Anda di halaman 1dari 18

การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

เนื่ องจากการเปลี่ ยนแปลงครั้ งใหญของเครื่ องมือในการขึ้ นรูปโซลิ ด(Solid modeling tools)ใน


AutoCAD 2007 ซึง่ มีการเพิม่ ขีดความสามารถของคําสัง่ ตางๆ ทีใ่ ชในการขึน้ รูปโซลิด 3 มิติ และยังมี
การเพิ่มคําสั่ งใหมๆ ที่ชวยใหการขึ้นรูปวัตถุที่มีความซับซอนสามารถทําไดงายมากขึ้น จึงทําให
AutoCAD 2007 เปนเครื่องมือในการขึ้นรูปโซลิด 3 มิติที่ มีประสิทธิภาพคอนขางสูงในปจจุบัน
AutoCAD 2007 มีการเก็บประวัติ(Record history)การขึ้นรูปของโซลิดแตละชิ้น นั่นหมายถึงความ
สามารถทีเ่ รา จะยอนกลับไปแกไขจุดทีผ่ ดิ พลาดได ถึงแมวา โซลิดนัน้ จะผานการใชคําสัง่ Union
, Subtract หรือ Intersect มาแลวหลายๆ ครั้งก็ตาม เราจึงไมตองเสียเวลาลบโซลิดนั้นทิ้ง
แลวสรางโซลิด ขึน้ ใหมเหมือนในรีลสี กอนๆ นอกจากนี้ เรายังสามารถใชคําสัง่ Modify4Properties
เพื่ อแกไข เปลี่ ยนแปลงขนาด(Dimensions)ที่ แม นยําของโซลิ ดเรขาคณิตพื้ นฐาน อาทิ เช น
รู ป กล อง(Box) รู ป ทรงกลม(Sphere) รู ป ลิ่ ม (Wedge)และโซลิ ด เรขาคณิ ต พื้ น ฐานอื่ นๆ ได
รวมทั้งโซลิดเรขาคณิต พื้นฐานที่ผานการใชคําสั่ง Union , Subtract หรือ Intersect
มาแลวอีกดวย ความสามารถที่ เพิม่ ขึน้ ใหมใน AutoCAD 2007 นีจ้ งึ ชวยใหเราสามารถสรางภาพ 3
มิติไดอยางแมนยําและรวดเร็ว
ในการสรางโซลิดเรขาคณิตพืน้ ฐานใน AutoCAD 2007 นัน้ เหมือนกับวิธกี ารสราง Standard Primitives
ในโปรแกรม 3DSMAX คอนขางมาก เนื่องจากในขณะทีเ่ รากําลังสรางโซลิดเรขาคณิตพืน้ ฐานนัน้
เราจะสามารถมองเห็นการเปลีย่ นแปลงของความกวาง ความยาว ความสูง รัศมีและอืน่ ๆ ในเวลาจริง
(Real time) อนึง่ ในการสรางโซลิด 3 มิตใิ น AutoCAD 2007 เราสามารถใชเมาสคลิก เพือ่ สรางโซลิด
ขนาดคราวๆ ขึน้ มากอนเปนอับดับแรก แลวจึงใชคําสัง่ Modify4Properties แกไขโซลิดชิน้ นัน้
เพื่อใหมีขนาดที่ ถูกตองตามตองการหรือจะระบุขนาดที่ ถูกตองในขณะที่ กําลังทําการสรางโซลิด
เรขาคณิตพื้นฐานนั้นก็สามารถทําไดอยางรวดเร็ว
Note หลักการสรางโซลิดเรขาคณิตพืน้ ฐาน อาทิ เชน รูปกลอง(Box) รูปทรงกลม(Sphere) รูปลิม่ (Wedge)และ
โซลิดเรขาคณิตพืน้ ฐานอืน่ ๆ เมือ่ เราเรียกคําสัง่ ในการขึน้ รูปโซลิดเรขาคณิตพืน้ ฐานใดๆ ออกมาใชงาน
เราจะใชวิธีเลื่อนเคอรเซอรครอสแฮรไปบนระนาบ XY ของพื้นที่วาดภาพหรือเปดโหมดไดนามิก
ยูซีเอส(Dynamic UCS) แลวเลือ่ นเคอรเซอรครอสแฮรไปบนผิวหนา(Face)ของโซลิดทีม่ ีอยูแลว เพื่อ
กําหนดระนาบ XY ชั่วคราวบนผิวหนาของโซลิดนั้น เมื่อผิวหนานั้นปรากฏเปนเสนประ เราสามารถ
ใชเมาสคลิก เพือ่ กําหนดจุดแรกของโซลิดเรขาคณิตพืน้ ฐาน แลวทําการเลือ่ นเมาสเพือ่ สังเกตุการเปลีย่ น
แปลงของขนาดความกวาง ความยาว ความสูง รัศมีและอื่นๆ ในเวลาจริง เมื่อไดขนาดที่ตองการแลว
ก็สามารถใชเมาสคลิกเพือ่ กําหนดขนาดหรือจะปอนขนาดทีถ่ กู ตองตามตองการก็สามารถทําได

chap-07.PMD 101 12/10/2549, 21:41


102

กอนทีเ่ ราจะสามารถขึน้ รูปวัตถุ 3 มิตดิ ว ยวิธี Solid modeling ไดอยางมีประสิทธิภาพ เราควรทีจ่ ะศึกษา
วิธีการใชคําสัง่ ตางๆ ของ Solid modeling ซึง่ มีรายละเอียดดังตอไปนี้
2D Drafting
7.1 Draw4Modeling4Polysolid | POLYSOLID | PSOLID | |
ใชคําสั่งนีส้ ําหรับสรางผนัง(Wall)ตรงและโคง เราสามารถแปลง Line, Arc, 2D polyline (Rectangle,
Polygon), Donut, Ellipse, Circle ใหเปนผนังได เมือ่ เรียกคําสัง่ ออกมาใชงาน จะปรากฏขอความดังนี้

เสนโพลีไลน 2 มิติ รูปที่ 7.1 ผนังโพลีโ ซลิด

Command: _Polysolid {จากรูปที่ 7.1 }


Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] <Object>: H {พิม พตัวเลื อก H เพื่อกําหนดความสูง}
Specify height <80.0000>: 2.7 {พิมพคา ความสูง}
Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] <Object>: W {พิม พตัวเลือก W เพื่อกําหนดความกว าง}
Specify width <5.0000>: 0.1 {พิมพคา ความกวาง}
Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] <Object>: J {พิมพตัวเลือก J เพื่อจัด
ผนังชิดซาย กลาง หรือขวาของจุดที่ใชเมาสคลิกดังรูปที่ 7.2}
Enter justification [Left/Center/Right] <Center>: L {พิ ม พ ตั วเลื อก L เพื่ อจั ด ผนั ง ชิ ดซ าย
พิ มพตั วเลือก C หรื อกดปุ ม Q เพื่ อจัดผนั งชิ ดกลาง พิ มพตั วเลื อก R เพื่ อจั ดผนังชิ ดขวา}
Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] <Object>: {คลิ ก จุ ด เริ่ มต น ของผนั ง หรื อ
พิ มพตั วเลือก O หรื อกดปุ ม Q เพื่ อใช ตั วเลื อก Object เพื่ อแปลงวั ตถุ 2 มิติ ให เป นผนัง}
Specify next point or [Arc/Undo]: {คลิ ก จุ ดต อ ไปของผนั ง }
Specify next point or [Arc/Undo]: A {พิ ม พ ตั วเลื อก A เพื่ อเปลี่ ย นผนั ง ตรงเป น ผนั ง โค ง }
Specify endpoint of arc or [Close/Direction/Line/Second point/Undo]: {คลิ ก ณ ตํ า แหน ง จุ ด
ปลายของสวนโคง}
Specify next point or [Arc/Close/Undo]: Specify endpoint of arc or
[Close/Direction/Line/Second point/Undo]: L {พิ ม พ ตั วเลื อก L เพื่ อเปลี่ ย นโหมดผนั งโค ง เป นผนั ง ตรง}
Specify next point or [Arc/Close/Undo]: {คลิ ก จุ ดต อไปของผนั ง}
Specify next point or [Arc/Close/Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

รูปที่ 7.2

ชิดซาย(Left) ชิดกลาง(Center) ชิดขวา(Right)

chap-07.PMD 102 12/10/2549, 21:41


103
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

Note เราจะสังเกตุเห็นวาคาเริม่ ตนของความสูงของผนังมีคาเทากับ 80 หนวย และคาเริม่ ตนของความกวางมี


คาเทากับ 5 หนวย คาความสูง(Height)ถูกเก็บไวในตัวแปรระบบ PSOLHEIGHT สวนคาความกวาง
(Width)ถูกเก็บไว ในตั วแปรระบบ PSOLWIDTH เราสามารถเปลี่ ยนแปลงคาเริ่ มต นใหม ไวใน
เทมเพล็ทไฟล .dwt ไดตามตองการ

Note หลังจากที่ผนังถูกสรางขึ้นมาแลว เราสามารถใชคําสั่ง Modify4Properties กับผนังโพลีโซลิด


เราจะสังเกตุเห็นวาประเภทของโซลิด(Solid type)คือ Sweep หากเปนผนังทีม่ เี ซกเมนตเดียว เราสามารถ
แกไขคา Twist along path (การบิดตามแนวทางเดิน) และ Scale along path (การเปลี่ยนสเกลตาม
แนวทางเดิน)ไดดังรูปที่ 7.3

รูปที่ 7.3

ผนัง 1 เซกมนต

Scale along path = 2

Twist along path = 45

Note หลังจากทีผ่ นังถูกสรางขึน้ มาแลว เราสามารถเปลีย่ นแปลงขนาดและรูปทรงของผนัง โดยใชจดุ กริป๊ สที่


ปรากฏบนผนังหรือกดปุม E คางไวแลว คลิกบนจุดเวอรเทกซ(Vertex) เซกเมนต(Segment)หรือเฟส
(Face)ของผนังโพลีโซลิด เมื่อผนังนั้นถูกเลือก เราสามารถแกไขรูปทรงไดโดยการเคลื่อนยายจุด
เวอรเทกซ เซกเมนตและเฟสของผนังโพลีโซลิดเพือ่ ใหไดรปู ทรงทีต่ อ งการดังรูปที่ 7.4 เรายังสามารถ
กําหนดระยะที่เปลี่ยนแปลงโดยกําหนดตัวเลขที่เพิ่มขึ้นอยางแมนยําอีกดวย โดยการแกไขเพื่อใหได
ขนาดที่ถกู ตองนัน้ จะตองอางอิงจากขนาดเดิม แลวพิมพสว นทีเ่ พิ่มขึน้

รูปที่ 7.4

กอ น หลัง หลัง หลัง

Note จากรูปที่ 7.3 (ซาย) บนหนาตาง Properties เราจะเห็นวา History = Record นั่นหมายถึงหากเราเขียน
โซลิดรูปกลองสี่เหลี่ยมขึ้นมา แลวเจาะชองหนาตางดวยคําสั่ง Subtract ไปเรียบรอยแลว แต
ปรากฏวาขนาดของหนาตางนั้นไมถูกตอง เราสามารถแกไขขนาดหนาตางใหมได โดยกดปุม E
คางไว แลวเลื่ อนเคอรเซอรไปบนตําแหนงขอบหนาตางดังรูปที่ 7.5 (1) เมื่อกลองโซลิดที่ถูกหัก
ลบไปแลวปรากฏเปนเสนประดังรูปที่ 7.5 (2) ใหคลิกซาย จะปรากฏจุดกริป๊ สดงั รูปที่ 7.5 (3) ใหใชเมาส
คลิกบนจุดกริ๊ปสดานที่ตองการเคลื่อนยาย แลวเลื่อนเคอรเซอรไปทางขวาดังรูปที่ 7.5 (4) แลวพิมพ
ตัวเลขสวนตางหรือสวนทีอ่ อฟเซทจากขนาดเดิม จะปรากฏดังรูปที่ 7.5 (5) แตถา มีการกําหนด History
= None เราจะไมสามารถใชวิธีนี้ในการแกไขโซลิดได เนื่องจากไมมีการเก็บประวัติไว

chap-07.PMD 103 12/10/2549, 21:41


104

2D Drafting

(1) (2) (3)

รูปที่ 7.5

(4) (5)

Note ในขณะที่ปรากฏจุดกริ๊ปสบนโซลิดชองหนาตางที่ถูกหักลบดวยคําสั่ง Subtract ดังรูปที่ 7.5 (3)


นั้น หากเราใชคําสั่ง Modify4Properties กับโซลิดชองหนาตางทีถ่ ูกหักลบ เราจะสามารถแกไข
ขนาดความยาว ความกวางและความสูง โดยพิมพตัวเลขเขาไปบนอิดิทบอกซ Length, Width และ
Height บนหนาตาง Properties เพื่อใหไดชองหนาตางที่มีขนาดแมนยําตามตองการ

Note ในการเลือกโซลิดทีถ่ ูกหักลบไปแลว เมือ่ เราเลือ่ นเคอรเซอรครอสแฮรไปบนขอบหนาตาง แลวกดปุม


E คางไว ปรากฏวาผนังทั้งชิ้นกลายเปนเสนประ แตโซลิดชองหนาตางที่ถูกหักลบไมป รากฏ
ในขณะทีย่ งั คงกดปุม E ใหกดปุม Space bar บนคียบ อรด จะปรากฏโซลิดชองหนาตางทีถ่ กู หักลบ
หากกดปุม Space bar ตอๆ ไป จะเปนการสลับกันระหวางผนังกับโซลิดที่ถกู หักลบ เมื่อปรากฏโซลิด
ชองหนาตางแลว ใหคลิกซาย โซลิดชองหนาตางจึงจะถูกเลือก พรอมทัง้ ปรากฏจุดกริป๊ สบนโซลิด

Note ขอควรระวัง เราไมควรใชคําสัง่ Modify4Explode กับผนังโพลีโซลิด เพราะจะทําใหผนังโพลีโซลิด


ถูกแปลงใหกลายเปน Regions ยอยๆ หลายๆ ชิน้ ทําใหสญ
ู เสียคุณสมบัตขิ องโซลิด ไมสามารถใชคําสัง่
Union , Subtract หรือ Intersect อีกตอไปได

7.2 Draw4Modeling4Box | BOX | |


ใชคําสั่งนีใ้ นการสรางโซลิดรูปกลองสีเ่ หลีย่ มผืนผาหรือกลองสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั ดังรูปที่ 7.6

รูปที่ 7.6

Command: box {จากรูปที่ 7.6 }


Specify first corner or [Center]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ่ นเคอรเซอรไปยังมุมแรกของสวนฐาน
แลวคลิกซาย หรือพิมพตวั เลือก C เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลางของกลอง}
Specify other corner or [Cube/Length]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ ่ นเคอรเซอรไปยังมุมทะแยง

chap-07.PMD 104 12/10/2549, 21:41


105
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

ของสวนฐาน แลวคลิกซาย หรือพิมพตวั เลือก C เพือ่ สรางกลองสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั หรือพิมพ L เพือ่ กําหนด
ความยาว}
Specify height or [2Point]: {พิมพคา ความสูงหรือเลือ่ นเคอรเซอร เพือ่ ปรับคาความสูงหรือพิมพตวั เลือก 2P
เพือ่ ใชระยะหางของจุด 2 จุดในการกําหนดความสูง}

Note โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให โซลิดทุกประเภทไมวา จะสรางจากคําสัง่ ใดก็ตาม จะมีการบันทึกประวัติ


การใชคําสั่ง Union , Subtract และ Intersect เก็บไวโดยอัตโนมัติ โดยตัวแปรระบบ
SOLIDHIST จะถูกกําหนดใหมคี าเทากับ 1 หรือแถบรายการ History บนหนาตาง Properties จะเทากับ
Record หากเราไมตองการใหมีการบันทึกประวัติ เราสามารถกําหนด SOLIDHIST = 0 หรือกําหนด
History = None ไดเชนเดียวกัน

7.3 Draw4Modeling4Wedge | WEDGE | WE | |


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางโซลิดรูปลิม่ ดังรูปที่ 7.7
รูปที่ 7.7

Command: _wedge {จากรูปที่ 7.7 }


Specify first corner or [Center]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ่ นเคอรเซอรไปยังมุมแรกของสวนฐาน
ของดานทีม่ คี วามสูง แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก C เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลางของรูปลิม่ }
Specify other corner or [Cube/Length]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ ่ นเคอรเซอรไปยังมุมทะแยง
ของสวนฐานของดานทีม่ มี มุ แหลม แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก C เพือ่ สรางรูปลิม่ สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั หรือ
พิมพ L เพือ่ กําหนดความยาว}
Specify height or [2Point] <500.0000>: {พิมพคา ความสูงหรือเลือ ่ นเคอรเซอร เพือ่ ปรับคาความสูงหรือ
พิมพตวั เลือก 2P เพือ่ ใชระยะหางของจุด 2 จุดในการกําหนดความสูงของรูปลิม่ }

7.4 Draw4Modeling4Cone | CONE | |


ใชคําสั่งนีส้ ําหรับสรางโซลิดรูปกรวยหรือรูปกรวยฐานวงรีดงั รูปที่ 7.8
รูปที่ 7.8

Command: _cone {จากรูปที่ 7.8 }


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ่ นเคอรเซอร
ไปยังจุดศูนยกลางของสวนฐาน แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก 3P เพือ่ เขียนสวนฐานวงกลมผานจุด 3 จุด

chap-07.PMD 105 12/10/2549, 21:41


106

หรือพิมพตวั เลือก 2P เพือ่ เขียนสวนฐานวงกลมผานจุด 2 จุดหรือพิมพตวั เลือก T เพือ่ เขียนสวนฐานวงกลม


สัมผัสจุด 2 จุดและกําหนดรัศมีหรือเลือกตัวเลือก E เพือ่ เขียนสวนฐานรูปวงรี}
2D Drafting
Specify base radius or [Diameter] <250.0000>: {พิมพคา รัศมีหรือพิมพตวั เลือก D เพือ ่ กําหนดขนาด
เสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint/Top radius] <500.0000>: {พิมพคา ความสูงหรือเลือ ่น
เคอรเซอร เพือ่ ปรับคาความสูงหรือพิมพตวั เลือก 2P เพือ่ ใชระยะหางของจุด 2 จุดในการกําหนดความสูง
หรือพิมพตวั เลือก A เพือ่ กําหนดตําแหนงจุดยอดกรวยหรือพิมพตวั เลือก T เพือ่ กําหนดรัศมียอดกรวย }

7.5 Draw4Modeling4Sphere | SPHERE | |


ใชคําสั่งนีส้ ําหรับสรางรูปทรงกลมโซลิดดังรูปที่ 7.9

รูปที่ 7.9

Command: _sphere {จากรูปที่ 7.9 }


Specify center point or [3P/2P/Ttr]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดศูนยกลาง
แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก 3P เพือ่ เขียนรูปทรงกลมผานจุด 3 จุดใน 3 มิติ หรือพิมพตวั เลือก 2P เพือ่
เขียนสวนฐานวงกลมผานจุด 2 จุดใน 3 มิตหิ รือพิมพตวั เลือก T เพือ่ เขียนจุดสัมผัสจุด 2 จุดใน 3 มิตแิ ละ
กําหนดรัศมี}
Specify radius or [Diameter] <200.0000>: {พิมพคา รัศมีหรือพิมพตวั เลือก D เพือ ่ กําหนดขนาดเสน
ผาศูนยกลาง}

7.6 Draw4Modeling4Cylinder | CYLINDER | CYL | |


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางรูปทรงกระบอกหรือรูปทรงกระบอกฐานรูปวงรีดงั รูปที่ 7.10

รูปที่ 7.10

Command: _cylinder {จากรูปที่ 7.10 }


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ่ นเคอรเซอร
ไปยังจุดศูนยกลางของสวนฐาน แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก 3P เพือ่ เขียนสวนฐานวงกลมผานจุด 3 จุด
หรือพิมพตวั เลือก 2P เพือ่ เขียนสวนฐานวงกลมผานจุด 2 จุดหรือพิมพตวั เลือก T เพือ่ เขียนสวนฐานวงกลม
สัมผัสจุด 2 จุดและกําหนดรัศมีหรือเลือกตัวเลือก E เพือ่ เขียนสวนฐานรูปวงรี}
Specify base radius or [Diameter] <75.0000>: {พิมพคา รัศมีหรือพิมพตวั เลือก D เพือ ่ กําหนดขนาด
เสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint] <150.0000>: {พิมพคา ความสูงหรือเลือ ่ นเคอรเซอร
เพือ่ ปรับคาความสูงหรือพิมพตวั เลือก 2P เพือ่ ใชระยะหางของจุด 2 จุดในการกําหนดความสูงหรือพิมพ
ตัวเลือก A เพือ่ กําหนดตําแหนงจุดยอดของทรงกระบอก}

chap-07.PMD 106 12/10/2549, 21:41


107
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

7.7 Draw4Modeling4Torus | TORUS | TOR | |


ใชคําสั่งนีส้ ําหรับสรางโซลิดรูปขนมโดนัทหรือทอรัสดังรูปที่ 7.11
รูปที่ 7.11

Command: _torus {จากรูปที่ 7.11 }


Specify center point or [3P/2P/Ttr]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทหรือเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดศูนยกลางของ
ทอรัส แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก 3P เพือ่ เขียนวงกลมทอรัสผานจุด 3 จุดใน 3 มิตหิ รือพิมพตวั เลือก 2P
เพือ่ เขียนวงกลมทอรัสผานจุด 2 จุดใน 2 มิตหิ รือพิมพตวั เลือก T เพือ่ เขียนสวนฐานวงกลมสัมผัสจุด 2 จุด
และกําหนดรัศมี}
Specify radius or [Diameter] <100.0000>: {พิมพคา รัศมีของทอรัสหรือพิมพตวั เลือก D เพือ ่ กําหนด
ขนาดเสนผาศูนยกลางของทอรัส}
Specify tube radius or [2Point/Diameter] <20.0000>: {พิมพคา รัศมีทอ  หรือพิมพ 2P เพือ่ กําหนด
รัศมีทอ ผานจุด 2 จุดพิมพตวั เลือก D เพือ่ กําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางทอ}

7.8 Draw4Modeling4Pyramid | PYRAMID | PYR | |


ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางโซลิดปรามิดฐานรูปหลายเหลีย่ มดังรูปที่ 7.12
รูปที่ 7.12

Command: _pyramid {จากรูปที่ 7.12 }


4 sides Circumscribed {โปรแกรมรายงานจํานวนดานของฐาน 4 ดาน และมีดา นสัมผัสรัศมีทกี่ าํ หนด}
Specify center point of base or [Edge/Sides]: {พิมพคา คอรออรดเิ นทของจุดศูนยกลางของสวนฐาน
หรือเลือ่ นเคอรเซอร ไปยังจุดศูนยกลางของสวนฐาน แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก E เพือ่ กําหนดความ
ยาวดานแตละดานของสวนฐานหรือพิมพตวั เลือก S เพือ่ กําหนดจํานวนดานของสวนฐานของปรามิด}
Specify base radius or [Inscribed] <68.0023>: {พิมพคา รัศมีของสวนฐานหรือเลือ ่ นเคอรเซอร
เพือ่ กําหนดรัศมี แลวคลิกซายหรือพิมพตวั เลือก I เพือ่ กําหนดใหมมุ ของสวนฐานสัมผัสรัศมีทกี่ าํ หนด}
Specify height or [2Point/Axis endpoint/Top radius] <100.0000>: {พิมพคา ความสูงหรือเลือ ่น
เคอรเซอร เพือ่ ปรับคาความสูงหรือพิมพตวั เลือก 2P เพือ่ ใชระยะหางของจุด 2 จุดในการกําหนดความสูง
หรือพิมพตวั เลือก A เพือ่ กําหนดตําแหนงจุดยอดปรามิดหรือพิมพตวั เลือก T เพือ่ กําหนดรัศมียอดปรามิด}

Note การเขียนสวนฐานของโซลิดปรามิดนัน้ มีวิธกี ารเหมือนกับการใชคําสัง่ Draw4Polygon ใน 2 มิติ


ทุกประการ หากใชวธิ ีกําหนดจุดศูนยกลางของสวนฐาน เราจะตองเลือกระหวาง Inscribed (มุมเหลีย่ ม
ของสวนฐานจะสัมผัสรัศมี) กับ Circumscribed (ดานของสวนฐานจะสัมผัสรัศมี) หากเราตองการ
กําหนดความยาวดานแตละดานของรูปหลายเหลีย่ มสวนฐาน เราสามารถใชตวั เลือก E ไดเชนเดียวกัน

chap-07.PMD 107 12/10/2549, 21:41


108

7.9 Draw4Modeling4Extrude | EXTRUDE | EXT | |


ใชคาํ สัง่ นีส้ ําหรับกําหนดความหนาใหกบั วัตถุ 2 มิตแิ บบเปดและแบบปด ความหนาของวัตถุจะเกิดขึน้ 2D Drafting
ในแนวแกน Z ของ UCS ทีใ่ ชในการสรางวัตถุ 2 มิตนิ นั้ ซึง่ เราจะเห็นการเปลีย่ นแปลงความหนาในเวลา
จริง(Real time)ในขณะทีก่ ําลังใชคําสัง่ วัตถุ 2 มิตทิ ส่ี ามารถนํามาใชคําสัง่ นีค้ อื LINE, ARC, CIRCLE,
ELLIPSE, POLYLINE, SPLINE, POLYGON, RECTANG, DONUT, 2D SOLID, 3DFACE และ
REGION ดังรูปที่ 7.13 หากใชคําสัง่ นี้กบั วัตถุ 2 มิติแบบเปด วัตถุ 3 มิติทไ่ี ดคือเซอรเฟส(Surface)
หากใชคําสัง่ นีก้ บั วัตถุ 2 มิติแบบปด วัตถุ 3 มิตทิ ไ่ี ดคือโซลิด(Solid)

รูปที่ 7.13

LINE PLINE ARC SPLINE ELLIPSE

CIRCLE ELLIPSE PLINE SPLINE 2D SOLID

POLYGON RECTANG DONUT REGION 3DFACE

Command: _extrude {จากรูปที่ 7.13 }


Current wire frame density: ISOLINES=4 {รายงานจํานวนเสนโครงลวดทีป่ รากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพ}
Select objects to extrude: {คลิกบน CIRCLE, ELLIPSE, POLYLINE, SPLINE, POLYGON,
RECTANG, DONUT, SOLID, 3DFACE และ REGION ทัง้ แบบเปดและแบบปด}
Select objects to extrude: {คลิกขวาหรือQ}
Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle] <0.0000>: 40 {พิมพคา ความ
หนาหรือเลือ่ นเคอรเซอร เพือ่ เปลีย่ นแปลงความหนา แลวคลิกซายหรือเลือกตัวเลือก D เพือ่ กําหนดทิศทาง
ของการเพิม่ ความหนาหรือพิมพ P เพือ่ เลือกการเพิม่ ความหนาไปตามแนวทางเดิน (Path)หรือพิมพ T
เพือ่ กําหนดความลาดเอียงหรือมุมเรียวของวัตถุ วัตถุ 2 มิตจิ ะมีความหนาเพิม่ ขึน้ ดังรูปที่ 7.14}

รูปที่ 7.14

Note จากรูปที่ 7.14 เราจะเห็นวาวัตถุ 2 มิตแิ บบเปดทีอ่ ยูแ ถวบนสุดทัง้ หมดถูกแปลงใหเปนเซอรเฟส 3 มิตทิ มี่ ี
ความหนา สวนวัตถุ 2 มิตทิ ี่อยูสองแถวลางทั้งหมดถูกแปลงใหกลายเปนโซลิด 3 มิติที่มีความหนา

chap-07.PMD 108 12/10/2549, 21:41


109
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

Note เสนตรง LINE และเสนโคง ARCหลายๆ เซกเมนตทเี่ ชือ่ มตอกันจนเปนวัตถุแบบปด หากมิไดแปลงให


เปนโพลีไลนชิ้นเดียวหรือแปลงใหเปนรีเจี้ยน(Region)เสียกอน วัตถุที่ไดจากคําสัง่ นี้จะเปนเซอรเฟส

Note POLYLINE หรือวัตถุ 2 มิติที่สรางจากคําสั่ง LINE และ ARC ทีจ่ ะนํามาใชกับคําสั่งนี้ หากมีเสนสวน
เกินยื่นออกดานนอกเพียงเล็กนอยหรือไมตอ ชนกันจริงหรือมีเสนตัดกันหรือไมไดใช Object snap ใน
การกําหนดตําแหนงเพือ่ เชื่อมตอเสนดังรูปที่ 7.15 วัตถุที่ถกู สรางขึน้ จากคําสัง่ นี้จะกลายเปนเซอรเฟส
และถาหากตองการใหแนใจวาวัตถุ 2 มิตทิ จี่ ะถูกสรางขึน้ นัน้ เปนโซลิด เราควรทีจ่ ะแปลงวัตถุ 2 มิตแิ บบ
ปดใหกลายเปน Region เสียกอน เพราะหากวัตถุ 2 มิติเปนแบบเปดหรือมีสวนยื่นเพียงเล็กนอยหรือ
ไมไดตอ ชนกันจริงหรือมีเสนตัดกัน โปรแกรมจะมียอมแปลงวัตถุ 2 มิตนิ ั้นใหเปน Region

เสนสวนเกิน เสนไมตอ กันจริง


รูปที่ 7.15
เสนทับกัน

เสนสวนเกิน

เราสามารถใช Path เปนทางเดินในการสรางวัตถุ 3 มิตไิ ด โดยนํา LINE, PLINE, CIRCLE, RECTANG,


POLYGON, SPLINE แบบ 2 มิติหรือ 3DPOLY (ซึง่ เปนเสนแบบเปดหรือแบบปดก็ได)มากําหนด
เปน Path ซึง่ เราจะตองเลือกตัวเลือก Path โดยพิมพ P ในบรรทัดขอความ Specify height of extrusion
or [Direction/Path/Taper angle] <0.0000>: จะปรากฏขอความ Select extrusion path or [Taper angle]:
ซึง่ เราสามารถใชเมาสคลิกลงบน Path ทีต่ องการ จะทําใหเกิดวัตถุ 3 มิตวิ ิ่งตามตามเสนทางของวัตถุ
ทีน่ ํามาใชเปน Path ดังรูปที่ 7.16
รูปที่ 7.16

กอ น หลัง

Note สวนทีเ่ ปนหนาตัดจะตองใช PLINE แบบปดหรือ REGION วัตถุทถี่ กู สรางขึน้ จึงจะเปนโซลิด สวนทีเ่ ปน
Path จะใช LINE, PLINE, CIRCLE, RECTANG, POLYGON, SPLINE แบบ 2 มิติหรือ 3DPOLY
เราไมสามารถนํา SPLINE ทีม่ ีการกําหนดตําแหนงใน 3 มิตหิ รือไมขนานไปกับระนาบใดระนาบหนึง่
(Non planar)มาใชเปน Path หากตองการเขียน Path ใน 3 มิติเชื่อมตอกันอยางตอเนื่อง ควรใชคําสั่ง
3DPOLY แทน

Note การเขียน Path สําหรับนํามาใชกับคําสั่ง EXTRUDE หากเราใช LINE หรือ ARC หลายๆ สวนมาเชื่อม
ตอกัน เราควรจะแปลง LINE และ ARC เหลานั้น ใหเปนวัตถุเดียวกันดวยคําสั่ง Modify4Object4
Polyline หรือ PEDIT/Join เสียกอน เพื่ อที่เราจะไดไมตองเสียเวลากับการใชคําสั่ง Draw4
Modeling4Extrude กับแตละชวงของ LINE และ ARC เหลานั้น

chap-07.PMD 109 12/10/2549, 21:41


110

2D Drafting

Extrude ปกติ รูปที่ 7.17 Extrude กําหนด Direction

ในบรรทัดขอความ Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle] <0.0000>: หากเลือก


ตัวเลือก D จะปรากฏขอความ Specify start point of direction: เราสามารถพิมพคา คอรออรดิเนทหรือ
ใชเมาสคลิกเพือ่ กําหนดจุดเริม่ ตนของเวคเตอรกําหนดทิศทางการเพิม่ ความหนา เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify end point of direction: เราสามารถพิมพคา คอรออรดเิ นทหรือ ใชเมาสคลิกเพือ่ กําหนดจุดสิน้ สุด
ของเวคเตอรกําหนดทิศทางการเพิม่ ความหนา หาก Extrude แบบปกติ จะปรากฏดังรูปที่ 7.17 (ซาย)
แตถา หากใชตัวเลือก Direction จะปรากฏดังรูปที่ 7.17 (ขวา)
REGION

สูง 300 หนวย มุมเรียว 15 องศา

รูปที่ 7.18

ในบรรทัดขอความ Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle] <0.0000>: หากเลือก


ตัวเลือก T จะปรากฏขอความ Specify angle of taper for extrusion <0>: เราสามารถกําหนดมุมเรียวหรือ
มุมถอดแบบ(Draft angle)ใหกบั วัตถุ 3 มิตไิ ด โดยพิมพคา มุมเรียวทีต่ องการ คามุมเรียวเปนบวก จะเกิด
มุมเรียวเขา คามุมเรียวเปนลบ จะเกิดมุมเรียวออก คามุมทีส่ ามารถใชไดอยูร ะหวาง 0 ถึง <90 หรือ 0
ถึง <-90 องศา และยังขึน้ อยูก ับความยาวและมุมทีก่ ําหนดอีกดวยดังรูปที่ 7.18
Note เมือ่ มีการกําหนดมุมเรียวใหวตั ถุ หากเราไมสามารถสรางวัตถุได จะปรากฏขอความ Unable to extrude
the selected object. นั่นหมายความวาเราไดกําหนดความหนาของวัตถุมากกวาคามุมเรียวจึงทําใหเกิด
การตัดกันของเนื้อวัตถุ โปรแกรมจึงไมสามารถสรางมุมเรียวได หากตองการแกไข เราสามารถลดคา
ความหนา(Height of extrusion)หรือลดคามุมเรียว(Extrusion taper angle) จนกวาจะไมมสี ว นของวัตถุที่
ตัดกัน โปรแกรมจึงจะสรางวัตถุ 3 มิติดวยคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude ได

ในการสรางโซลิด 3 มิติดวยคําสัง่ นี้ เรายังสามารถใชผิวหนาของโซลิดหรือเซอรเฟสแบบแบนเรียบ


เปนหนาตัดในการสรางโซลิดใหมดังรูปที่ 7.19 (ซาย) ในขณะที่ปรากฏขอความ Select objects to
extrude: กดปุม E คางไว แลวคลิกบนผิวหนาของโซลิด จนกระทัง่ ผิวหนาโซลิดปรากฏเปนเสน
ประหรือคลิกบนเซอรเฟสแบบแบนเรียบ เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion เราสามารถ
กําหนดความหนาเพื่อสรางโซลิดใหมจากผิวหนาของโซลิดเดิมหรือสรางโซลิดจากเซอรเฟสดังรูปที่
7.19 (ขวา)

chap-07.PMD 110 12/10/2549, 21:41


111
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling
ผิวหนาโซลิดทีถ่ กู เลือก รูปที่ 7.19 โซลิดที่ได

กอ น เซอรเฟสทีถ่ กู เลือก หลัง

7.10 Draw4Modeling4Revolve | REVOLVE | REV | |


ใชสําหรับสรางโซลิดหรือเซอรเฟส 3 มิตดิ ว ยวิธกี ารหมุนหนาตัดวัตถุ 2 มิตริ อบแกนทีก่ ําหนด เชนเดียว
กับคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude หนาตัดของวัตถุทจี่ ะนํามาหมุนรอบแกนอาจจะเปนวัตถุ
2 มิตแิ บบปดหรือแบบเปดก็ได อาทิ เชน ARC, LINE, CIRCLE, ELLIPSE, POLYLINE, SPLINE,
POLYGON, RECTANG, DONUT, 2D SOLID, 3DFACE และ REGION ดังรูปที่ 7.20 หากใช
คําสัง่ นีก้ บั วัตถุ 2 มิตแิ บบเปด วัตถุ 3 มิตทิ ไ่ี ดคอื เซอรเฟส(Surface) หากใชคําสัง่ นีก้ บั วัตถุ 2 มิตแิ บบปด
วัตถุ 3 มิตทิ ไ่ี ดคือโซลิด(Solid)
Region

แกนหมุน

โซลิด โซลิด โซลิด

จุดแรกทีก่ ําหนดแกนหมุน หมุน 360 องศา รูปที่ 7.20 หมุน 180 องศาทวนเข็มนาฬิกา หมุน -180 องศาตามเข็มนาฬิกา
แกนหมุน

เซอรเฟส เซอรเฟส เซอรเฟส

วัตถุ 2 มิตแิ บบเปด หมุน 360 องศา หมุน 180 องศาทวนเข็มนาฬิกา หมุน -180 องศาตามเข็มนาฬิกา

Command: _revolve
Current wire frame density: ISOLINES=4 {รายงานจํานวนเสนโครงลวดทีป่ รากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพ}
Select objects to revolve: {คลิกบน LINE, ARC, CIRCLE, ELLIPSE, POLYLINE, SPLINE,
POLYGON, RECTANG, DONUT, SOLID, 3DFACE และ REGION}
Select objects to revolve: {คลิกขวาหรือQ}
Specify axis start point or define axis by [Object/X/Y/Z] <Object>: {ใชเมาสคลิกรวมกับ
ออฟเจกทสแนปกําหนดปลายดานหนึง่ ของแกนหมุนหรือพิมพ O เพือ่ เลือกแกนหมุนจากวัตถุหรือพิมพ X
เพือ่ ใชแกน X ของ UCS ใชงานเปนแกนหมุนหรือพิมพ Y เพือ่ ใชแกน Y ของ UCS ใชงานเปนแกนหมุน}

chap-07.PMD 111 12/10/2549, 21:41


112

Specify axis endpoint: {ใชเมาสคลิกรวมกับออฟเจกทสแนปกําหนดปลายอีกดานหนึง่ ของแกนหมุน}


{พิมพคา มุมทีต่ อ งการหมุนหรือ Q เพือ่
Specify angle of revolution or [STart angle] <360>:
หมุนรอบวงกลม} 2D Drafting
Note หากใชเมาสคลิกในการกําหนดแกนหมุนและกําหนดคามุมนอยกวา 360 องศา วัตถุจะใชจดุ แรกทีเ่ ราใช
เมาสคลิ กเปนตั วกําหนดการหมุนทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิ กา จุดแรกที่ใชเมาสคลิกจะเทียบเทา
คอรออรดเิ นท 0,0,0 ซึง่ ใชเปนจุดเริม่ ตนของแกนหมุน

Note ในการสรางโซลิด 3 มิติดวยคําสั่งนี้ เรายังสามารถใชผิวหนาของโซลิดหรือเซอรเฟสแบบแบนเรียบ


ที่มีอยูแลวเปนหนาตัดในการสรางโซลิดใหมไดเชนเดียวกับคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude
จึงชวยทํางานไดรวดเร็วมากขึน้ เพราะเราไมตอ งเสียเวลาในการเขียนวัตถุ 2 มิตขิ นึ้ มาเปนหนาตัดใหม
เพราะเราสามารถใชคําสัง่ นีก้ ับผิวหนาของโซลิดหรือเซอรเฟสแบบแบนราบไดโดยตรง

7.11 Draw4Modeling4Sweep | SWEEP | |


ใชสําหรับสรางโซลิดหรือเซอรเฟส 3 มิติดวยวิธีการกวาดหนาตัด(Profile)ของวัตถุ 2 มิติวิ่งไปตาม
ทางเดิน(Path) วัตถุ 2 มิตทิ ส่ี ามารถใชเปนหนาตัด(Profile)ไดคอื Line, Arc, Elliptical arc, 2D polyline,
2D spline, Circle, Ellipse, Planar 3D face, 2D solid, Trace, Region, Planar surface (เซอรเฟสแบบ
แบนราบ), Planar faces of solid (ผิวหนาเรียบของโซลิด) วัตถุทสี่ ามารถใชเปนทางเดิน(Path)ไดคอื
Line, Arc, Elliptical arc, 2D polyline, 2D spline, Circle, Ellipse, 3D spline, 3D polyline, Helix, Edges
of solids or surface (เสนขอบของโซลิดหรือเซอรเฟส) หากใชคําสัง่ นีก้ บั วัตถุ 2 มิตแิ บบเปด วัตถุ 3
มิตทิ ไ่ี ดคอื เซอรเฟส(Surface) หากใชคําสัง่ นีก้ บั วัตถุ 2 มิตแิ บบปด วัตถุ 3 มิตทิ ไ่ี ดคอื โซลิด(Solid) คําสัง่
นีท้ ํางานคลายกับคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude แตสามารถควบคุมการหมุนหนาตัด การปรับ
สเกล(Scale)หนาตั ดตลอดความยาว Path และยั งสามารถบิด(Twist)หนาตัดตามแนวแกน Path
อีกประการหนึง่ หนาตัดของโซลิดทีส่ รางจากคําสัง่ นีจ้ ะตัง้ ฉากกับทางเดิน (Path)เสมอ ไมเหมือนกับ
โซลิดที่สรางจากคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude ซึง่ ไมสามารถควบคุมหนาตัดใหตั้งฉากกับ
ทางเดิน(Path)ได
รูปที่ 7.21

spline path

Helix path

Command: _sweep {จากรูปที่ 7.21 }


Current wire frame density: ISOLINES=4 {รายงานจํานวนเสนโครงลวดทีป่ รากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพ}

chap-07.PMD 112 12/10/2549, 21:41


113
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

Select objects to sweep: {คลิกบนวัตถุชนิ้ เดียวหรือหลายชิน้ ทีต่ อ งการใชเปนหนาตัด อาทิ เชน Line, Arc,
Elliptical arc, 2D polyline, 2D spline, Circle, Ellipse, Planar 3D face, 2D solid, Trace, Region,
Planar surface (เซอรเฟสแบบแบนราบ), หรือ Planar faces of solid (ผิวหนาเรียบของโซลิด)
Select objects to sweep: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกหนาตัด}
Select sweep path or [Alignment/Base point/Scale/Twist]: {คลิกบนทางเดิน(Path) อาทิ เชน
Line, Arc, Elliptical arc, 2D polyline, 2D spline, Circle, Ellipse, 3D spline, 3D polyline, Helix หรือ
Edges of solids or surface (เสนขอบของโซลิดหรือเซอรเฟส) หรือพิมพตวั เลือก A เพือ่ ปรับหนาตัดให
ตัง้ ฉากหรือไมตงั้ ฉากกับทางเดิน(Path)หรือพิมพตวั เลือก B เพือ่ กําหนดจุดทีใ่ ชวางหนาตัดลงบน Path
หรือพิมพ S เพือ่ กําหนดสเกลของหนาตัดทีอ่ ยูต รงจุดปลายของ Path เพือ่ ใหหนาตัดทีจ่ ดุ ปลาย Path
มีขนาดใหญขนึ้ หรือเล็กลงตามสเกลแฟคเตอรทกี่ าํ หนดหรือพิมพตวั เลือก T เพือ่ ระบุมมุ ในการบิดหนาตัด
คามุมบิดทีใ่ ชไดจะตองนอยกวา 360 องศา จะปรากฏดังรูปที่ 7.22}

Scale = 0.01

โซลิด โซลิด เซอรเฟส โซลิด


รูปที่ 7.22
Scale = 0.01
โซลิด เซอรเฟส Twist = 359°
โซลิด
โซลิด

โซลิด

Note หลังจากที่เราไดสรางโซลิดจากคําสั่งนี้แลว เราสามารถใชคําสั่ง Modify4Properties เพือ่ แกไข


คุณสมบัตขิ องโซลิด อาทิ เชน มุมการหมุนหนาตัด(Profile rotation) มุมบิดตามแนวพาธ(Twist along
path) และสเกลตามแนวพาธ(Scale along path) ไดโดยไมตองลบโซลิดแลวสรางใหม

Note ไมวาเราจะใชคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude , Draw4Modeling4Revolve หรือ Draw


4Modeling4Sweep และคําสั่งอื่นๆ ที่ตองอาศัยหนาตัด(Profile)ในการขึ้นรูป หากเราไมตอง
การใหโปรแกรมลบวัตถุที่ใชเปนหนาตัด(Profile)ใหเราโดยอัตโนมัติ เราสามารถใชคําสั่ง Tools4
Options คลิกแถบคําสั่ง 3D Modeling แลวเลือก Retain defining geometry จากแถบรายการ Deletion
control while creating 3D objects คลิกบนปุม Apply และ OK หรือพิมพตวั แปรระบบ DELOBJ ผาน
บรรทัดปอนคําสั่ง Command: แลวกําหนดคา 0 (ศูนย) ไดเชนเดียวกัน

Note การเขียนหนาตัด(Profile) และพาธ(Path) ในคําสัง่ นี้ เราสามารถวางหนาตัดและพาธ ณ ตําแหนงใดๆ


บนพืน้ วาดภาพได โดยไมตอ งสนใจทิศทางการหันเหของหนาตัด(Profile) แตเราจะตองวางพาธ(Path)
ใหอยูในตําแหนงทีถ่ ูกตอง เพราะโปรแกรมจะสรางโซลิดโดยอางอิงจากพาธ(Path)เปนหลัก

chap-07.PMD 113 12/10/2549, 21:41


114

7.12 Draw4Modeling4Loft | LOFT | |


ใชคําสั่ งนี้ สําหรับสรางโซลิดหรือเซอรเฟส 3 มิติดวยวิธีการสรางพื้ นผิวผานพื้นที่หนาตัด(Cross 2D Drafting
Sections)หลายๆ หนาตัด ซึง่ แตละหนาตัดจะถูกสรางใหมรี ะยะหางกันใน 3 มิตดิ ังรูปที่ 7.23 (1) และ
7.23 (2) หากใชคําสัง่ นีก้ บั หนาตัด 2 มิตแิ บบปด วัตถุ 3 มิตทิ ไ่ี ดคอื โซลิด (Solid)ดังรูปที่ 7.23 (3) หากใช
คําสัง่ นีก้ บั หนาตัด 2 มิตแิ บบเปดวัตถุ 3 มิตทิ ไ่ี ดคือเซอรเฟส(Surface)ดังรูปที่ 7.23 (4) ในการสราง
หนาตัด (Cross Sections)สําหรับคําสัง่ นี้ เราจะตองสรางหนาตัดอยางนอยทีส่ ดุ 2 หนาตัดและควรสราง
เลเยอร(Layer)ขึ้นมาควบคุมการปรากฏของแตละหนาตัดตามจํานวนของหนาตัดดวย เพื่อใหเรา
สามารถแสดงหรือซอนหนาตัดทีย่ ังไมตอ งการใหปรากฏในขณะทีก่ ําลังเขียนหนาตัดใดๆ อยู
(2) (4)
รูปที่ 7.23 โซลิด
เซอรเฟส

Cross section Cross section

(1) (3)

Command: _loft {จากรูปที่ 7.23 (1) และ (2) }


Select cross-sections in lofting order: 1 found {คลิกบนหนาตัดที่ 1}
Select cross-sections in lofting order: 1 found, 2 total {คลิกบนหนาตัดที่ 2}
Select cross-sections in lofting order: 1 found, 3 total {คลิกบนหนาตัดที่ 3}
Select cross-sections in lofting order: 1 found, 4 total {คลิกบนหนาตัดที่ 4}
Select cross-sections in lofting order: 1 found, 5 total {คลิกบนหนาตัดที่ 5}
Select cross-sections in lofting order: 1 found, 6 total {คลิกบนหนาตัดที่ 6}
Select cross-sections in lofting order: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกหนาตัด}
Enter an option [Guides/Path/Cross-sections only] <Cross-sections only>: {พิมพ
ตัวเลือก G แลวเลือกเสนนําสวนโคงหรือพิมพตวั เลือก P แลวเลือกเสนทางเดินพาธหรือคลิกขวาหรือ
กดปุม Q เพือ่ ใชเฉพาะหนาตัดทีถ่ กู เลือกเทานัน้ จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.24

เมือ่ ปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.24 ใหเลือกโหมดควบคุม


การสรางพืน้ ผิวแบบตางๆ Ruled คือการสรางพืน้ ผิวเปน
เสนตรง Smooth Fit คือการสรางพืน้ ผิวแบบโคงราบเรียบ
Normal to คือการสรางพื้ นผิ วแบบตั้ งฉากกับหน าตั ด
Draft angle คือการสรางพื้ นผิ วโดยกําหนดมุมเริ่ มตน
(Start angle)ของหนาตัดแรกและมุมสิ้นสุดของหนาตัด
สุ ดท าย(End angle) โดยมีตั วอยางการกําหนดตั วเลือก
ตางๆ ดังปรากฏในรูปที่ 7.25
รูปที่ 7.24

chap-07.PMD 114 12/10/2549, 21:41


115
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

Ruled Smooth Fit Normal to Normal to Normal to Normal to


All cross sections Start cross sections End cross sections Start and End cross
รูปที่ 7.25 sections

Draft Angle Draft Angle Draft Angle Draft Angle Draft Angle Draft Angle
Start angle = 45 Start angle = 0 Start angle = 90 Start angle = 90 Start angle = 0 Start angle = 180
End angle = 90 End angle = 90 End angle = 45 End angle = 0 End angle = 0 End angle = 180

หากเราตองการบังคับใหพนื้ ผิวทีถ่ กู สรางขึน้ วิง่ ไปตามทางเดินพาธ(Path) แทนทีจ่ ะเชือ่ มโยงหนาตัด


เปนเสนตรงตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ในขณะทีป่ รากฏบรรทัดขอความ Enter an option [Guides/
Path/Cross-sections only] <Cross-sections only>: เราสามารถเลือกตัวเลือก P แลวเลือกเสนพาธ
ทีน่ ํามาใชในการควบคุมการสรางพืน้ ผิวดังปรากฏในรูปที่ 7.26 (ซาย) เมือ่ โซลิดถูกสรางขึน้ เราจะเห็น
วาสวนโคงของโซลิดถูกควบคุมดวย Path ดังรูปที่ 7.26 (กลาง) และ (ขวา)
Path
รูปที่ 7.26
Cross section

Cross section

หากเราตองการบังคับใหพนื้ ผิวทีถ่ ูกสรางขึน้ ควบคุมรูปรางดวยเสนควบคุมสวนโคง(Guides)หลายๆ


เสน แทนทีจ่ ะเชือ่ มโยงหนาตัด เปนเสนตรงตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ในขณะทีป่ รากฏบรรทัด
ขอความ Enter an option [Guides/Path/Cross-sections only] <Cross-sections only>: เราสามารถเลือก
ตัวเลือก G แลวเลือกเสนนําทาง(Guides)ที่นํามาใชในการควบคุมการสรางพื้นผิวดังปรากฏในรูปที่
7.27 (ซาย-บน) เมื่อโซลิดถูกสรางขึน้ เราจะเห็นวาสวนโคงของโซลิดถูกควบคุมดวย Guides ดังรูปที่
7.27 (ขวา) (ลาง-ซาย) (ลาง-กลาง) และ (ลาง-ขวา) ในการสราง Guides จุดสําคัญคือเสนโคง Guide
จะตองตัดกับทุกๆ หนาตัด Cross sections และจะตองมีจดุ เริม่ ตนอยูบ นหนาตัด Cross sections แรก
และมีจดุ สิ้นสุดอยูบ นหนาตัด Cross sections สุดทายเสมอ

chap-07.PMD 115 12/10/2549, 21:41


116

Cross section
Guide curve
Guide curve Guide curve
2D Drafting
Cross section
รูปที่ 7.27

Note วัตถุที่สามารถนํามาใชเปน Cross section คือ Line, Arc, Elliptical arc, 2D polyline, 2D spline,
Circle, Ellipse, Points (จุดสามารถใชเปนหนาตัดแรกและหนาตัดสุดทายเทานั้น) ในกรณีที่ Cross
section แตละระดับมีวตั ถุหลายๆ ชิน้ เปนสวนประกอบ ถาเราตองการสรางโซลิด เราจะตองแปลงวัตถุ
เหลานัน้ ใหกลายเปน Polyline เพียงชิน้ เดียวเสียกอน มิฉะนัน้ เซอรเฟสจะถูกสรางขึน้ วัตถุทสี่ ามารถนํา
มาใชเปน Path คือ Line, Arc, Elliptical arc, 3D Spline, Helix, Circle, Ellipse, 2D polyline, 3D
polyline วัตถุที่สามารถนํามาใชเปน Guide คือ Line, Arc, Elliptical arc, 2D spline, 3D Spline, 2D
polyline, 3D polyline

Note ในการเลือกหนาตัด Cross section ในคําสัง่ นี้ เราจะตองคลิกหนาตัดเรียงไปตามลําดับ แตจะเลือกหนาตัด


ดานใดกอนก็ได หนาตัดที่ถูกเลือกกอนจะถูกกําหนดเปน Start section หนาตัดที่ถูกเลือกหลังจะถูก
กําหนดเปน End section

7.13 การสรางตัวอักษร 3 มิติ


ในการสรางโซลิดตัวอักษร 3 มิติ เราจะเขียนตัวอักษรดวยคําสั่ง Draw4Text4Multiline Text
แตถา ใชคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text เราจะตองใชคําสัง่ Format4Text Style แลว
เลือกฟอนทฟอรแมต .ttf เทานัน้ เมือ่ เขียนตัวอักษรใหปรากฏดังรูปที่ 7.28 เรียบรอยแลว เราจะตอง

รูปที่ 7.28

chap-07.PMD 116 12/10/2549, 21:41


117
การขึ้นรูปวัตถุดวย Solid Modeling

แปลงตัวอักษรซึง่ เปนวัตถุประเภท Shape ใหกลายเปนเสนโพลีไลนเสียกอน โดยใชคําสัง่ Express4


Text4Explode Text จะปรากฏขอความดังนี้
Command: txtexp {จากรูปที่ 7.28 }
Select text to be EXPLODED:
Select objects: {คลิกบนตัวอักษรตรงจุดที่ 1 ในวิวพอรท Top }
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
1 text object(s) have been exploded to lines. {ตัวอักษรไดถกู ระเบิดเปนเสนโพลีไลนแลว}
The line objects have been placed on layer 0. {เสนโพลีไลนถกู วางไวในเลเยอร 0 (ศูนย)
จะปรากฏดังรูปที่ 7.29}

รูปที่ 7.29

จากรูปที่ 7.29 หากเราใชคําสัง่ Modify4Properties โปรแกรมจะรายงานประเภทของวัตถุคอื 2D


Polyline เราจะเห็นวาการระเบิดตัวอักษรฟอรแมต .ttf ดวยคําสัง่ นีท้ ําไดไมดนี ัก เนือ่ งจากบนตัวอักษร
บางตัวจะปรากฏเสนทะแยงซึ่งจะแยกเสนโพลีไลนออกเปนหลายเสน อยางไรก็ตาม เสนโพลีไลน
ทุกเสนจะเปนแบบปด เราสามารถนําเสนโพลีไลนทั้งหมดไปสรางโซลิดที่มีความหนา ดวยคําสั่ง
Draw4Modeling 4Extrude ไดทนั ทีดังนี้
Command: _extrude {จากรูปที่ 7.29 }
Current wire frame density: ISOLINES=4
Select objects to extrude:{คลิกเพือ่ เลือกตัวอักษรทัง้ หมดแบบ Window หรือ Crossing}
Select objects to extrude:{คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle] <50.0000>: {พิมพคาความหนา
50 หนวยแลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 7.30 (ซาย)}

รูปที่ 7.30
จากรูปที่ 7.30 (ซาย) เราจะเห็นวาตัวอักษรบางตัวอาจจะมีโซลิดแยกกันหลายชิน้ ตามเสนโพลีไลนที่
แยกกัน เราสามารถรวมโซลิดตัวอักษรแตละตัวใหเปนเนือ้ เดียวกันได โดยใชคําสั่ง Modify4Solid
Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: ใหเลือกโซลิดทัง้ หมด แลวคลิกขวา โซลิด
ทัง้ หมดจะถูกรวมเปนชิน้ เดียวกันดังรูปที่ 7.30 (ขวา) เปนอันเสร็จสิน้ การแปลงตัวอักษรเปน 3 มิติ

chap-07.PMD 117 12/10/2549, 21:41


118

Note หากตัวอักษรบางตัวหรือบางสวนของตัวอักษรไมสามารถแปลงใหเปนโซลิดที่มีความหนาได เราจะ


ตองกลับไปตรวจสอบหาจุดบกพรองของเสนโพลีไลน ซึ่งปลายเสนโพลีไลนอาจจะไมเปนแบบปด
2D Drafting
จริงๆ หรืออาจจะยื่นเกินออกไปจากขอบเขตแบบปด เราจะตองทําการแกไขเสนโพลีไลนนั้นใหเปน
แบบปดจริงเสียกอน จึงจะใชคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude เพื่อเพิ่มความหนาใหกับเสน
โพลีไลนเสนนัน้ ได

7.14 Modify43D Operations4Thicken | THICKEN | |


ใชคําสั่งนี้สําหรับแปลงเซอรเฟสใหเปนโซลิด โดยการเพิ่ม
ความหนาใหกบั เซอรเฟส จากรูปที่ 7.31 (ซาย) เมือ่ เรียกคําสัง่
นี้ จะปรากฏขอความ Select surfaces to thicken: คลิกบน
เซอรเฟส จะปรากฏขอความ Select surfaces to thicken: ให
คลิกขวา จะปรากฏขอความ Specify thickness <0.0000>: พิมพ
คาความหนาที่ตองการ จะปรากฏโซลิดดังรูปที่ 7.31 (ขวา)
หากตัวแปรระบบ DELOBJ ถูกกําหนดคาเปน 1 เซอรเฟส
กอ น รูปที่ 7.31 หลัง ตนฉบับจะถูกลบทิง้ ไป เมือ่ โซลิดถูกสรางขึน้
7.15 Modify43D Operations4Convert to Solid | CONVTOSOLID | |
ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับแปลงเสนโพลีไลนทมี่ คี วามหนาเสน Width และถูกกําหนดความหนา Thickness ใน
3 มิตแิ ละวงกลมทีถ่ กู กําหนดความหนา Thickness ใน 3 มิติใหกลายเปนโซลิด จากรูปที่ 7.32 (ซาย)
เมือ่ เรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select objects: ใหคลิกบนเสนโพลีไลนและวงกลมที่
ตองการแปลงใหกลายเปนโซลิด จะปรากฏดังรูปที่ 7.32 (ขวา)

กอ น รูปที่ 7.32 หลัง

เปนอันวาเราไดศกึ ษาคําสัง่ ทัง้ หมดทีใ่ ชในการขึน้ รูปวัตถุ 3 มิตใิ น AutoCAD 2007 เรียบรอยแลว เรา
จะเห็นวาคําสัง่ ทีใ่ ชในการขึน้ รูปโซลิด 3 มิตมิ จี าํ นวนไมมากนัก แตกส็ ามารถใชไดอยางมีประสิทธิภาพ
อนึง่ คําสัง่ Draw4Modeling4Section Plane ปรากฏอยูใ นกลุม เมนู Draw4Modeling เชนเดียวกัน
กับคําสัง่ อืน่ ๆ ทีก่ ลาวมาแลว แตผเู ขียนยังมิไดกลาวถึง แตเปนคําสัง่ ทีใ่ ชใน การสรางระนาบตัดซึง่ จะมี
ผลกับวัตถุ 3 มิติทั้งโซลิดและเซอรเฟสทั้งหมดที่อยูในแบบแปลน จึงขอนําไปกลาวถึงในบทที่ 10
การแปลงวัตถุใน 3 มิตเิ ปน 2 มิติ
***********************************

chap-07.PMD 118 12/10/2549, 21:41

Anda mungkin juga menyukai