายในทิศทาง M}
Enter size of mesh in N direction: 2 {กําหนดจํานวนจุดเวอรเทกซของโครงตาขายในทิศทาง N}
Specify location for vertex (0, 0): {คลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท เพือ
่ กําหนดจุดเวอรเทกซเริม่ ตน}
Specify location for vertex (0, 1): {คลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify location for vertex (1, 0): {คลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท}
Specify location for vertex (1, 1): {คลิกหรือพิมพคา คอรออรดเิ นท โครงตาขายจะถูกสรางขึน้}

Note คําสั่ง AI_MESH และคําสั่ง 3DMESH มีลักษณะการใชงานคลายคลึงกัน โครงตาขายที่สรางจาก


AI_MESH ถูกกําหนดโดยมุมทัง้ สีข่ องรูปสีเ่ หลีย่ ม ดังนัน้ โครงตาขายจึงขนานไปกับระนาบใดระนาบ
หนึง่ เทานัน้ สวนโครงตาขายทีส่ รางจาก 3DMESH ตองกําหนดจุดเวอรเทกซทกุ ๆ จุดตามจํานวนทีร่ ะบุ
ในทิศทาง M และ N ดังนัน้ เราจึงสามารถกําหนดจุดเวอรเทกซแตละจุด ณ ตําแหนง ใดๆ ใน 3 มิตไิ ดโดย
อิสระ แตจะตองเรียงลําดับตามคอรออรดเิ นทของจุดเวอรเทกซดงั รูปที่ 6.17

Note เมื่อเราสรางเซอรเฟสโคงตาขายดวยคําสั่งนี้แลว เรามักจะใชคําสั่ง Modify4Object4Polyline


หรือคําสั่ง Modify4Stretch เพื่อเคลื่อนยายจุดเวอรเทกซจุดเดียวหรือหลายๆ จุดไปที่ระดับ
ความสูงตางๆ แลวใชคําสั่ง Modify4Properties จากนัน้ จึงคลิกลงบนเซอรเฟส และปรับตัวเลือก
Fit/Smooth โดยเลือก คาความตึงหรือความโคงของพื้นผิวตางๆ กัน อาทิ เชน Quadratic, Cubic หรือ
Bezier ดังรูปที่ 6.18

chap-06.PMD 93 12/10/2549, 21:40


94

รูปที่ 6.18

2D Drafting
เคลื่ อนยายจุดเวอรเทกซ ปรับผิวโคงแบบ Quadratic ปรับผิวโค งแบบ Cubic ปรับผิวโคงแบบ Bezier

6.15 REVSURF |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟส โดยวิธีการหมุนรอบแกนดังรูปที่ 6.19
รูปที่ 6.19

Command: _revsurf
Current wire frame density: SURFTAB1=6 SURFTAB2=6 {โปรแกรมรายงานคาความหนาแนน
ของโครงลวดปจจุบนั }
Select object to revolve: {คลิกบนโครงลวด LINE, ARC, CIRCLE, SPLINE, 2D หรือ 3D POLYLINE}
Select object that defines the axis of revolution: {คลิ ก บนแกนหมุ น LINE, 2D หรื อ 3D POLYLINE}
Specify start angle <0>: {กําหนดมุมเริม่ ตนสรางพืน้ ผิว โดยปกติควรกดปุม Q เพือ่ ใชคา 0}
Specify included angle (+=ccw, -=cw) <360>: {กําหนดมุมรวมในการสรางพืน้ ผิว โดยปกติควรกดปุม
Q เพือ่ ใช Full circle}

Note เราสามารถใช LINE, ARC, CIRCLE, SPLINE, 2D หรือ 3D POLYLINE ทัง้ แบบเปดและแบบปดเปน
วัตถุที่จะถูกหมุน หากเราใชคําสั่ง LINE และ ARC สรางวัตถุที่จะถูกหมุน เราควรจะใชคําสั่ง PEDIT
เพื่อแปลง LINE และ ARC ใหเปนโพลีไลนเพียงชิ้นเดียว เพื่อที่เราไมตองใชคําสั่ง REVSURF ซ้ํา
หลายๆ ครั้ง สวน Axis of revolution ควรใชคําสั่ง LINE หรือ 2D หรือ 3D POLYLINE 1 เซกเมนต

Note ตัวแปรระบบ SURFTAB1 ควบคุมความหนาแนนของโครงตาขายในทิศทาง M หรือในทิศทางตาม


แนวแกน Axis of revolution สวนตัวแปรระบบ SURFTAB2 ควบคุมความหนาแนนของโครงตาขายใน
ทิศทาง N หรือในทิศทางตามการหมุนของวัตถุที่จะถูกหมุนดังรูปที่ 6.19 หากตองการตั้งคาตัวแปร
เราสามารถพิมพ SURFTAB1หรือ SURFTAB2 บนบรรทัดปอนคําสั่งไดโดยตรง

รูปที่ 6.20
จุดทีใ่ ชเมาสคลิก

จุดทีใ่ ชเมาสคลิก หมุน 180° ทวนเข็มนาฬิกา หมุน 180° ตามเข็มนาฬิกา

chap-06.PMD 94 12/10/2549, 21:40


95
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling

Note จุดทีใ่ ชเมาสคลิกบน Axis of revolution เปนสิ่งทีก่ ําหนดทิศทางการหมุนของผิวหนาดังรูปที่ 6.20

6.16 TABSURF |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟส โดยเขียนโครงตาขายตามขนาดและทิศทางของเวคเตอรดังรูปที่ 6.21
LINE หรือ Direction vector รูปที่ 6.21

SPLINE หรือ Path curve


SURFTAB1 = 6 SURFTAB1 = 12 SURFTAB1 = 24

Command: _tabsurf
Select object for path curve: {คลิกบนโครงลวด LINE, ARC, CIRCLE, ELLIPSE, SPLINE, 2D หรือ
3D POLYLINE}
Select object for direction vector: {คลิกบนเวคเตอรกําหนดความยาวและทิศทาง LINE, 2D หรือ 3D
POLYLINE}

Note ตัวแปรระบบ SURFTAB1 ควบคุมความหนาแนนของผิวหนาของ Path curve

Note จุดทีใ่ ชเมาสคลิกบน Direction vector เปนสิง่ ทีก่ ําหนดทิศทางการสรางเซอรเฟส หากจุดทีใ่ ชเมาสคลิก
คอนไปดานลาง เซอรเฟสจะถูกสรางไปตามทิศทางของเวคเตอร หากจุดทีใ่ ชเมาสคลิกคอนไปดานบน
เซอรเฟสจะถูกสรางสวนทิศทางของเวคเตอร

6.17 RULESURF |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสโดยเขียนโครงตาขาย(Mesh)เชื่อมตอระหวางวัตถุ 2 ชิน้ ดังรูปที่ 6.22
เสนโคง SPLINE

รูปที่ 6.22 SURFTAB1 = 6 SURFTAB1 = 12

chap-06.PMD 95 12/10/2549, 21:40


96

Command: _rulesurf
Current wire frame density: SURFTAB1=6 {โปรแกรมรายงานค าความหนาแน นปจ จุบั นของโครงตาข าย}
Select first defining curve:
POLYLINE ทีใ่ ชเปนโคงกําหนดเสนที่ 1}
2D Drafting
{คลิกบนโครงลวด LINE, ARC, CIRCLE, ELLIPSE, SPLINE, 2D หรือ 3D

Select second defining curve: {คลิกบนโครงลวด LINE, ARC, CIRCLE, ELLIPSE, SPLINE, 2D หรือ
3D POLYLINE ทีใ่ ชเปนโคงกําหนดเสนที่ 2}

Note หากเราใชโคงกําหนดเสนที่ 1 (First defining curve)เปนวงกลมหรือวงรีหรือรูปหลายเหลีย่ มแบบปด


โคงกําหนดเสนที่ 2 (Second defining curve)จะตองเปนวงกลมหรือวงรีหรือรูปหลายเหลีย่ มแบบปด
เชนเดียวกัน มิฉะนั้นจะไมสามารถสรางโครงตาขาย(Mesh)ได

Note ตัวแปรระบบ SURFTAB1 ควบคุมความหนาแนนของผิวหนาระหวางสวนโคงกําหนดทัง้ สองเสน

Note จุดทีใ่ ชเมาสคลิกบน Defining curve ทัง้ สองเปนสิง่ ทีก่ ําหนดทิศทางการสรางโครงตาขาย หากจุดทีค่ ลิก
อยูบนปลายเสนดานเดียวกัน โครงตาขายจะปรากฏถูกตอง หากจุดที่คลิกอยูบนปลายเสนบนดานที่
ตางกัน โครงตาขายจะปรากฏไมถูกตองดังรูปที่ 6.23

รูปที่ 6.23

6.18 EDGESURF |
ใชสําหรับสรางเซอรเฟสโดยเขียนโครงตาขาย(Mesh)ระหวางวัตถุ 4 ชิน้ ทีส่ รางจากคําสัง่ LINE, ARC,
SPLINE, 2D หรือ 3D POLYLINE โดยทีป่ ลายเสนทัง้ 4 จะตองเชื่อมตอกันดังรูปที่ 6.24
รูปที่ 6.24

เสนโครงลวด Spline 4 เสน SURFTAB1 = 6, SURFTAB2 = 6

SURFTAB1 = 6, SURFTAB2 = 12 SURFTAB1 = 6, SURFTAB2 = 24

chap-06.PMD 96 12/10/2549, 21:40


97
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling

Command: _edgesurf
Current wire frame density: SURFTAB1=6 SURFTAB2=24 {รายงานความหนาแนนของโครงตาข าย}
Select object 1 for surface edge: {คลิกบนเสนขอบที่ 1}
Select object 2 for surface edge: {คลิกบนเสนขอบที่ 2}
Select object 3 for surface edge: {คลิกบนเสนขอบที่ 3}
Select object 4 for surface edge: {คลิกบนเสนขอบที่ 4 โปรแกรมจะเขียนโครงตาขายเชือ
่ มตอขอบทัง้ 4
ทีถ่ กู เลือกดังรูปที่ 6.25}

Note LINE, ARC, SPLINE, 2D หรือ 3D POLYLINE ทีน่ ํามาใชในคําสัง่ นี้ ปลายเสนทุกเสนจะตองเชือ่ มตอ
กันพอดี โดยใช Object snap ในโหมด Endpoint

Note ตัวแปรระบบ SURFTAB1 ควบคุมความหนาแนนของโครงตาขายในทิศทาง M สวนตัวแปรระบบ


SURFTAB2 ควบคุมความหนาแนนของโครงตาขายในทิศทาง N

Note ในการเลือกเสนขอบ(Edge) เราไมจําเปนตองเรียงลําดับการเลือก จะเลือกเสนใดเสนหนึง่ กอนได เสน


ขอบ(Edge)เสนแรกทีถ่ กู เลือกจะเปนตัวกําหนดทิศทาง M ของโครงตาขาย โดยเริม่ ตนจากปลายดานใกล
กับจุดที่ใชเมาสคลิกชี้ไปยังปลายเสนอีกดานหนึง่ ของเสนแรกที่เลือก เสนขอบทีต่ อ จากเสนแรกทีถ่ ูก
เลือกเปนตัวกําหนดทิศทาง N

6.19 Modify4Object4Polyline | PE | PEDIT |


คําสั่ งนี้ ใช สําหรับแกไขปรั บแตงเสนโพลีไลน PLINE หรือแก ไขปรับแตงเซอรเฟสโครงตาขาย
(Mesh) ทีส่ รางจากคําสัง่ AI_MESH และคําสัง่ 3DMESH ดังรูปที่ 6.25

าง N AI_MESH
ทิศท

ท ิศ ท
าง M
รูปที่ 6.25

Command: _pedit Select polyline: {คลิกบนเสนโพลีไลนหรือโครงตาขาย AI_MESH หรือโครงตาขาย


3DMESH ถาคลิกลงบนโครงตาขายจะปรากฏตัวเลือกดังตอไปนี}้
Enter an option [Edit vertex/Smooth surface/Desmooth/Mclose/Nclose/Undo]:

Edit vertex ใช ตั วเลื อกนี้ สํ าหรั บ เลื อ กหรื อ เคลื่ อ นย ายจุ ด เวอร เทกซ ของโครงตาข ายไปยั ง
ตําแหนงตางๆ ใน 3 มิติ

chap-06.PMD 97 12/10/2549, 21:40


98

Smooth surface ปรับพืน


้ ผิว(Surface)ของโครงตาขายใหราบเรียบตามแบบพืน้ ผิวทีก่ ําหนดดวย ตัวแปร
ระบบ SURFTYPE ซึง่ มี 3 แบบคือ 1. Quadratic 2. Cubic 3. Bezier
Desmooth
SURFTYPE
2D Drafting
ยกเลิ กการกําหนดพื้ นผิ ว(Surface)แบบราบเรี ยบตามที่ กําหนดด วยตั วแปรระบบ

Mclose ใชสําหรับปดดานที่เปดของโครงตาขายในทิศทาง M ถาโครงตาขายที่เลือกเปดอยู


กอนแลว ตัวเลือกนีจ้ ะกลายเปน Mopen
Nclose ใชสําหรับปดดานที่ เปดของโครงตาขายในทิศทาง N ถาโครงตาขายที่เลือกเปดอยู
กอนแลว ตัวเลือกนี้จะกลายเปน Nopen
Undo ยอนกลับผลของการใชตัวเลือกตางๆ ในคําสั่ง PEDIT ซึ่ งสามารถยอนกลับไปยัง
จุดแรกที่ใชคําสั่ง PEDIT ได
eXit <X> เปนตัวเลือกใชงาน หากเรากดปุม Q จะออกจากคําสั่ง PEDIT แลวกลับไปยัง
บรรทัดปอนคําสั่ง Command:
เมื่อเลือกตัวเลือก Edit vertex จะปรากฏตัวเลือกยอยสําหรับเลือกหรือเคลื่อนยายจุดเวอรเทกซดังนี้

Current vertex (0,0).


Enter an option [Next/Previous/Left/Right/Up/Down/Move/REgen/eXit] <N>:

Vetex (0,0) แสดงพิกัดคอร ออร ดิเนทของจุ ดเวอรเทกซที่ ถู กเลื อก พรอมทั้ งแสดงเครื่ องหมาย
กากบาท X บนจุดเวอรเทกซบนโครงตาขายที่ถูกเลือก
Next เปนตัวเลือกใชงาน ซึง่ ใชสําหรับเลือกจุดเวอรเทกซทอี่ ยูถดั ไปจากจุดเวอรเทกซใชงาน
สังเกตุเครื่องหมายกากบาท X แสดงตําแหนงจุดเวอรเทกซที่ถกู เลือก
Previous ยอนกลับไปยังจุดเวอรเทกซจุดกอน
Left เลือกจุดเวอรเทกซที่อยูทางซาย
Right เลือกจุดเวอรเทกซที่อยูทางขวา
Up เลือกจุดเวอรเทกซที่อยูดานบน
Down เลือกจุดเวอรเทกซที่อยูดานลาง
Move เคลือ่ นยายจุดเวอรเทกซทถี่ กู เลือกไปยังตําแหนงใหมใน 3 มิติ
REgen ปรับพื้นผิวของโครงตาขายใหราบเรียบตามแบบพื้นผิวที่กําหนดดวย ตัวแปรระบบ
SURFTYPE ใหม โดยคํานวณตําแหนงของจุดเวอรเทกซใหมทงั้ หมด
eXit ออกจากตัวเลือก Edit vertex

6.20 Modify4Properties | PROPERTIES | CH |


เราสามารถใชหนาตาง Properties สําหรับแกไขปรับแตงคุณสมบัติตางๆ ของวัตถุและยังสามารถ
แกไขปรับแตงพืน้ ผิว(Surface)ของโครงตาขาย(Mesh)ของวัตถุ 3 มิตทิ ส่ี รางจากคําสัง่ AI_MESH และ
คําสัง่ 3DMESH ใหพนื้ ผิวมีสว นนูนหรือมีสว นเวาตามตําแหนงทีต่ อ งการ เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏหนา
ตาง Properties ดังรูปที่ 6.26 ในขณะทีบ่ รรทัดปอนคําสัง่ ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใหคลิกลงบนเซอรเฟส
ทีส่ รางจากคําสัง่ AI_MESH หรือเซอรเฟสทีส่ รางจากคําสัง่ 3DMESH เราสามารถทีจ่ ะปรับแตงคุณ
สมบัตติ า งๆ ของเซอรเฟสไดตามตองการ

chap-06.PMD 98 12/10/2549, 21:40


99
การขึ้นรูปวัตถุดวย Surface Modeling
Vertex แสดงจุดเวอรเทกซที่ถกู เลือก ในที่นี้คอื จุด
เวอรเทกซที่ 1
Vertex X แสดงคา X ของจุดเวอรเทกซที่ 1
Vertex Y แสดงคา Y ของจุดเวอรเทกซที่ 1
Vertex Z แสดงคา Z ของจุดเวอรเทกซที่ 1
M Closed แสดงสถานะปดของเซอรเฟสในทิศทาง M
N Closed แสดงสถานะปดของเซอรเฟสในทิศทาง N
M density แสดงความหนาแน นของจํ า นวนจุ ด
เวอร เทกซ ซึ่ งใช เปนจุ ดควบคุ ม(Control
point)ในทิศทาง M
N density แสดงความหนาแน นของจํ า นวนจุ ด
เวอร เทกซ ซึ่ งใช เปนจุ ดควบคุ ม(Control
point)ในทิศทาง N
M vertex count แสดงจํานวนจุดเวอรเทกซในทิศทาง M รูปที่ 6.26
N vertex count แสดงจํานวนจุดเวอรเทกซในทิศทาง N
Fit/Smooth ใช ตั วเลื อกในฟ ล ด นี้ สําหรั บเลื อกรู ป แบบพื้ นผิ วของโครงตาข าย None โดยที่
โปรแกรมกําหนดมาให None เปนตัวเลือกใชงาน ซึง่ ใชสําหรับยกเลิกพืน้ ผิว(Surface)
แบบราบเรียบมีการใชงานเหมือนกับตัวเลือก Desmooth ของคําสัง่ PEDIT Quadratic
ปรับพื้นผิวของโครงตาขายใหราบเรียบ โดยใชรูปแบบความราบเรียบของพื้นผิวโคง
แบบ Quadratic Cubic ปรับพื้นผิวของโครงตาขายใหราบเรียบโดยใชรูปแบบความ
ราบเรียบของพืน้ ผิวแบบ Cubic Bezier ปรับพื้นผิวของโครงตาขายใหราบเรียบโดย
ใชรูปแบบความราบเรียบของพื้นผิวแบบ Bezier

Note เราสามารถใชหนาตาง Properties ในการเคลื่อนยายจุดเวอรเทกซแตละจุดได โดยคลิกบนตัวเลือก


Vertex แลวเลือกจุดเวอรเทกซทตี่ อ งการแกไข จะปรากฏกากบาท X บนโครงตาขายทีถ่ กู เลือก แลวปอน
คาคอรออรดิเนทใหมเขาไปใน Vertex X, Vertex Y, Vertex Z

รูปที่ 6.27

3DMESH 3DMESH หลังเคลื่อนยายจุดเวอรเทกซ


Fit/Smooth = None

3DMESH หลังปรับความราบเรียบ 3DMESH หลังปรับความราบเรียบ 3DMESH หลังปรับความราบเรียบ


Fit/Smooth = Quadratic Fit/Smooth = Bezier Fit/Smooth = Cubic

chap-06.PMD 99 12/10/2549, 21:40


100

จากรูปที่ 6.27 (บน-ซาย) เปนโครงตาขายทีส่ รางจากคําสัง่ 3DMESH โดยมีจดุ เวอรเทกซควบคุมใน


ทิศทาง M เทากับ 10 และทิศทาง N เทากับ 10 จุดเวอรเทกซทงั้ หมดอยูใ นระนาบเดียวกัน นัน่ หมายถึง
2D Drafting
แบนราบอยูใ นพืน้ ระนาบ 2 มิติ ตอไปเริม่ เคลือ่ นยายจุดเวอรเทกซตา งๆ ซึง่ จะเปนตัวควบคุมสวนนูน
และสวนเคาใหลอยขึ้นไปยังตําแหนงตางๆ ในแนวแกน Z โดยใชคําสั่ง STRETCH หรือใชคําสั่ง
Modify4Object4Polyline /Edit vertex/Move หรือใชกริ๊ปส(Grips)เคลื่อนยายจุดเวอรเทกซให
ปรากฏดังรูปที่ 6.27 (บน-ขวา) จากนัน้ จึงใชคําสัง่ Modify4Properties แลวเลือกรูปแบบของพืน้ ผิว
ใน Fit/Smooth จะปรากฏพืน้ ผิวของโครงตาขายทีร่ าบเรียบแบบตางๆ ดังรูปที่ 6.27 (กลางและลาง)
6.21 SURFTAB1
ตัวแปรระบบควมคุมความหนาแนนของโครงตาขายทีส่ รางจากคําสั่ง RULESURF และ TABSURF
และควบคุมความหนาแนนของโครงตาขายในทิศทาง M ของคําสัง่ REVSURF และ EDGESURF
Command: SURFTAB1
Enter new value for SURFTAB1 <6>: {พิมพคา ความหนาแนนของโครงตาขายทีต่ อ งการ}

6.22 SURFTAB2
เป นตั วแปรระบบที่ ใช สํา หรั บควมคุ ม ความหนาแน นของโครงตาข า ยในทิ ศทาง N ของคําสั่ ง
REVSURF และ EDGESURF

Command: SURFTAB2
Enter new value for SURFTAB1 <6>: {พิมพคา ความหนาแนนของโครงตาขายทีต่ อ งการ}

หลังทีเ่ ราไดศกึ ษาคําสัง่ ตางๆ ซึง่ ใชในการขึน้ รูป Surface มาทัง้ หมดแลว เราจะเห็นไดวา การขึน้ รูปดวย
เซอรเฟสใน AutoCAD ยังมีขอ จํากัดอยูม าก และทีส่ ําคัญคือยังไมมคี ําสัง่ ใดทีจ่ ะสามารถควบคุมความ
ต อเนื่ องระหว างเซอร เฟสให ราบเรี ยบโดยอั ตโนมั ติ หากต องการควบคุ มความต อเนื่ องของการ
สัมผัส(Tangency)ระหวางเซอรเฟสใหราบเรียบ เราจะตองใชเสนโครงลวดเปนตัวควบคุมเทานั้น
ในทางปฏิบตั ิ จึงเปนการยากทีจ่ ะควบคุมการสัมผัสระหวางเซอรเฟสใหได 100 เปอรเซนต นอกจาก
เราจะตองสรางโครงลวดที่สามารถควบคุมการสัมผัสระหวางพืน้ ผิวได 100 เปอรเซนตเชน เดียวกัน
แตก็จะตองใชเวลาในการขึ้นรูปโครงลวดอยางมาก
เปนอันวาในบทนีเ้ ราไดศกึ ษาหลักและวิธกี ารสรางวัตถุ 3 มิติดว ยวิธี Surface modeling มาพอสังเขป
แลว ในบทตอไป เราจะศึกษาวิธใี ชคาํ สัง่ ตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการขึน้ รูปวัตถุ 3 มิติ ดวยวิธี Solid modeling
ซึง่ ใน AutoCAD 2007 นัน้ มีวธิ ีการขึน้ รูปวัตถุ 3 มิติทง่ี า ยและรวดเร็วกวา AutoCAD รีลสี กอนๆ เปน
อยางมาก
************************************

chap-06.PMD 100 12/10/2549, 21:40

Anda mungkin juga menyukai